BLOG BOARD_B
ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Email: sale@soccersuck.com
ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออนไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 13 Mar 2018
ตอบ: 9776
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed May 17, 2023 18:38
[RE: ธุรกิจ 7-11 ในประเทศไทย ถือว่าผูกขาดหรือไม่]
SeQueda พิมพ์ว่า:
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ขาดเชรี่ยๆครับ ดูของญี่ปุ่นมีร้านสะดวกซื้อเยอะกว่าไทยมากๆ แต่แมร่งหลากหลายกว่าเยอะ  


ไม่เกี่ยวนะครับ

ผูกขาดหรือไม่ ท่านลองคิดดูนะครับ

ท่านสามารถเปิดร้านแบบ 7-11 ได้

ไม่จำเป็นต้องซื้อของจาก Makro มาขาย ท่านสั่งกับ ซัพพลายเออร์โดยตรงเลย

แต่ท่านต้องสั่งประมาณเยอะนะครับ แล้วต้องคุยกับหลายซัพพลายเออร์

Makro มาแก้ปัญหาตรงนี้ คือรวมหลายๆซัพพลายเออร์มาไว้ที่เดียว

ท่านสามารถเปิดแบบ Makro ได้นะครับ ถ้าทุนพอ กับ คิดว่าสู้เค้าได้

กลับมาที่ร้านแบบ 7-11 ท่านก็สามารถเปิดได้โดยที่ไม่มีกฎหมายอะไรบังคับนะครับ

ว่าต้องมีเงินทุนเท่านี้ ต้องขายได้วันละเท่านี้ ต้องมีนั่นมีนี่ ถูกมั้ยครับ

แต่พอเปิดแล้ว ถ้าลูกค้าไม่ชอบท่าน เค้าก็ไม่มาซื้อ ร้านท่านก็ปิดไปเอง

แปลว่า 7-11 เค้าแค่พัฒนาสินค้าและบริการของเค้าขึ้นแบบสุดๆ โดยที่คู่แข่งตามไม่ทัน

ผู้บริโภคมีสิทธิ์เลือก เค้าก็เลือกสิ่งที่ดีกว่า

แต่ถ้ากลับกัน ท่านไม่อยากใช้ไฟฟ้าของการไฟฟ้า ไม่อยากใช้น้ำประปาของการประปา

ท่านจะทำอะไรได้ครับ แบบนี้เรียกว่าผูกขาดครับ

อย่างของญี่ปุ่น คุณภาพเค้าพอๆกัน ไปญี่ปุ่นผมก็ไม่ค่อยเข้า 7-11 ครับ

เพราะเข้าไปแล้ว ก็ธรรมดา Lawson น่าเข้ากว่า ของกินน่ากินกว่า

มันไม่เกี่ยวกับการผูกขาดหรือไม่ผูกขาดครับ

สมมุติท่านขายไก่ย่าง แล้วแบบ ของท่านโคตรอร่อย บริการโคตรดี

แล้วท่านขยายสาขาไปทั่วประเทศ มีคนซื้อแฟรนไชส์เป็นหมื่นๆเจ้า

ท่านจะคิดว่าท่านผูกขาดไก่ย่างมั้ยครับ

หรือท่านจะคิดว่า ไม่เอาดีกว่า ไม่อยากใหญ่เกิน ทำแบบคุณภาพกลางๆพอ

เอาให้แบบพอกินได้ บริการก็ดีบ้างแย่บ้าง ไม่ต้องมีการอบรมพนักงาน เอาตามอารมณ์พนักงาน

คนอื่นจะได้สอดแทรกขึ้นมาบ้าง ท่านจะได้ได้กำไรน้อยลงบ้าง แบ่งๆกัน

แบบนี้หรอครับ  

เกี่ยวสิครับ กฏหมายกันการผูกขาดต้องมี ไอ่ที่คุณบอกมามันคือทุนนิยมเลยครับ ใครมีตังเยอะกว่าก็ทำของคุณภาพได้ดีกว่าตลอดแล้วก็ครองตลาดตลอด ถ้าไม่มีกฏหมายมาช่วยคุมให้เกิดการแข่งขันคุณก็จะเจอทุนผูกขาดชนะเสมอ

อย่างเช่นหลายประเทศที่เจริญๆมีกฏหมายครับว่าห้ามเปิดแบรนเดียวซ้ำกันภายในระยะกี่กิโล แล้ว supplier ก็หลากหลาย ไม่หเหมือนไทยที่ supplier แมร่งก็ cp แล้วมันจะไปขายไปร้านอื่นทำไมมันก็เก็บไว้ใช้กับ 7-11 เจ้าเดียว

กฏหมายเท่านั้นครับที่จะช่วยควบคุมการผูกขาดได้ ผมไม่ใช่เซียนกฏหมายหรอก แต่กฏหมายต้องทำให้ได้ ทำให้เจ้าๆเดียวไม่สามารถผูกขาดตลาดได้ ไม่ใช่มาบอกว่าให้แข่งด้านคุณภาพกันเอง ใครทำไม่ได้ก็ตายสะ  


คำถาม .. คือเขาก็มีเจ้าอื่นในตลาดการแข่งขัน ทำไมผู้บริโภคไม่ไปซื้อทางนั้นแทนเซเว่นล่ะครับ โชว์ห่วยแถวบ้านก็มีทำไมไม่อุดหนุนเขาล่ะ เซเว่นเปิดหน้าบ้านงี้คือการบังคับให้เราเข้าไปซื้อของเซเว่นหรือเปล่า ไม่มีตัวเลือกอื่นหรือเปล่า? มันไม่ใช่การผูกขาดนะครับ แค่ cp มีกำลังทรัพย์มากกว่าเจ้าอื่นในตลาด แต่สุดท้ายแล้วผู้บริโภคเนี่ยแหละที่สร้างพฤติกรรมให้เขามีช่องทางทำแบบนี้เอง ในเมื่อ cp มีเงินเขาไม่ผิดที่จะมาเปิดหลายสาขาจนมาถึงหน้าบ้านพวกคุณได้ ในเมื่อเขามีแหล่งผลิตสินค้าตัวเอง เขาไม่ผิดที่จะผลิตของที่ราคาได้ถูกกว่าเจ้าอื่น

แต่ผู้บริโภคเลือกซื้อเขาด้วยเหตุผลแบบนั้นเองหรือเปล่า? ถ้าไม่ชอบเซเว่นคุณก็ขับรถ เดินไป ขี่มอไซด์ ไปซื้อเจ้าอื่นแถวบ้านคุณก็ได้ใช่ไหมครับ? อย่างเช่นหมูปิ้งในเซเว่น กับ หมูปิ้งหน้าเซเว่น คุณก็ยังซื้อหมูปิ้งหน้าเซเว่นได้เลย ทั้งๆที่คุณภาพหมูเซเว่นอาจดีกว่า ถูกสุขอนามัยกว่า

หรือผมไม่ชอบสินค้าในเซเว่นเลย ผมก็ยังต้องไปหาสินค้าที่ขายในเจ้าอื่นแทนก็มี เช่นพวกเบียร์งี้
แก้ไขล่าสุดโดย Indyvirus เมื่อ Wed May 17, 2023 18:39, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ซุปตาร์ฟุตบอลโลก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 May 2022
ตอบ: 10931
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed May 17, 2023 18:45
[RE: ธุรกิจ 7-11 ในประเทศไทย ถือว่าผูกขาดหรือไม่]
Indyvirus พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ขาดเชรี่ยๆครับ ดูของญี่ปุ่นมีร้านสะดวกซื้อเยอะกว่าไทยมากๆ แต่แมร่งหลากหลายกว่าเยอะ  


ไม่เกี่ยวนะครับ

ผูกขาดหรือไม่ ท่านลองคิดดูนะครับ

ท่านสามารถเปิดร้านแบบ 7-11 ได้

ไม่จำเป็นต้องซื้อของจาก Makro มาขาย ท่านสั่งกับ ซัพพลายเออร์โดยตรงเลย

แต่ท่านต้องสั่งประมาณเยอะนะครับ แล้วต้องคุยกับหลายซัพพลายเออร์

Makro มาแก้ปัญหาตรงนี้ คือรวมหลายๆซัพพลายเออร์มาไว้ที่เดียว

ท่านสามารถเปิดแบบ Makro ได้นะครับ ถ้าทุนพอ กับ คิดว่าสู้เค้าได้

กลับมาที่ร้านแบบ 7-11 ท่านก็สามารถเปิดได้โดยที่ไม่มีกฎหมายอะไรบังคับนะครับ

ว่าต้องมีเงินทุนเท่านี้ ต้องขายได้วันละเท่านี้ ต้องมีนั่นมีนี่ ถูกมั้ยครับ

แต่พอเปิดแล้ว ถ้าลูกค้าไม่ชอบท่าน เค้าก็ไม่มาซื้อ ร้านท่านก็ปิดไปเอง

แปลว่า 7-11 เค้าแค่พัฒนาสินค้าและบริการของเค้าขึ้นแบบสุดๆ โดยที่คู่แข่งตามไม่ทัน

ผู้บริโภคมีสิทธิ์เลือก เค้าก็เลือกสิ่งที่ดีกว่า

แต่ถ้ากลับกัน ท่านไม่อยากใช้ไฟฟ้าของการไฟฟ้า ไม่อยากใช้น้ำประปาของการประปา

ท่านจะทำอะไรได้ครับ แบบนี้เรียกว่าผูกขาดครับ

อย่างของญี่ปุ่น คุณภาพเค้าพอๆกัน ไปญี่ปุ่นผมก็ไม่ค่อยเข้า 7-11 ครับ

เพราะเข้าไปแล้ว ก็ธรรมดา Lawson น่าเข้ากว่า ของกินน่ากินกว่า

มันไม่เกี่ยวกับการผูกขาดหรือไม่ผูกขาดครับ

สมมุติท่านขายไก่ย่าง แล้วแบบ ของท่านโคตรอร่อย บริการโคตรดี

แล้วท่านขยายสาขาไปทั่วประเทศ มีคนซื้อแฟรนไชส์เป็นหมื่นๆเจ้า

ท่านจะคิดว่าท่านผูกขาดไก่ย่างมั้ยครับ

หรือท่านจะคิดว่า ไม่เอาดีกว่า ไม่อยากใหญ่เกิน ทำแบบคุณภาพกลางๆพอ

เอาให้แบบพอกินได้ บริการก็ดีบ้างแย่บ้าง ไม่ต้องมีการอบรมพนักงาน เอาตามอารมณ์พนักงาน

คนอื่นจะได้สอดแทรกขึ้นมาบ้าง ท่านจะได้ได้กำไรน้อยลงบ้าง แบ่งๆกัน

แบบนี้หรอครับ  

เกี่ยวสิครับ กฏหมายกันการผูกขาดต้องมี ไอ่ที่คุณบอกมามันคือทุนนิยมเลยครับ ใครมีตังเยอะกว่าก็ทำของคุณภาพได้ดีกว่าตลอดแล้วก็ครองตลาดตลอด ถ้าไม่มีกฏหมายมาช่วยคุมให้เกิดการแข่งขันคุณก็จะเจอทุนผูกขาดชนะเสมอ

อย่างเช่นหลายประเทศที่เจริญๆมีกฏหมายครับว่าห้ามเปิดแบรนเดียวซ้ำกันภายในระยะกี่กิโล แล้ว supplier ก็หลากหลาย ไม่หเหมือนไทยที่ supplier แมร่งก็ cp แล้วมันจะไปขายไปร้านอื่นทำไมมันก็เก็บไว้ใช้กับ 7-11 เจ้าเดียว

กฏหมายเท่านั้นครับที่จะช่วยควบคุมการผูกขาดได้ ผมไม่ใช่เซียนกฏหมายหรอก แต่กฏหมายต้องทำให้ได้ ทำให้เจ้าๆเดียวไม่สามารถผูกขาดตลาดได้ ไม่ใช่มาบอกว่าให้แข่งด้านคุณภาพกันเอง ใครทำไม่ได้ก็ตายสะ  


คำถาม .. คือเขาก็มีเจ้าอื่นในตลาดการแข่งขัน ทำไมผู้บริโภคไม่ไปซื้อทางนั้นแทนเซเว่นล่ะครับ โชว์ห่วยแถวบ้านก็มีทำไมไม่อุดหนุนเขาล่ะ เซเว่นเปิดหน้าบ้านงี้คือการบังคับให้เราเข้าไปซื้อของเซเว่นหรือเปล่า ไม่มีตัวเลือกอื่นหรือเปล่า? มันไม่ใช่การผูกขาดนะครับ แค่ cp มีกำลังทรัพย์มากกว่าเจ้าอื่นในตลาด แต่สุดท้ายแล้วผู้บริโภคเนี่ยแหละที่สร้างพฤติกรรมให้เขามีช่องทางทำแบบนี้เอง ในเมื่อ cp มีเงินเขาไม่ผิดที่จะมาเปิดหลายสาขาจนมาถึงหน้าบ้านพวกคุณได้ ในเมื่อเขามีแหล่งผลิตสินค้าตัวเอง เขาไม่ผิดที่จะผลิตของที่ราคาได้ถูกกว่าเจ้าอื่น

แต่ผู้บริโภคเลือกซื้อเขาด้วยเหตุผลแบบนั้นเองหรือเปล่า? ถ้าไม่ชอบเซเว่นคุณก็ขับรถ เดินไป ขี่มอไซด์ ไปซื้อเจ้าอื่นแถวบ้านคุณก็ได้ใช่ไหมครับ? อย่างเช่นหมูปิ้งในเซเว่น กับ หมูปิ้งหน้าเซเว่น คุณก็ยังซื้อหมูปิ้งหน้าเซเว่นได้เลย ทั้งๆที่คุณภาพหมูเซเว่นอาจดีกว่า ถูกสุขอนามัยกว่า

หรือผมไม่ชอบสินค้าในเซเว่นเลย ผมก็ยังต้องไปหาสินค้าที่ขายในเจ้าอื่นแทนก็มี เช่นพวกเบียร์งี้
 

ที่ท่านอธิบายนั่นแหละคือคีวามหมายของการผูกขาดเลย ผู้บริโภคไม่มีทางเลือกอื่นเลยเพราะของ 7-11 คุณภาพสูงและ พวกร้านอื่นไม่มีของคุณภาพสูงเท่า เพราะฉะรัฐมีหน้าที่ออกกฏหมายที่เป็นแต้มต่อให้กับร้านเล็กครับ ยกตัวอย่างก้าวไกล หวยใบเสร็จ ซึ่งวิธีใช้กฏหมายทำให้การแข่งกันเป็นธรรมมากขึ้นมาอีกมีอีกเยอะครับ

สิ่งที่คุณพูดมันคือทุนนิมยมครับ คือ equality but not justice เท่าเทียมแต่ไม่ยุติธรรมครับ เพราะต้องสร้างความยุติธรรมให้กับรายเล็กโดยการใช้กฏหมายและนโยบายครับแบบก้าวไกลเป็นต้น ไม่ใช่ปล่อยเลยตามเลยให้แข่งกันเอง 100%

ยกตัวอย่างวิ่งแข่งกัน CP แม่งมี supply chain พร้อมเรียบร้อยมีเส้นมีสายมีเงินทุน แมร่งออก start ก่อน 10 นาที พวกร้านอื่นไม่มี supply chain ของตัวเองไม่มีทุนเยอะเท่า แมร่งออกตัวหลัง CP 10 นาทีมันแฟร์ตรงไหนครับท่าน

ไม่ต้องไปโทษผู้บิรโภคครับ ผู้บริโภคมีสิทธิเลือกถูกแล้ว แต่รัฐต้องเป็นคนให้แต้มต่อเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคและให้แต้มต่อรายย่อยครับ ท่าน
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
นักบอลถ้วย ค.
Status: It's Complicated
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 3736
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed May 17, 2023 18:51
[RE: ธุรกิจ 7-11 ในประเทศไทย ถือว่าผูกขาดหรือไม่]
SeQueda พิมพ์ว่า:
Indyvirus พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ขาดเชรี่ยๆครับ ดูของญี่ปุ่นมีร้านสะดวกซื้อเยอะกว่าไทยมากๆ แต่แมร่งหลากหลายกว่าเยอะ  


ไม่เกี่ยวนะครับ

ผูกขาดหรือไม่ ท่านลองคิดดูนะครับ

ท่านสามารถเปิดร้านแบบ 7-11 ได้

ไม่จำเป็นต้องซื้อของจาก Makro มาขาย ท่านสั่งกับ ซัพพลายเออร์โดยตรงเลย

แต่ท่านต้องสั่งประมาณเยอะนะครับ แล้วต้องคุยกับหลายซัพพลายเออร์

Makro มาแก้ปัญหาตรