BLOG BOARD_B
ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Email: sale@soccersuck.com
ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
แบบสำรวจ
ท่านsaveหยกกันไหมครับ
Save
???
ไม่Save
???
คะแนนทั้งหมด: 485
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
นักบอล ดิวิชั่น 1
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 17 Sep 2007
ตอบ: 4222
ที่อยู่: เตะฝุ่น ในเมืองหลวง
โพสเมื่อ: Thu Jun 15, 2023 22:36
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
AnGYoOnSHi พิมพ์ว่า:
iamzero พิมพ์ว่า:
ดูจากผลโหวตแล้ว ทุกคนใช้เหตุผลอยู่เหนือความรู้สึก

สังคมจะดีขึ้นถ้ารู้จักผิดถูก เมื่อคนที่ใช่ที่เชียร์ทำผิดก็ว่ากันไปตามผิด

แนวคิดจะถูกจริตแค่ไหน แต่การแสดงออกผิดที่ผิดทางก็ต้องไม่สนับสนุน

ถ้าเชียร์แบบลืมหูลืมตา ก็ไม่ต่างกับสังคมเดิมๆแค่เปลี่ยนบทเปลี่ยนตัวละคร



 


กลับกันด้วยซ้ำ เพราะใช้ความรู้สึก มากกว่าเหตุผล ถ้าบอกใช้เหตุผลจริง ต้องมานั่งคุยกัน ว่าไอ่กฎที่เด็กมันไม่เอาเนี่ย มันต่างยังไงกับพวกกฎที่เราก็ไม่เอาเหมือนกัน พอเป็นผู้ใหญ่ เราฉวยโอกาสออกมาพูดว่าเพื่อประเทศชาติจะได้ดีขึ้น เพื่อความเจริญ แต่พอเป็นกฎหมายของระบบการศึกษา เรากับทำตัวเป็นไดโนเสาร์หลงยุค ใช้แค่ความรู้สึก รับรู้ว่าน้องมันก้าวร้าว อะไรคือก้าวร้าว การไม่ยอมทำตามกฎนี่หรอคือก้าวร้าว ? สังคมต้องมาคุยกันใหม่อะ ไม่ใช่ทำอะไรย้อนแย้งไปหมดแบบนี้ ไม่แปลกหรอกที่ Top เม้น จะด่าว่าเราหลายๆคนยังดักดาน
 

การแสดงออกโดยไม่ริดรอนสิทธิของผู้อื่น ไม่มีใครว่าก้าวร้าวหรอกครับ
สิทธิในที่นี้หมายถึงสิทธิของโรงเรียนของสังคมตรงนั้น ที่เค้ามีระเบียบของเค้า และยังไม่ได้ยกเลิก
ไม่ชอบไม่พอใจก็เรียกร้อง และดำเนินการตามกระบวนการที่ถูกต้อง
ไม่ใช่ไม่ชอบก็ไม่ทำ เค้าก็มีสิทธิที่จะเชิญเราออกจากสังคมเค้าโดยไม่ต้องปริปากด้วยซ้ำ
ถ้าเด็กทั้งโรงเรียนยังอยู่ในระเบียบนั้นได้ มันคือเสียงส่วนใหญ่รึเปล่า เรียกร้องสิทธิตัวเอง แต่ไม่สนใจสิทธิของคนอื่น
สุดท้ายน้องทำตัวเอง และพวก top comment นี่แหละที่ทำร้ายน้องทางอ้อม
3
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Feb 2006
ตอบ: 4143
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Jun 15, 2023 22:43
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
save เรื่องอะไรอะ?

ทุกที่มีกฏครับ รัฐธรรมนูญก็ระบุไว้ว่า สว. จากการแต่งตั้งจาก คสช. มีอำนาจเลือกนายก ถ้า สว. ไม่เลือกพิธา ก็ต้องเคารพเสียง สว. ครับ แล้วรอไปเลือกตั้งใหม่ให้ชนะให้ได้ตอนที่หมดวาระของบทเฉพาะกาลของ สว. ไปแล้ว พิธาค่อยขึ้นเป็นนายกตามกระบวนการที่ถูกต้องครับ

ถ้าใครคิดว่าเรื่องกฏโรงเรียนเทียบกับเรื่องอำนาจ สว. ตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ โควทมาเลยครับ ผมอยากถกเถียงด้วย

สังคมที่มีแต่ผู้ใหญ่ดักดานเต็มไปหมด จะมีเด็กสุดโต่งโผล่มาบ้างสัก 10-20 คน มันจะเป็นอะไรไป สนุกดีออก  



ที่ว่า สว.เลือกนายก นั้นเป็นตามรัฐธรรมนูญครับ

แต่ เครื่องแบบนักเรียน เป็น พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา เนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะกำหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได้ แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ

ล่าสุด ก็พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีก่อน รัฐธรรมนูญ 2560

การแก้รัฐธรรมนูญ กับ การแก้พระราชบัญญัตฺิ ความเข้าใจของผมแตกต่างกันมากนะครับ

จะเทียบกันได้ยังไงครับ ผมหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเลยอยากขอขอความรู้เพิ่มเติมครับ






 


วิธีการแก้ตามลำดับศักดิ์ของกฏหมายไม่เหมือนกันถูกต้องครับ

แต่ผมว่าที่ผมจะสื่อไม่ใช่ประเด็นว่าวิธีการแก้มันเหมือนหรือไม่เหมือนกันในเรื่องของกระบวนการทางกฏหมายนะ  


แล้วท่านจะสื่อว่าอย่างไรครับ กฎหมาย หรือข้อบังครับ หรืออื่นๆทุกอย่างเราต้องเคารพและทำตามใช่ไหม พออธิบายได้ไหมครับ  


ความชอบธรรมของกฏครับ เวลาเราพูดว่าต้องเคารพกฏ ไม่ว่าจะขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฏระเบียบ, กฏหมาย, หรือรัฐธรรมนูญ เราได้ตั้งคำถามก่อนไหมว่ากฏเหล่านั้นชอบธรรมหรือไม่?

ความชอบธรรมนี้ไม่ใช่แค่วิธีการได้มา แต่รวมถึงกฏเหล่านั้นมันสอดคล้องกับบริบทสังคม บริบทสากล หลักการพื้นฐานของระบอบไหม

ผมถึงได้ยกตัวอย่างเรื่อง บทเฉพาะกาลของสว.250 คน ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2560 มีที่มาที่ถูกต้องตามกระบวนการตรากฏหมายประกอบรัฐธรรมนูญครับ แต่ถามว่ามันชอบธรรมไหม?

เช่นเดียวกัน เรื่องชุดนักเรียน ทรงผม ผ่านกระบวนการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญในการออกกฏระเบียบตามกฏกระทรวง แต่มันชอบธรรมไหม? มีการถกเถียงถึงเรื่องนี้กันมากแค่ไหนก่อนจะบอกว่ากฏระเบียบนี้ชอบธรรมและทุกคนต้องปฏิบัติตาม ที่มาของกฏระเบียบ ประวัติศาสตร์ในการออกกฏระเบียบนี้ จุดเริ่มต้นมันเกิดขึ้นเมื่อไหร่? เกิดขึ้นยังไง? จุดประสงค์ของการมีกฏระเบียบนี้ มีไปเพื่ออะไร? ขัดกับหลักการพื้นฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตยข้อไหนไหม?

กฏอะไรก็ตาม จะเป็นธรรมก็ต่อเมื่อมันชอบธรรมครับ
แน่ใจก่อนว่ากฏนั้นมันชอบธรรม ค่อยไปบอกให้คนอื่นตัองทำตามกฏครับ  


คุณมีข้อสังสัยถึงความชอบธรรมก็เป็นสิทธิ์ของคุณครับ
ผมไม่ได้เป็นคนออกกฏก็คงไม่สามารถบอกเจตจำนงที่แท้จริงได้ว่ามันมีเหตุผลอะไร
แต่กฏหมายไทยมันก็เป็นแบบนี้หรือเปล่า การที่ไม่รู้ไม่ได้แปลว่าเขาเขียนมาโดยไม่มีเหตุผล
คุณสงสัยก็ปฏิบัติตามกฏไปก่อนแล้วเขาไปถกถามเหตุผล ขอเปลี่ยนแปลงกฏต่างๆ
เช่น ทำไมต้องใส่หมวกกันน็อค ทำไมต้องคาดซีทเบลท์ ชีวิตเราเอง เราตายเอง ไม่มีใครเดือดร้อน
แต่ความจริงก่อนคุณจะตายรัฐบาลต้องใช้รีซอร์สมากมายแค่ไหนในการช่วยชีวิตคุณ ช่วยให้คุณรอดชีวิต
เรื่องชุดนักเรียนที่พอจะคิดออกก็คือเวลามีเด็กนักเรียนโดดเรียนก็จะรู้ เด็กไปมั่วสุมเสพยาก็จะรู้
ว่ามาจาก รร ใด ตามไปแก้ปัญหาได้  


เครื่องแบบนักเรียนและทรงผมนักเรียนเริ่มบังคับใช้อย่างเป็นระบบในยุครัฐบาลเผด็จการของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อปลูกฝังความเป็นชาตินิยมของเยาวชนครับ

ผมตั้งคำถามไม่ได้แปลว่าผมไม่รู้ครับ ผมตั้งคำถามให้คนอื่นสงสัยแล้วไปหาคำตอบเพื่อหาความรู้ใส่สมองก่อนจะคิดไปเองว่ากฏระเบียบทุกอย่างออกมาโดยมีเหตุผลที่ดีพอ

ก้มหน้าก้มตาทำตามกฏโดยไม่ตั้งคำถามหาเหตุผลของกฏ เขาเรียก "ทาส" ครับ  


อันนั้นคือเหตุผลของคุณครับ
แต่เหตุผลของคนอื่นเขาก็มี
การที่ไม่ฟังเหตุผลคนอื่นเขาเรียก “เผด็จการ” ครับ

Create cohesion
Reduce the potential for bullying
Improve study ethic
Increase safety
Fairer dress codes
Remove peer pressure
Prepare for the outside world
Easy morning for student and parents
Encourage professionalism
Reduce distraction
Focus on character
Easier economics for parents
Enjoy weekend style

มีอีกหลายเหตุผลนะครับ ไม่ใช่ชาตินิยมอย่างเดียว

แก้ไขล่าสุดโดย supersafe เมื่อ Thu Jun 15, 2023 22:59, ทั้งหมด 2 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
ซุปตาร์โอลิมปิก
Status: Liverpool Liverpool Liverpool Liverpool Liverpool
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 28 Oct 2008
ตอบ: 12861
ที่อยู่: anfield road
โพสเมื่อ: Thu Jun 15, 2023 22:53
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]

ไม่อ่ะ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
การไม่ได้ในสิ่งที่ปรารถนาในบางคราว ก็เป็นพรอันประเสริฐ - องค์ทะไลลามะ
Ps.
Liverpool Champions Fifa club world Cup 2019
Champions Eufa Supercup 2019
Champions Eufa Champions League 2018-2019
Champions PremierLeague 2019-2020

คุณอาจจะเปลี่ยนภรรยาได้, เปลี่ยนความคิดทางการเมืองได้, เปลี่ยนศาสนาก็ได้ แต่ไม่สามารถเปลี่ยนทีมที่คุณเชียร์ได้

(ไม่อยากจะบอกเลยว่าคนพูดคือ เอริค คันโทน่า อยากบอกว่าคิดเอง)
มนุษย์อยู่ได้เพราะการดิ้นรน struggle for survival ไม่สู้ก็ตาย ไม่ตายเดี๋ยวก็ชำนาญ
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Jul 2014
ตอบ: 370
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Jun 15, 2023 22:57
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
save เรื่องอะไรอะ?

ทุกที่มีกฏครับ รัฐธรรมนูญก็ระบุไว้ว่า สว. จากการแต่งตั้งจาก คสช. มีอำนาจเลือกนายก ถ้า สว. ไม่เลือกพิธา ก็ต้องเคารพเสียง สว. ครับ แล้วรอไปเลือกตั้งใหม่ให้ชนะให้ได้ตอนที่หมดวาระของบทเฉพาะกาลของ สว. ไปแล้ว พิธาค่อยขึ้นเป็นนายกตามกระบวนการที่ถูกต้องครับ

ถ้าใครคิดว่าเรื่องกฏโรงเรียนเทียบกับเรื่องอำนาจ สว. ตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ โควทมาเลยครับ ผมอยากถกเถียงด้วย

สังคมที่มีแต่ผู้ใหญ่ดักดานเต็มไปหมด จะมีเด็กสุดโต่งโผล่มาบ้างสัก 10-20 คน มันจะเป็นอะไรไป สนุกดีออก  



ที่ว่า สว.เลือกนายก นั้นเป็นตามรัฐธรรมนูญครับ

แต่ เครื่องแบบนักเรียน เป็น พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา เนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะกำหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได้ แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ

ล่าสุด ก็พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีก่อน รัฐธรรมนูญ 2560

การแก้รัฐธรรมนูญ กับ การแก้พระราชบัญญัตฺิ ความเข้าใจของผมแตกต่างกันมากนะครับ

จะเทียบกันได้ยังไงครับ ผมหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเลยอยากขอขอความรู้เพิ่มเติมครับ






 


วิธีการแก้ตามลำดับศักดิ์ของกฏหมายไม่เหมือนกันถูกต้องครับ

แต่ผมว่าที่ผมจะสื่อไม่ใช่ประเด็นว่าวิธีการแก้มันเหมือนหรือไม่เหมือนกันในเรื่องของกระบวนการทางกฏหมายนะ  


แล้วท่านจะสื่อว่าอย่างไรครับ กฎหมาย หรือข้อบังครับ หรืออื่นๆทุกอย่างเราต้องเคารพและทำตามใช่ไหม พออธิบายได้ไหมครับ  


ความชอบธรรมของกฏครับ เวลาเราพูดว่าต้องเคารพกฏ ไม่ว่าจะขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฏระเบียบ, กฏหมาย, หรือรัฐธรรมนูญ เราได้ตั้งคำถามก่อนไหมว่ากฏเหล่านั้นชอบธรรมหรือไม่?

ความชอบธรรมนี้ไม่ใช่แค่วิธีการได้มา แต่รวมถึงกฏเหล่านั้นมันสอดคล้องกับบริบทสังคม บริบทสากล หลักการพื้นฐานของระบอบไหม

ผมถึงได้ยกตัวอย่างเรื่อง บทเฉพาะกาลของสว.250 คน ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2560 มีที่มาที่ถูกต้องตามกระบวนการตรากฏหมายประกอบรัฐธรรมนูญครับ แต่ถามว่ามันชอบธรรมไหม?

เช่นเดียวกัน เรื่องชุดนักเรียน ทรงผม ผ่านกระบวนการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญในการออกกฏระเบียบตามกฏกระทรวง แต่มันชอบธรรมไหม? มีการถกเถียงถึงเรื่องนี้กันมากแค่ไหนก่อนจะบอกว่ากฏระเบียบนี้ชอบธรรมและทุกคนต้องปฏิบัติตาม ที่มาของกฏระเบียบ ประวัติศาสตร์ในการออกกฏระเบียบนี้ จุดเริ่มต้นมันเกิดขึ้นเมื่อไหร่? เกิดขึ้นยังไง? จุดประสงค์ของการมีกฏระเบียบนี้ มีไปเพื่ออะไร? ขัดกับหลักการพื้นฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตยข้อไหนไหม?

กฏอะไรก็ตาม จะเป็นธรรมก็ต่อเมื่อมันชอบธรรมครับ
แน่ใจก่อนว่ากฏนั้นมันชอบธรรม ค่อยไปบอกให้คนอื่นตัองทำตามกฏครับ  


ขอท่านอธิบายความหมายของคำว่า ความชอบธรรม หน่อยครับ

และสุดท้ายใครเป็นคนตัดสินที่สุดได้ว่า มีความชอบธรรม ครับ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Feb 2006
ตอบ: 4143
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Jun 15, 2023 23:36
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
sitea พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
คนเห็นต่าง = ดักดาน
มนุษย์แม่งเป็นสัตว์สังคม กฏทุกอย่างเป็นกฏที่คนหมู่มากยอมรับปฏิบัติ
คนนอกคอกมันก็ทำผิดกฏ
ชีวิตแม่งก็แบบนี้ อย่าจะเปลี่ยนก็ต้องเข้าไปโน้มน้าวทำให้ความคิดคนหมู่มากเปลี่ยน
ไม่ใช่ไปแหกกฏทำตัวนอกคอก แล้วไปว่าคนอื่นเขาดักดาน

เรื่องชุดนักเรียน ทรงผม ถ้าว่าดักดาน คงดักดานกันเกินครึ่งโลก  

ถ้าใน ss คนส่วนมากเห็นสมควรให้ยกเลิกการบังคับ

คุณพร้อมรับคำว่านอกคอกได้เหรอครับ?  


ถ้าคนส่วนมากเห็นด้วยเมื่อไรมันก็ไม่นอกคอก แล้วมันก็จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปเอง
ก็เหมือนจะแก้ 112 พอถึงจุดนึงก็เข้าไปแก้ในสภา เมื่อแก้ได้ก็แก้ แต่ไม่ใช่ทำผิดกฏหมายตั้งแต่เดี๋ยวนี้ตอนนี้  


ที่ท่านว่า ถ้าคนส่วนมากเห็นด้วยเมื่อไรมันก็ไม่นอกคอก แล้วมันก็จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปเอง

ก็เหมือนจะแก้ 112 พอถึงจุดนึงก็เข้าไปแก้ในสภา เมื่อแก้ได้ก็แก้


ก่อนหน้านี้ มีการทำผิดกฎหมายไหมครับ หรือ บู้มมมม คนส่วนใหญ่เห็นด้วยที่จะแก้ 112 เลยครับ  


ผมไม่ได้เห็นด้วยกับการทำผิดมาตรา 112 ณ ปัจจุบัน เพราะมันก็มีการทำผิดกฏหมายเกิดขึ้นจริง ๆ ด้วย
ไม่ได้มีแต่กลั่นแกล้ง เมื่อถึงจุดหนึ่งที่คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปเอง
ตอนนี้จาก MOU เราก็เห็นแล้วว่าคนส่วนมากยังไม่เห็นด้วย มันก็เป็นเรื่องของกาลเวลาว่า 112 จะอยู่หรือจะไป
เมื่อถึงเวลามันตัองแก้ก็ต้องแก้ แต่ไม่เห็นด้วยที่มีคนทำผิดกฏหมายออกมาเต็มท้องถนนแล้วจะไปแก้ไปยกเลิก
ให้มันอ่อนลงอีก อย่างนี้คนออกมาทำผิดกฏหมายมีแต่จะมากขึ้นเรื่อย ๆ
อยากแก้ก็ไปคุยหารือกันในสภา ถ้าสุดท้ายมรมติไม่แก้ก็ไม่แก้
 


ที่ผมอยากสื่อคือ ก่อนที่ "เมื่อถึงจุดหนึ่งที่คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปเอง" มันเกิดขึ้นได้เพราะอะไรครับ

เกิดจากอะไรครับ เริ่มจาก ม็อบแฮร์รี่พอตเตอร์ ทนายอานนท์ รึป่าวครับ ซึ่งผิดกฎหมายไหม

หรืออยู่ดีดี คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป ได้เองครับ

และ "ตอนนี้จาก MOU เราก็เห็นแล้วว่าคนส่วนมากยังไม่เห็นด้วย" ท่านเอาข้อมูลที่ไหนมาครับ จาก สส. พรรคอื่นๆ นอกจากก้าวไกลที่ไม่เห็นด้วยเหรอครับ แล้วถ้าบางคนเขาเห็นด้วย แต่ไม่เลือกก้าวไกลละครับ

"อยากแก้ก็ไปคุยหารือกันในสภา" ก็ขอถามย้อนกลับไปอีกว่ากว่าจะมาถึงจุดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไรครับในความคิดเห็นของท่าน  


ม็อบทั้งหลายออกมาชูสามนิ้ว ผมก็คิดว่ามันมีพลังนะครับ
แต่การที่ไปทำผิดกฏหมาย มันก็คือการละเมิดสิทธิผู้อื่นนะครับ
กฏหมายต่าง ๆ มันก็มีการแก้กฏหมายกันตลอดอยู่แล้ว
กัญชารัฐบาลนี้ยังทำให้ถูกกฏหมายได้เลย พวกเราก็ผลักดัน
ผ่านท่าน สส ทั้งหลาย ให้เขาเข้าไปเปลี่ยนแปลง
หรือว่าการที่จะเปลี่ยนแปลงอะไรเราต้องออกมาชุมนุมแล้วทำผิดกฏหมายเสียเองทุกครั้ง?
ณ ตอนนี้ พรรคก้าวไกลคือตัวแทนของพวกน้อง ๆ นะครับ
นโยบายเขาคือยกเลิกชุดนักเรียน ก็รอเขาเข้าไปผลักดันครับ

MOU พรรคอื่นไม่เห็นด้วย ตามระบอบประชาธิปไตย คุณอาจจะเห็นด้วยกับก้าวไกล
แต่คุณดันไปเลือกตัวแทนที่ไม่เห็นด้วย มันก็ไม่รู้จะอธิบายยังไง เพราะคุณยกเสียงคุณให้เขาทำหน้าที่แทนแล้ว
หรือคุณไม่ได้เลือกแต่เขาก็เป็นตัวแทนในเขตของคุณไปซะแล้ว
คุณเห็นด้วยแต่ไม่เลือกก้าวไกล คุณก็ต้องไปบอกตัวแทนคุณให้เปลี่ยนความคิดนะครับว่าให้แก้ 112 ซะ
ถ้าเปลี่ยนไม่ได้คราวหลังก็อย่าไปเลือกเขา

112 มันก็มีคนนำมาใช้ในทางที่ผิดจริง จึงเป็นเหตุให้ต้องแก้ แต่เราอย่าไปทำผิด 112 เสียเองครับ
มันจะมีพลัง มีน้ำหนักที่จะแก้ไขมากขึ้น

มันก็เป็นแค่มุมมองของคน ๆ นึง ไม่ได้เสียงดังพอที่จะไปเปลี่ยนแปลงอะไรหนอกครับ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Jul 2014
ตอบ: 370
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jun 16, 2023 09:23
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
supersafe พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
sitea พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
คนเห็นต่าง = ดักดาน
มนุษย์แม่งเป็นสัตว์สังคม กฏทุกอย่างเป็นกฏที่คนหมู่มากยอมรับปฏิบัติ
คนนอกคอกมันก็ทำผิดกฏ
ชีวิตแม่งก็แบบนี้ อย่าจะเปลี่ยนก็ต้องเข้าไปโน้มน้าวทำให้ความคิดคนหมู่มากเปลี่ยน
ไม่ใช่ไปแหกกฏทำตัวนอกคอก แล้วไปว่าคนอื่นเขาดักดาน

เรื่องชุดนักเรียน ทรงผม ถ้าว่าดักดาน คงดักดานกันเกินครึ่งโลก  

ถ้าใน ss คนส่วนมากเห็นสมควรให้ยกเลิกการบังคับ

คุณพร้อมรับคำว่านอกคอกได้เหรอครับ?  


ถ้าคนส่วนมากเห็นด้วยเมื่อไรมันก็ไม่นอกคอก แล้วมันก็จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปเอง
ก็เหมือนจะแก้ 112 พอถึงจุดนึงก็เข้าไปแก้ในสภา เมื่อแก้ได้ก็แก้ แต่ไม่ใช่ทำผิดกฏหมายตั้งแต่เดี๋ยวนี้ตอนนี้  


ที่ท่านว่า ถ้าคนส่วนมากเห็นด้วยเมื่อไรมันก็ไม่นอกคอก แล้วมันก็จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปเอง

ก็เหมือนจะแก้ 112 พอถึงจุดนึงก็เข้าไปแก้ในสภา เมื่อแก้ได้ก็แก้


ก่อนหน้านี้ มีการทำผิดกฎหมายไหมครับ หรือ บู้มมมม คนส่วนใหญ่เห็นด้วยที่จะแก้ 112 เลยครับ  


ผมไม่ได้เห็นด้วยกับการทำผิดมาตรา 112 ณ ปัจจุบัน เพราะมันก็มีการทำผิดกฏหมายเกิดขึ้นจริง ๆ ด้วย
ไม่ได้มีแต่กลั่นแกล้ง เมื่อถึงจุดหนึ่งที่คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปเอง
ตอนนี้จาก MOU เราก็เห็นแล้วว่าคนส่วนมากยังไม่เห็นด้วย มันก็เป็นเรื่องของกาลเวลาว่า 112 จะอยู่หรือจะไป
เมื่อถึงเวลามันตัองแก้ก็ต้องแก้ แต่ไม่เห็นด้วยที่มีคนทำผิดกฏหมายออกมาเต็มท้องถนนแล้วจะไปแก้ไปยกเลิก
ให้มันอ่อนลงอีก อย่างนี้คนออกมาทำผิดกฏหมายมีแต่จะมากขึ้นเรื่อย ๆ
อยากแก้ก็ไปคุยหารือกันในสภา ถ้าสุดท้ายมรมติไม่แก้ก็ไม่แก้
 


ที่ผมอยากสื่อคือ ก่อนที่ "เมื่อถึงจุดหนึ่งที่คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปเอง" มันเกิดขึ้นได้เพราะอะไรครับ

เกิดจากอะไรครับ เริ่มจาก ม็อบแฮร์รี่พอตเตอร์ ทนายอานนท์ รึป่าวครับ ซึ่งผิดกฎหมายไหม

หรืออยู่ดีดี คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป ได้เองครับ

และ "ตอนนี้จาก MOU เราก็เห็นแล้วว่าคนส่วนมากยังไม่เห็นด้วย" ท่านเอาข้อมูลที่ไหนมาครับ จาก สส. พรรคอื่นๆ นอกจากก้าวไกลที่ไม่เห็นด้วยเหรอครับ แล้วถ้าบางคนเขาเห็นด้วย แต่ไม่เลือกก้าวไกลละครับ

"อยากแก้ก็ไปคุยหารือกันในสภา" ก็ขอถามย้อนกลับไปอีกว่ากว่าจะมาถึงจุดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไรครับในความคิดเห็นของท่าน  


ม็อบทั้งหลายออกมาชูสามนิ้ว ผมก็คิดว่ามันมีพลังนะครับ
แต่การที่ไปทำผิดกฏหมาย มันก็คือการละเมิดสิทธิผู้อื่นนะครับ
กฏหมายต่าง ๆ มันก็มีการแก้กฏหมายกันตลอดอยู่แล้ว
กัญชารัฐบาลนี้ยังทำให้ถูกกฏหมายได้เลย พวกเราก็ผลักดัน
ผ่านท่าน สส ทั้งหลาย ให้เขาเข้าไปเปลี่ยนแปลง
หรือว่าการที่จะเปลี่ยนแปลงอะไรเราต้องออกมาชุมนุมแล้วทำผิดกฏหมายเสียเองทุกครั้ง?
ณ ตอนนี้ พรรคก้าวไกลคือตัวแทนของพวกน้อง ๆ นะครับ
นโยบายเขาคือยกเลิกชุดนักเรียน ก็รอเขาเข้าไปผลักดันครับ

MOU พรรคอื่นไม่เห็นด้วย ตามระบอบประชาธิปไตย คุณอาจจะเห็นด้วยกับก้าวไกล
แต่คุณดันไปเลือกตัวแทนที่ไม่เห็นด้วย มันก็ไม่รู้จะอธิบายยังไง เพราะคุณยกเสียงคุณให้เขาทำหน้าที่แทนแล้ว
หรือคุณไม่ได้เลือกแต่เขาก็เป็นตัวแทนในเขตของคุณไปซะแล้ว
คุณเห็นด้วยแต่ไม่เลือกก้าวไกล คุณก็ต้องไปบอกตัวแทนคุณให้เปลี่ยนความคิดนะครับว่าให้แก้ 112 ซะ
ถ้าเปลี่ยนไม่ได้คราวหลังก็อย่าไปเลือกเขา

112 มันก็มีคนนำมาใช้ในทางที่ผิดจริง จึงเป็นเหตุให้ต้องแก้ แต่เราอย่าไปทำผิด 112 เสียเองครับ
มันจะมีพลัง มีน้ำหนักที่จะแก้ไขมากขึ้น

มันก็เป็นแค่มุมมองของคน ๆ นึง ไม่ได้เสียงดังพอที่จะไปเปลี่ยนแปลงอะไรหนอกครับ  


สิ่งที่ผมอยากแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับท่าน คือ

ก่อนที่ "เมื่อถึงจุดหนึ่งที่คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปเอง" มันเกิดขึ้นได้เพราะอะไรครับ

และ "ตอนนี้จาก MOU เราก็เห็นแล้วว่าคนส่วนมากยังไม่เห็นด้วย" ท่านเอาข้อมูลที่ไหนมาครับ

"อยากแก้ก็ไปคุยหารือกันในสภา" ก็ขอถามย้อนกลับไปอีกว่ากว่าจะมาถึงจุดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไรครับในความคิดเห็นของท่าน

สิ่งที่ท่านอธิบายมาผมว่ายังไม่ได้เป็นตอบคำถามของผมเลย กลายเป็นแตกประเด็นอื่นๆอีกหลายประเด็นเลยครับ





0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Feb 2006
ตอบ: 4143
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jun 16, 2023 10:00
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]

สิ่งที่ผมอยากแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับท่าน คือ

ก่อนที่ "เมื่อถึงจุดหนึ่งที่คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปเอง" มันเกิดขึ้นได้เพราะอะไรครับ

และ "ตอนนี้จาก MOU เราก็เห็นแล้วว่าคนส่วนมากยังไม่เห็นด้วย" ท่านเอาข้อมูลที่ไหนมาครับ

"อยากแก้ก็ไปคุยหารือกันในสภา" ก็ขอถามย้อนกลับไปอีกว่ากว่าจะมาถึงจุดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไรครับในความคิดเห็นของท่าน

สิ่งที่ท่านอธิบายมาผมว่ายังไม่ได้เป็นตอบคำถามของผมเลย กลายเป็นแตกประเด็นอื่นๆอีกหลายประเด็นเลยครับ

 


เมื่อคนในสังคมมีแนวคิดเปลี่ยน กฏเดิมไม่ตอบโจทย์ เมื่อมีความเห็นตรงกัน เขาก็เอาเรื่องเข้าสภาไปแก้กฏหมาย
คำว่าเปลี่ยนแปลงเอง อาจจะใช้ไม่ถูกต้อง แต่มนุษย์จะเปลี่ยนแปลงมันได้เมื่อเสียงส่วนใหญ่เห็นชอบ

MOU ทำไมก้าวไกลไม่เอา 112 เข้าครับ ถ้าคนส่วนมากเห็นด้วยทำไมไม่เอาเข้าครับ อยากได้คำตอบที่แท้จริงก็คงต้องประชามตินะครับ
เราอยู่ในประเทศที่มี สส เป็นตัวแทนนะครับ สส เขาเห็นด้วยกันมั้ยละครับ

กว่าจะมีถึงจุดนี้ คุณหมายถึงชุดนักเรียน หรือ 112 ครับ ชุดนักเรียนผมว่ามันยังไปไม่ถึงไหนเลย มีคนอัางว่าเป็นสิทธิเสรีภาพ
แต่สิทธิของน้อง คือ น้องมีสิทธิ์เลือก รร นะครับ เรียน กศน ได้ โฮมสคูลได้ กฏ รร นี่เขาก็ทำประชาพิจารณ์แล้ว คุณอยากให้เปลี่ยนกฏ คุณก็ต้องไปโหวตตอนทำประชาพิจารณ์ให้ชนะมั้ยครับ
ถ้า 112 มันก็คงมีการกลั่นแกล้งกันจริงนะครับ ก้าวไดลก็เลยอยากผลักดันเข้าสภา แต่ผมไม่เห็นด้วยที่จะไปเรียกร้องให้แก้พร้อมไปทำผิด 112 ซะเอง

ไม่รู้ว่าผมเข้าใจคำถามท่านมั้ย ถ้ายังไม่ตอบคำถามของท่านก็ขออภัยด้วยนะครับ
ผมก็อยากทราบความเห็นของท่าน ช่วยแลกเปลี่ยนด้วยนะครับ บางทีอาจจะทำให้ผมเข้าใจอะไรได้มากขึ้น


1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Jul 2014
ตอบ: 370
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jun 16, 2023 12:56
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
supersafe พิมพ์ว่า:

สิ่งที่ผมอยากแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับท่าน คือ

ก่อนที่ "เมื่อถึงจุดหนึ่งที่คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปเอง" มันเกิดขึ้นได้เพราะอะไรครับ

และ "ตอนนี้จาก MOU เราก็เห็นแล้วว่าคนส่วนมากยังไม่เห็นด้วย" ท่านเอาข้อมูลที่ไหนมาครับ

"อยากแก้ก็ไปคุยหารือกันในสภา" ก็ขอถามย้อนกลับไปอีกว่ากว่าจะมาถึงจุดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไรครับในความคิดเห็นของท่าน

สิ่งที่ท่านอธิบายมาผมว่ายังไม่ได้เป็นตอบคำถามของผมเลย กลายเป็นแตกประเด็นอื่นๆอีกหลายประเด็นเลยครับ

 


เมื่อคนในสังคมมีแนวคิดเปลี่ยน กฏเดิมไม่ตอบโจทย์ เมื่อมีความเห็นตรงกัน เขาก็เอาเรื่องเข้าสภาไปแก้กฏหมาย
คำว่าเปลี่ยนแปลงเอง อาจจะใช้ไม่ถูกต้อง แต่มนุษย์จะเปลี่ยนแปลงมันได้เมื่อเสียงส่วนใหญ่เห็นชอบ

MOU ทำไมก้าวไกลไม่เอา 112 เข้าครับ ถ้าคนส่วนมากเห็นด้วยทำไมไม่เอาเข้าครับ อยากได้คำตอบที่แท้จริงก็คงต้องประชามตินะครับ
เราอยู่ในประเทศที่มี สส เป็นตัวแทนนะครับ สส เขาเห็นด้วยกันมั้ยละครับ

กว่าจะมีถึงจุดนี้ คุณหมายถึงชุดนักเรียน หรือ 112 ครับ ชุดนักเรียนผมว่ามันยังไปไม่ถึงไหนเลย มีคนอัางว่าเป็นสิทธิเสรีภาพ
แต่สิทธิของน้อง คือ น้องมีสิทธิ์เลือก รร นะครับ เรียน กศน ได้ โฮมสคูลได้ กฏ รร นี่เขาก็ทำประชาพิจารณ์แล้ว คุณอยากให้เปลี่ยนกฏ คุณก็ต้องไปโหวตตอนทำประชาพิจารณ์ให้ชนะมั้ยครับ
ถ้า 112 มันก็คงมีการกลั่นแกล้งกันจริงนะครับ ก้าวไดลก็เลยอยากผลักดันเข้าสภา แต่ผมไม่เห็นด้วยที่จะไปเรียกร้องให้แก้พร้อมไปทำผิด 112 ซะเอง

ไม่รู้ว่าผมเข้าใจคำถามท่านมั้ย ถ้ายังไม่ตอบคำถามของท่านก็ขออภัยด้วยนะครับ
ผมก็อยากทราบความเห็นของท่าน ช่วยแลกเปลี่ยนด้วยนะครับ บางทีอาจจะทำให้ผมเข้าใจอะไรได้มากขึ้น


 


ที่ผมอยากแลกเปลี่ยนความคิดเห็นนี้ เริ่มจาก
"ถ้าคนส่วนมากเห็นด้วยเมื่อไรมันก็ไม่นอกคอก แล้วมันก็จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปเอง
ก็เหมือนจะแก้ 112 พอถึงจุดนึงก็เข้าไปแก้ในสภา เมื่อแก้ได้ก็แก้ แต่ไม่ใช่ทำผิดกฏหมายตั้งแต่เดี๋ยวนี้ตอนนี้"
ทั้งหมดผมขอพูดถึงเฉพาะ 112 นะครับ

ท่านกล่าวว่า "เมื่อถึงจุดหนึ่งที่คนส่วนมากเริ่มมีความคิด ความศรัทธาที่เปลี่ยนไป มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปเอง"

ซึ่ง 112 นี้ จากตอนแรก การพูดคุย การตั้งคำถาม ยังทำกันไม่ได้ด้วยซ้ำ ต้องแอบพูดคุยกันในที่ลับ แต่พอมี ม็อบแฮร์รี่พอตเตอร์ ทนายอานนท์ เกิดขึ้น ซึ่งทนายอานนท์ถูกฟ้องว่าทำผิดกฎหมาย แต่ก็ทำให้หลายสิ่งเปลี่ยนแปลงไป จากที่คนไม่รู้ ไม่มีข้อมูล ก็เริ่มมีการพูดคุย แลกเปลี่ยนข้อมูลทั้งจากปากต่อปาก หรือจาก Social media กันอย่างแพร่หลาย แบบนี้ทนายอานนท์เป็นคนนอกคอกไหมครับ

"MOU ทำไมก้าวไกลไม่เอา 112 เข้าครับ" ที่ก้าวไกลไม่เอาเข้า ไม่ใช่เพราะคนส่วนมากไม่เห็นด้วย ตามที่ท่านว่ารึป่าวครับ แต่เป็นเพราะ MOU ที่นี้ คือ เอกสารที่บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือความเข้าใจ ระหว่างพรรคการเมือง เมื่อทั้งหลายฝ่ายมีความเห็นตรงกัน รับทราบถึงรายละเอียดในบันทึกข้อตกลง และยอมรับข้อตกลงที่ทำร่วมกันแล้ว ก็ลงนามทำบันทึกข้อตกลงกัน แต่เมื่อบางพรรคไม่เห็นด้วย จะมีจำนวนมากน้อยก็ตาม 112 นี้ ก็เลยไม่สามารถเอาเข้า MOU รึป่าวครับ

สำหรับสิทธิ์ของน้องผมว่า น้องมีสิทธิ์ที่จะเข้าโรงเรียนไหนก็ได้ถ้าน้องผ่านขั้นตอนการสมัครเข้าของโรงเรียนนั้นๆ ไม่จำเป็นต้องไปแค่ กศน.หรือโฮมสคูล ซึ่งเมื่อน้องรายงานตัวเป็นนักเรียนแล้ว ถ้าจะพูดถึงเรื่องกฎ น้องเข้าไปเรียนแล้วก็ต้องทำตามกฎ ถ้าไม่ทำตาม "ก็มีระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษาพ.ศ.2548" และ ระเบียบของโรงเรียนแต่ละโรงเรียน

โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทำความผิด มี 4 สถาน ดังนี้
(1) ว่ากล่าวตักเตือน
(2) ทำทัณฑ์บน
(3) ตัดคะแนนความประพฤติ
(4) ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

โรงเรียนก็ลงโทษน้องไปครับ แต่จะไล่ออกไม่ได้

สำหรับชุดนักเรียน ไล่จาก พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน 2551 มาตรา 5 และมาตรา 6 และ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน 2551 ที่ได้กำหนดเครื่องแบบนักเรียนไว้ โดยรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ท่านว่ามีการทำประชาพิจารณ์ ด้วยเหรอครับ การการทำประชาพิจารณ์เป็นการรับฟังความเห็นของประชาชน ในกรณีที่ประชาชนเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงต่อประเด็นปัญหาใดปัญหาหนึ่ง เป็นแค่การเสนอข้อคิดเห็น ซึ่งไม่ได้มีการโหวตนะครับ

บางส่วนบางข้อ ถ้าผม ตีความ จากที่ท่านอธิบายมาผิดไป ก็ขออภัยครับ

1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ผู้ช่วยแมวมอง
Status: Would you rather die a hero?
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 24 Jun 2019
ตอบ: 8343
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Jun 17, 2023 14:04
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
save เรื่องอะไรอะ?

ทุกที่มีกฏครับ รัฐธรรมนูญก็ระบุไว้ว่า สว. จากการแต่งตั้งจาก คสช. มีอำนาจเลือกนายก ถ้า สว. ไม่เลือกพิธา ก็ต้องเคารพเสียง สว. ครับ แล้วรอไปเลือกตั้งใหม่ให้ชนะให้ได้ตอนที่หมดวาระของบทเฉพาะกาลของ สว. ไปแล้ว พิธาค่อยขึ้นเป็นนายกตามกระบวนการที่ถูกต้องครับ

ถ้าใครคิดว่าเรื่องกฏโรงเรียนเทียบกับเรื่องอำนาจ สว. ตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ โควทมาเลยครับ ผมอยากถกเถียงด้วย

สังคมที่มีแต่ผู้ใหญ่ดักดานเต็มไปหมด จะมีเด็กสุดโต่งโผล่มาบ้างสัก 10-20 คน มันจะเป็นอะไรไป สนุกดีออก  



ที่ว่า สว.เลือกนายก นั้นเป็นตามรัฐธรรมนูญครับ

แต่ เครื่องแบบนักเรียน เป็น พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา เนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะกำหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได้ แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ

ล่าสุด ก็พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีก่อน รัฐธรรมนูญ 2560

การแก้รัฐธรรมนูญ กับ การแก้พระราชบัญญัตฺิ ความเข้าใจของผมแตกต่างกันมากนะครับ

จะเทียบกันได้ยังไงครับ ผมหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเลยอยากขอขอความรู้เพิ่มเติมครับ






 


วิธีการแก้ตามลำดับศักดิ์ของกฏหมายไม่เหมือนกันถูกต้องครับ

แต่ผมว่าที่ผมจะสื่อไม่ใช่ประเด็นว่าวิธีการแก้มันเหมือนหรือไม่เหมือนกันในเรื่องของกระบวนการทางกฏหมายนะ  


แล้วท่านจะสื่อว่าอย่างไรครับ กฎหมาย หรือข้อบังครับ หรืออื่นๆทุกอย่างเราต้องเคารพและทำตามใช่ไหม พออธิบายได้ไหมครับ  


ความชอบธรรมของกฏครับ เวลาเราพูดว่าต้องเคารพกฏ ไม่ว่าจะขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฏระเบียบ, กฏหมาย, หรือรัฐธรรมนูญ เราได้ตั้งคำถามก่อนไหมว่ากฏเหล่านั้นชอบธรรมหรือไม่?

ความชอบธรรมนี้ไม่ใช่แค่วิธีการได้มา แต่รวมถึงกฏเหล่านั้นมันสอดคล้องกับบริบทสังคม บริบทสากล หลักการพื้นฐานของระบอบไหม

ผมถึงได้ยกตัวอย่างเรื่อง บทเฉพาะกาลของสว.250 คน ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2560 มีที่มาที่ถูกต้องตามกระบวนการตรากฏหมายประกอบรัฐธรรมนูญครับ แต่ถามว่ามันชอบธรรมไหม?

เช่นเดียวกัน เรื่องชุดนักเรียน ทรงผม ผ่านกระบวนการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญในการออกกฏระเบียบตามกฏกระทรวง แต่มันชอบธรรมไหม? มีการถกเถียงถึงเรื่องนี้กันมากแค่ไหนก่อนจะบอกว่ากฏระเบียบนี้ชอบธรรมและทุกคนต้องปฏิบัติตาม ที่มาของกฏระเบียบ ประวัติศาสตร์ในการออกกฏระเบียบนี้ จุดเริ่มต้นมันเกิดขึ้นเมื่อไหร่? เกิดขึ้นยังไง? จุดประสงค์ของการมีกฏระเบียบนี้ มีไปเพื่ออะไร? ขัดกับหลักการพื้นฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตยข้อไหนไหม?

กฏอะไรก็ตาม จะเป็นธรรมก็ต่อเมื่อมันชอบธรรมครับ
แน่ใจก่อนว่ากฏนั้นมันชอบธรรม ค่อยไปบอกให้คนอื่นตัองทำตามกฏครับ  


คุณมีข้อสังสัยถึงความชอบธรรมก็เป็นสิทธิ์ของคุณครับ
ผมไม่ได้เป็นคนออกกฏก็คงไม่สามารถบอกเจตจำนงที่แท้จริงได้ว่ามันมีเหตุผลอะไร
แต่กฏหมายไทยมันก็เป็นแบบนี้หรือเปล่า การที่ไม่รู้ไม่ได้แปลว่าเขาเขียนมาโดยไม่มีเหตุผล
คุณสงสัยก็ปฏิบัติตามกฏไปก่อนแล้วเขาไปถกถามเหตุผล ขอเปลี่ยนแปลงกฏต่างๆ
เช่น ทำไมต้องใส่หมวกกันน็อค ทำไมต้องคาดซีทเบลท์ ชีวิตเราเอง เราตายเอง ไม่มีใครเดือดร้อน
แต่ความจริงก่อนคุณจะตายรัฐบาลต้องใช้รีซอร์สมากมายแค่ไหนในการช่วยชีวิตคุณ ช่วยให้คุณรอดชีวิต
เรื่องชุดนักเรียนที่พอจะคิดออกก็คือเวลามีเด็กนักเรียนโดดเรียนก็จะรู้ เด็กไปมั่วสุมเสพยาก็จะรู้
ว่ามาจาก รร ใด ตามไปแก้ปัญหาได้  


เครื่องแบบนักเรียนและทรงผมนักเรียนเริ่มบังคับใช้อย่างเป็นระบบในยุครัฐบาลเผด็จการของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อปลูกฝังความเป็นชาตินิยมของเยาวชนครับ

ผมตั้งคำถามไม่ได้แปลว่าผมไม่รู้ครับ ผมตั้งคำถามให้คนอื่นสงสัยแล้วไปหาคำตอบเพื่อหาความรู้ใส่สมองก่อนจะคิดไปเองว่ากฏระเบียบทุกอย่างออกมาโดยมีเหตุผลที่ดีพอ

ก้มหน้าก้มตาทำตามกฏโดยไม่ตั้งคำถามหาเหตุผลของกฏ เขาเรียก "ทาส" ครับ  


อันนั้นคือเหตุผลของคุณครับ
แต่เหตุผลของคนอื่นเขาก็มี
การที่ไม่ฟังเหตุผลคนอื่นเขาเรียก “เผด็จการ” ครับ

Create cohesion
Reduce the potential for bullying
Improve study ethic
Increase safety
Fairer dress codes
Remove peer pressure
Prepare for the outside world
Easy morning for student and parents
Encourage professionalism
Reduce distraction
Focus on character
Easier economics for parents
Enjoy weekend style

มีอีกหลายเหตุผลนะครับ ไม่ใช่ชาตินิยมอย่างเดียว

 


เผด็จการคือการบังคับให้ทำโดยใช้อำนาจบังคับครับ
อย่าเอาคำมาใช้มั่ว ๆ

แล้วเหตุที่ยกมา ผมเอามาสัก 1 ละกัน
Prepare for the outside world

การแต่งเครื่องแบบนักเรียนและตัดผมทรงนักเรียนมันทำให้เด็กเตรียมตัวไปเจอโลกภายนอกยังไงครับ

จบมัธยมแล้วจะไปต่อเตรียมทหารกันหรอ?
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Feb 2006
ตอบ: 4143
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Jun 17, 2023 17:00
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
save เรื่องอะไรอะ?

ทุกที่มีกฏครับ รัฐธรรมนูญก็ระบุไว้ว่า สว. จากการแต่งตั้งจาก คสช. มีอำนาจเลือกนายก ถ้า สว. ไม่เลือกพิธา ก็ต้องเคารพเสียง สว. ครับ แล้วรอไปเลือกตั้งใหม่ให้ชนะให้ได้ตอนที่หมดวาระของบทเฉพาะกาลของ สว. ไปแล้ว พิธาค่อยขึ้นเป็นนายกตามกระบวนการที่ถูกต้องครับ

ถ้าใครคิดว่าเรื่องกฏโรงเรียนเทียบกับเรื่องอำนาจ สว. ตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ โควทมาเลยครับ ผมอยากถกเถียงด้วย

สังคมที่มีแต่ผู้ใหญ่ดักดานเต็มไปหมด จะมีเด็กสุดโต่งโผล่มาบ้างสัก 10-20 คน มันจะเป็นอะไรไป สนุกดีออก  



ที่ว่า สว.เลือกนายก นั้นเป็นตามรัฐธรรมนูญครับ

แต่ เครื่องแบบนักเรียน เป็น พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา เนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะกำหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได้ แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ

ล่าสุด ก็พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีก่อน รัฐธรรมนูญ 2560

การแก้รัฐธรรมนูญ กับ การแก้พระราชบัญญัตฺิ ความเข้าใจของผมแตกต่างกันมากนะครับ

จะเทียบกันได้ยังไงครับ ผมหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเลยอยากขอขอความรู้เพิ่มเติมครับ






 


วิธีการแก้ตามลำดับศักดิ์ของกฏหมายไม่เหมือนกันถูกต้องครับ

แต่ผมว่าที่ผมจะสื่อไม่ใช่ประเด็นว่าวิธีการแก้มันเหมือนหรือไม่เหมือนกันในเรื่องของกระบวนการทางกฏหมายนะ  


แล้วท่านจะสื่อว่าอย่างไรครับ กฎหมาย หรือข้อบังครับ หรืออื่นๆทุกอย่างเราต้องเคารพและทำตามใช่ไหม พออธิบายได้ไหมครับ  


ความชอบธรรมของกฏครับ เวลาเราพูดว่าต้องเคารพกฏ ไม่ว่าจะขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฏระเบียบ, กฏหมาย, หรือรัฐธรรมนูญ เราได้ตั้งคำถามก่อนไหมว่ากฏเหล่านั้นชอบธรรมหรือไม่?

ความชอบธรรมนี้ไม่ใช่แค่วิธีการได้มา แต่รวมถึงกฏเหล่านั้นมันสอดคล้องกับบริบทสังคม บริบทสากล หลักการพื้นฐานของระบอบไหม

ผมถึงได้ยกตัวอย่างเรื่อง บทเฉพาะกาลของสว.250 คน ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2560 มีที่มาที่ถูกต้องตามกระบวนการตรากฏหมายประกอบรัฐธรรมนูญครับ แต่ถามว่ามันชอบธรรมไหม?

เช่นเดียวกัน เรื่องชุดนักเรียน ทรงผม ผ่านกระบวนการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญในการออกกฏระเบียบตามกฏกระทรวง แต่มันชอบธรรมไหม? มีการถกเถียงถึงเรื่องนี้กันมากแค่ไหนก่อนจะบอกว่ากฏระเบียบนี้ชอบธรรมและทุกคนต้องปฏิบัติตาม ที่มาของกฏระเบียบ ประวัติศาสตร์ในการออกกฏระเบียบนี้ จุดเริ่มต้นมันเกิดขึ้นเมื่อไหร่? เกิดขึ้นยังไง? จุดประสงค์ของการมีกฏระเบียบนี้ มีไปเพื่ออะไร? ขัดกับหลักการพื้นฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตยข้อไหนไหม?

กฏอะไรก็ตาม จะเป็นธรรมก็ต่อเมื่อมันชอบธรรมครับ
แน่ใจก่อนว่ากฏนั้นมันชอบธรรม ค่อยไปบอกให้คนอื่นตัองทำตามกฏครับ  


คุณมีข้อสังสัยถึงความชอบธรรมก็เป็นสิทธิ์ของคุณครับ
ผมไม่ได้เป็นคนออกกฏก็คงไม่สามารถบอกเจตจำนงที่แท้จริงได้ว่ามันมีเหตุผลอะไร
แต่กฏหมายไทยมันก็เป็นแบบนี้หรือเปล่า การที่ไม่รู้ไม่ได้แปลว่าเขาเขียนมาโดยไม่มีเหตุผล
คุณสงสัยก็ปฏิบัติตามกฏไปก่อนแล้วเขาไปถกถามเหตุผล ขอเปลี่ยนแปลงกฏต่างๆ
เช่น ทำไมต้องใส่หมวกกันน็อค ทำไมต้องคาดซีทเบลท์ ชีวิตเราเอง เราตายเอง ไม่มีใครเดือดร้อน
แต่ความจริงก่อนคุณจะตายรัฐบาลต้องใช้รีซอร์สมากมายแค่ไหนในการช่วยชีวิตคุณ ช่วยให้คุณรอดชีวิต
เรื่องชุดนักเรียนที่พอจะคิดออกก็คือเวลามีเด็กนักเรียนโดดเรียนก็จะรู้ เด็กไปมั่วสุมเสพยาก็จะรู้
ว่ามาจาก รร ใด ตามไปแก้ปัญหาได้  


เครื่องแบบนักเรียนและทรงผมนักเรียนเริ่มบังคับใช้อย่างเป็นระบบในยุครัฐบาลเผด็จการของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อปลูกฝังความเป็นชาตินิยมของเยาวชนครับ

ผมตั้งคำถามไม่ได้แปลว่าผมไม่รู้ครับ ผมตั้งคำถามให้คนอื่นสงสัยแล้วไปหาคำตอบเพื่อหาความรู้ใส่สมองก่อนจะคิดไปเองว่ากฏระเบียบทุกอย่างออกมาโดยมีเหตุผลที่ดีพอ

ก้มหน้าก้มตาทำตามกฏโดยไม่ตั้งคำถามหาเหตุผลของกฏ เขาเรียก "ทาส" ครับ  


อันนั้นคือเหตุผลของคุณครับ
แต่เหตุผลของคนอื่นเขาก็มี
การที่ไม่ฟังเหตุผลคนอื่นเขาเรียก “เผด็จการ” ครับ

Create cohesion
Reduce the potential for bullying
Improve study ethic
Increase safety
Fairer dress codes
Remove peer pressure
Prepare for the outside world
Easy morning for student and parents
Encourage professionalism
Reduce distraction
Focus on character
Easier economics for parents
Enjoy weekend style

มีอีกหลายเหตุผลนะครับ ไม่ใช่ชาตินิยมอย่างเดียว

 


เผด็จการคือการบังคับให้ทำโดยใช้อำนาจบังคับครับ
อย่าเอาคำมาใช้มั่ว ๆ

แล้วเหตุที่ยกมา ผมเอามาสัก 1 ละกัน
Prepare for the outside world

การแต่งเครื่องแบบนักเรียนและตัดผมทรงนักเรียนมันทำให้เด็กเตรียมตัวไปเจอโลกภายนอกยังไงครับ

จบมัธยมแล้วจะไปต่อเตรียมทหารกันหรอ?  


ก้มหน้าก้มตาทำตามกฏไม่ถามหาเหตุผลก็ไม่น่าใช่นิยามของคำว่าทาสนะครับ อย่าเอาคำมาใช้มั่ว ๆ

ทาสบางคนเขาก็คงอยากถามหาเหตุผลแต่เขาไม่มีอำนาจ เพราะทาสเปรียบเหมือนสิ่งของ

ซึ่งทาสมันโดนยกเลิกไปหลายร้อยปีแล้ว ยังจะมาทาสอะไรอีก

คุณเล่นยกข้อกฏเรื่องผมทรงนักเรียนซึ่งยกเลิกไปแล้ว ผมจะไปต่อยังไงละครับพี่ครับ

เรื่องเครื่องแต่งกาย คุณไปทำงานบริษัทที่เขากำหนด dress code คุณก็ต้องทำครับ

ผมอยากให้พี่ยกตัวอย่าง รร ที่อนุญาติให้ย้อมสีผมที่ไม่ใช่สีตามธรรมชาติมาให้เห็นหน่อยครับ

เราอาจจะความเห็นไม่ตรงกัน ผมความรู้น้อย พี่ต้องสอนผมเยอะ ๆ

อ่อ กดทับ ดักดาน พี่ก็พูดเหน็บแนมคนอื่น กระแนะกระแหนคนอื่นตลอด

ผมนึกว่าพี่จะมีอารยะมากกว่านี้ เห็นความรู้ดี



0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ผู้ช่วยแมวมอง
Status: Would you rather die a hero?
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 24 Jun 2019
ตอบ: 8343
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Jun 17, 2023 17:17
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
save เรื่องอะไรอะ?

ทุกที่มีกฏครับ รัฐธรรมนูญก็ระบุไว้ว่า สว. จากการแต่งตั้งจาก คสช. มีอำนาจเลือกนายก ถ้า สว. ไม่เลือกพิธา ก็ต้องเคารพเสียง สว. ครับ แล้วรอไปเลือกตั้งใหม่ให้ชนะให้ได้ตอนที่หมดวาระของบทเฉพาะกาลของ สว. ไปแล้ว พิธาค่อยขึ้นเป็นนายกตามกระบวนการที่ถูกต้องครับ

ถ้าใครคิดว่าเรื่องกฏโรงเรียนเทียบกับเรื่องอำนาจ สว. ตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ โควทมาเลยครับ ผมอยากถกเถียงด้วย

สังคมที่มีแต่ผู้ใหญ่ดักดานเต็มไปหมด จะมีเด็กสุดโต่งโผล่มาบ้างสัก 10-20 คน มันจะเป็นอะไรไป สนุกดีออก  



ที่ว่า สว.เลือกนายก นั้นเป็นตามรัฐธรรมนูญครับ

แต่ เครื่องแบบนักเรียน เป็น พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา เนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะกำหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได้ แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ

ล่าสุด ก็พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีก่อน รัฐธรรมนูญ 2560

การแก้รัฐธรรมนูญ กับ การแก้พระราชบัญญัตฺิ ความเข้าใจของผมแตกต่างกันมากนะครับ

จะเทียบกันได้ยังไงครับ ผมหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเลยอยากขอขอความรู้เพิ่มเติมครับ






 


วิธีการแก้ตามลำดับศักดิ์ของกฏหมายไม่เหมือนกันถูกต้องครับ

แต่ผมว่าที่ผมจะสื่อไม่ใช่ประเด็นว่าวิธีการแก้มันเหมือนหรือไม่เหมือนกันในเรื่องของกระบวนการทางกฏหมายนะ  


แล้วท่านจะสื่อว่าอย่างไรครับ กฎหมาย หรือข้อบังครับ หรืออื่นๆทุกอย่างเราต้องเคารพและทำตามใช่ไหม พออธิบายได้ไหมครับ  


ความชอบธรรมของกฏครับ เวลาเราพูดว่าต้องเคารพกฏ ไม่ว่าจะขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฏระเบียบ, กฏหมาย, หรือรัฐธรรมนูญ เราได้ตั้งคำถามก่อนไหมว่ากฏเหล่านั้นชอบธรรมหรือไม่?

ความชอบธรรมนี้ไม่ใช่แค่วิธีการได้มา แต่รวมถึงกฏเหล่านั้นมันสอดคล้องกับบริบทสังคม บริบทสากล หลักการพื้นฐานของระบอบไหม

ผมถึงได้ยกตัวอย่างเรื่อง บทเฉพาะกาลของสว.250 คน ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2560 มีที่มาที่ถูกต้องตามกระบวนการตรากฏหมายประกอบรัฐธรรมนูญครับ แต่ถามว่ามันชอบธรรมไหม?

เช่นเดียวกัน เรื่องชุดนักเรียน ทรงผม ผ่านกระบวนการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญในการออกกฏระเบียบตามกฏกระทรวง แต่มันชอบธรรมไหม? มีการถกเถียงถึงเรื่องนี้กันมากแค่ไหนก่อนจะบอกว่ากฏระเบียบนี้ชอบธรรมและทุกคนต้องปฏิบัติตาม ที่มาของกฏระเบียบ ประวัติศาสตร์ในการออกกฏระเบียบนี้ จุดเริ่มต้นมันเกิดขึ้นเมื่อไหร่? เกิดขึ้นยังไง? จุดประสงค์ของการมีกฏระเบียบนี้ มีไปเพื่ออะไร? ขัดกับหลักการพื้นฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตยข้อไหนไหม?

กฏอะไรก็ตาม จะเป็นธรรมก็ต่อเมื่อมันชอบธรรมครับ
แน่ใจก่อนว่ากฏนั้นมันชอบธรรม ค่อยไปบอกให้คนอื่นตัองทำตามกฏครับ  


คุณมีข้อสังสัยถึงความชอบธรรมก็เป็นสิทธิ์ของคุณครับ
ผมไม่ได้เป็นคนออกกฏก็คงไม่สามารถบอกเจตจำนงที่แท้จริงได้ว่ามันมีเหตุผลอะไร
แต่กฏหมายไทยมันก็เป็นแบบนี้หรือเปล่า การที่ไม่รู้ไม่ได้แปลว่าเขาเขียนมาโดยไม่มีเหตุผล
คุณสงสัยก็ปฏิบัติตามกฏไปก่อนแล้วเขาไปถกถามเหตุผล ขอเปลี่ยนแปลงกฏต่างๆ
เช่น ทำไมต้องใส่หมวกกันน็อค ทำไมต้องคาดซีทเบลท์ ชีวิตเราเอง เราตายเอง ไม่มีใครเดือดร้อน
แต่ความจริงก่อนคุณจะตายรัฐบาลต้องใช้รีซอร์สมากมายแค่ไหนในการช่วยชีวิตคุณ ช่วยให้คุณรอดชีวิต
เรื่องชุดนักเรียนที่พอจะคิดออกก็คือเวลามีเด็กนักเรียนโดดเรียนก็จะรู้ เด็กไปมั่วสุมเสพยาก็จะรู้
ว่ามาจาก รร ใด ตามไปแก้ปัญหาได้  


เครื่องแบบนักเรียนและทรงผมนักเรียนเริ่มบังคับใช้อย่างเป็นระบบในยุครัฐบาลเผด็จการของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อปลูกฝังความเป็นชาตินิยมของเยาวชนครับ

ผมตั้งคำถามไม่ได้แปลว่าผมไม่รู้ครับ ผมตั้งคำถามให้คนอื่นสงสัยแล้วไปหาคำตอบเพื่อหาความรู้ใส่สมองก่อนจะคิดไปเองว่ากฏระเบียบทุกอย่างออกมาโดยมีเหตุผลที่ดีพอ

ก้มหน้าก้มตาทำตามกฏโดยไม่ตั้งคำถามหาเหตุผลของกฏ เขาเรียก "ทาส" ครับ  


อันนั้นคือเหตุผลของคุณครับ
แต่เหตุผลของคนอื่นเขาก็มี
การที่ไม่ฟังเหตุผลคนอื่นเขาเรียก “เผด็จการ” ครับ

Create cohesion
Reduce the potential for bullying
Improve study ethic
Increase safety
Fairer dress codes
Remove peer pressure
Prepare for the outside world
Easy morning for student and parents
Encourage professionalism
Reduce distraction
Focus on character
Easier economics for parents
Enjoy weekend style

มีอีกหลายเหตุผลนะครับ ไม่ใช่ชาตินิยมอย่างเดียว

 


เผด็จการคือการบังคับให้ทำโดยใช้อำนาจบังคับครับ
อย่าเอาคำมาใช้มั่ว ๆ

แล้วเหตุที่ยกมา ผมเอามาสัก 1 ละกัน
Prepare for the outside world

การแต่งเครื่องแบบนักเรียนและตัดผมทรงนักเรียนมันทำให้เด็กเตรียมตัวไปเจอโลกภายนอกยังไงครับ

จบมัธยมแล้วจะไปต่อเตรียมทหารกันหรอ?  


ก้มหน้าก้มตาทำตามกฏไม่ถามหาเหตุผลก็ไม่น่าใช่นิยามของคำว่าทาสนะครับ อย่าเอาคำมาใช้มั่ว ๆ

ทาสบางคนเขาก็คงอยากถามหาเหตุผลแต่เขาไม่มีอำนาจ เพราะทาสเปรียบเหมือนสิ่งของ

ซึ่งทาสมันโดนยกเลิกไปหลายร้อยปีแล้ว ยังจะมาทาสอะไรอีก

คุณเล่นยกข้อกฏเรื่องผมทรงนักเรียนซึ่งยกเลิกไปแล้ว ผมจะไปต่อยังไงละครับพี่ครับ

เรื่องเครื่องแต่งกาย คุณไปทำงานบริษัทที่เขากำหนด dress code คุณก็ต้องทำครับ

ผมอยากให้พี่ยกตัวอย่าง รร ที่อนุญาติให้ย้อมสีผมที่ไม่ใช่สีตามธรรมชาติมาให้เห็นหน่อยครับ

เราอาจจะความเห็นไม่ตรงกัน ผมความรู้น้อย พี่ต้องสอนผมเยอะ ๆ

อ่อ กดทับ ดักดาน พี่ก็พูดเหน็บแนมคนอื่น กระแนะกระแหนคนอื่นตลอด

ผมนึกว่าพี่จะมีอารยะมากกว่านี้ เห็นความรู้ดี



 


มีความรู้ไม่ได้แปลว่ามีอารยะครับ อย่าคาดหวังกับผมเยอะ

แล้วเด็กทุกคนต้องไปประกอบอาชีพที่มี uniform หรือห้ามย้อมผมหรอครับ? แล้วไอ้ uniform นี้มันเรื่องใหญ่ขนาดตั้งมาฝึกกันในโรงเรียนระดับ high school หรอ? จำเป็นไหม?

แล้วสรุปจะ debate ด้วยอะไรครับ สถิติ หรือ pro and con
พอเรื่องย้อมสีผมขอดูสถิติ ไม่สนใจสถิติเรื่อง % ของ high school ที่มี uniform ในยุโรปและอเมริกาบ้างหรอครับ ว่าไอ้เด็กที่ไม่เคยถูกฝึกให้ใส่ uniform ตอนเรียนนี้มันมีปัญหากับการใส่ uniform ในการทำงานไหม

ย้อนเรื่องทาสได้ดีครับ ผมยอมรับผิดแต่โดยดี
แก้ไขล่าสุดโดย Wolvesgangster เมื่อ Sat Jun 17, 2023 17:18, ทั้งหมด 2 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Feb 2006
ตอบ: 4143
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Jun 17, 2023 17:29
[RE: Saveหยกกันไหมครับ]
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
supersafe พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
Toruk Mukto พิมพ์ว่า:
Wolvesgangster พิมพ์ว่า:
save เรื่องอะไรอะ?

ทุกที่มีกฏครับ รัฐธรรมนูญก็ระบุไว้ว่า สว. จากการแต่งตั้งจาก คสช. มีอำนาจเลือกนายก ถ้า สว. ไม่เลือกพิธา ก็ต้องเคารพเสียง สว. ครับ แล้วรอไปเลือกตั้งใหม่ให้ชนะให้ได้ตอนที่หมดวาระของบทเฉพาะกาลของ สว. ไปแล้ว พิธาค่อยขึ้นเป็นนายกตามกระบวนการที่ถูกต้องครับ

ถ้าใครคิดว่าเรื่องกฏโรงเรียนเทียบกับเรื่องอำนาจ สว. ตามรัฐธรรมนูญไม่ได้ โควทมาเลยครับ ผมอยากถกเถียงด้วย

สังคมที่มีแต่ผู้ใหญ่ดักดานเต็มไปหมด จะมีเด็กสุดโต่งโผล่มาบ้างสัก 10-20 คน มันจะเป็นอะไรไป สนุกดีออก  



ที่ว่า สว.เลือกนายก นั้นเป็นตามรัฐธรรมนูญครับ

แต่ เครื่องแบบนักเรียน เป็น พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา เนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะกำหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได้ แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ

ล่าสุด ก็พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีก่อน รัฐธรรมนูญ 2560

การแก้รัฐธรรมนูญ กับ การแก้พระราชบัญญัตฺิ ความเข้าใจของผมแตกต่างกันมากนะครับ

จะเทียบกันได้ยังไงครับ ผมหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเลยอยากขอขอความรู้เพิ่มเติมครับ






 


วิธีการแก้ตามลำดับศักดิ์ของกฏหมายไม่เหมือนกันถูกต้องครับ

แต่ผมว่าที่ผมจะสื่อไม่ใช่ประเด็นว่าวิธีการแก้มันเหมือนหรือไม่เหมือนกันในเรื่องของกระบวนการทางกฏหมายนะ  


แล้วท่านจะสื่อว่าอย่างไรครับ กฎหมาย หรือข้อบังครับ หรืออื่นๆทุกอย่างเราต้องเคารพและทำตามใช่ไหม พออธิบายได้ไหมครับ  


ความชอบธรรมของกฏครับ เวลาเราพูดว่าต้องเคารพกฏ ไม่ว่าจะขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฏระเบียบ, กฏหมาย, หรือรัฐธรรมนูญ เราได้ตั้งคำถามก่อนไหมว่ากฏเหล่านั้นชอบธรรมหรือไม่?

ความชอบธรรมนี้ไม่ใช่แค่วิธีการได้มา แต่รวมถึงกฏเหล่านั้นมันสอดคล้องกับบริบทสังคม บริบทสากล หลักการพื้นฐานของระบอบไหม

ผมถึงได้ยกตัวอย่างเรื่อง บทเฉพาะกาลของสว.250 คน ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2560 มีที่มาที่ถูกต้องตามกระบวนการตรากฏหมายประกอบรัฐธรรมนูญครับ แต่ถามว่ามันชอบธรรมไหม?

เช่นเดียวกัน เรื่องชุดนักเรียน ทรงผม ผ่านกระบวนการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญในการออกกฏระเบียบตามกฏกระทรวง แต่มันชอบธรรมไหม? มีการถกเถียงถึงเรื่องนี้กันมากแค่ไหนก่อนจะบอกว่ากฏระเบียบนี้ชอบธรรมและทุกคนต้องปฏิบัติตาม ที่มาของกฏระเบียบ ประวัติศาสตร์ในการออกกฏระเบียบนี้ จุดเริ่มต้นมันเกิดขึ้นเมื่อไหร่? เกิดขึ้นยังไง? จุดประสงค์ของการมีกฏระเบียบนี้ มีไปเพื่ออะไร? ขัดกับหลักการพื้นฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตยข้อไหนไหม?

กฏอะไรก็ตาม จะเป็นธรรมก็ต่อเมื่อมันชอบธรรมครับ
แน่ใจก่อนว่ากฏนั้นมันชอบธรรม ค่อยไปบอกให้คนอื่นตัองทำตามกฏครับ  


คุณมีข้อสังสัยถึงความชอบธรรมก็เป็นสิทธิ์ของคุณครับ
ผมไม่ได้เป็นคนออกกฏก็คงไม่สามารถบอกเจตจำนงที่แท้จริงได้ว่ามันมีเหตุผลอะไร
แต่กฏหมายไทยมันก็เป็นแบบนี้หรือเปล่า การที่ไม่รู้ไม่ได้แปลว่าเขาเขียนมาโดยไม่มีเหตุผล
คุณสงสัยก็ปฏิบัติตามกฏไปก่อนแล้วเขาไปถกถามเหตุผล ขอเปลี่ยนแปลงกฏต่างๆ
เช่น ทำไมต้องใส่หมวกกันน็อค ทำไมต้องคาดซีทเบลท์ ชีวิตเราเอง เราตายเอง ไม่มีใครเดือดร้อน
แต่ความจริงก่อนคุณจะตายรัฐบาลต้องใช้รีซอร์สมากมายแค่ไหนในการช่วยชีวิตคุณ ช่วยให้คุณรอดชีวิต
เรื่องชุดนักเรียนที่พอจะคิดออกก็คือเวลามีเด็กนักเรียนโดดเรียนก็จะรู้ เด็กไปมั่วสุมเสพยาก็จะรู้
ว่ามาจาก รร ใด ตามไปแก้ปัญหาได้  


เครื่องแบบนักเรียนและทรงผมนักเรียนเริ่มบังคับใช้อย่างเป็นระบบในยุครัฐบาลเผด็จการของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อปลูกฝังความเป็นชาตินิยมของเยาวชนครับ

ผมตั้งคำถามไม่ได้แปลว่าผมไม่รู้ครับ ผมตั้งคำถามให้คนอื่นสงสัยแล้วไปหาคำตอบเพื่อหาความรู้ใส่สมองก่อนจะคิดไปเองว่ากฏระเบียบทุกอย่างออกมาโดยมีเหตุผลที่ดีพอ

ก้มหน้าก้มตาทำตามกฏโดยไม่ตั้งคำถามหาเหตุผลของกฏ เขาเรียก "ทาส" ครับ  


อันนั้นคือเหตุผลของคุณครับ
แต่เหตุผลของคนอื่นเขาก็มี
การที่ไม่ฟังเหตุผลคนอื่นเขาเรียก “เผด็จการ” ครับ

Create cohesion
Reduce the potential for bullying
Improve study ethic
Increase safety
Fairer dress codes
Remove peer pressure
Prepare for the outside world
Easy morning for student and parents
Encourage professionalism
Reduce distraction
Focus on character
Easier economics for parents
Enjoy weekend style

มีอีกหลายเหตุผลนะครับ ไม่ใช่ชาตินิยมอย่างเดียว

 


เผด็จการคือการบังคับให้ทำโดยใช้อำนาจบังคับครับ
อย่าเอาคำมาใช้มั่ว ๆ

แล้วเหตุที่ยกมา ผมเอามาสัก 1 ละกัน
Prepare for the outside world

การแต่งเครื่องแบบนักเรียนและตัดผมทรงนักเรียนมันทำให้เด็กเตรียมตัวไปเจอโลกภายนอกยังไงครับ

จบมัธยมแล้วจะไปต่อเตรียมทหารกันหรอ?  


ก้มหน้าก้มตาทำตามกฏไม่ถามหาเหตุผลก็ไม่น่าใช่นิยามของคำว่าทาสนะครับ อย่าเอาคำมาใช้มั่ว ๆ

ทาสบางคนเขาก็คงอยากถามหาเหตุผลแต่เขาไม่มีอำนาจ เพราะทาสเปรียบเหมือนสิ่งของ

ซึ่งทาสมันโดนยกเลิกไปหลายร้อยปีแล้ว ยังจะมาทาสอะไรอีก

คุณเล่นยกข้อกฏเรื่องผมทรงนักเรียนซึ่งยกเลิกไปแล้ว ผมจะไปต่อยังไงละครับพี่ครับ

เรื่องเครื่องแต่งกาย คุณไปทำงานบริษัทที่เขากำหนด dress code คุณก็ต้องทำครับ

ผมอยากให้พี่ยกตัวอย่าง รร ที่อนุญาติให้ย้อมสีผมที่ไม่ใช่สีตามธรรมชาติมาให้เห็นหน่อยครับ

เราอาจจะความเห็นไม่ตรงกัน ผมความรู้น้อย พี่ต้องสอนผมเยอะ ๆ

อ่อ กดทับ ดักดาน พี่ก็พูดเหน็บแนมคนอื่น กระแนะกระแหนคนอื่นตลอด

ผมนึกว่าพี่จะมีอารยะมากกว่านี้ เห็นความรู้ดี



 


มีความรู้ไม่ได้แปลว่ามีอารยะครับ อย่าคาดหวังกับผมเยอะ

แล้วเด็กทุกคนต้องไปประกอบอาชีพที่มี uniform หรือห้ามย้อมผมหรอครับ? แล้วไอ้ uniform นี้มันเรื่องใหญ่ขนาดตั้งมาฝึกกันในโรงเรียนระดับ high school หรอ? จำเป็นไหม?

แล้วสรุปจะ debate ด้วยอะไรครับ สถิติ หรือ pro and con
พอเรื่องย้อมสีผมขอดูสถิติ ไม่สนใจสถิติเรื่อง % ของ high school ที่มี uniform ในยุโรปและอเมริกาบ้างหรอครับ ว่าไอ้เด็กที่ไม่เคยถูกฝึกให้ใส่ uniform ตอนเรียนนี้มันมีปัญหากับการใส่ uniform ในการทำงานไหม

ย้อนเรื่องทาสได้ดีครับ ผมยอมรับผิดแต่โดยดี  


ขอบคุณที่มาแลกเปลี่ยนกันนะครับ
จริง ๆ ผมสงสารน้องหยกมากที่สุดครับ
เรื่องอื่น ๆ ทรงผม เครื่องแต่งกาย มันเรื่องเล็กกว่าเรื่องที่ชีวิตเด็กคนนี้ต้องเผชิญต่อไป
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel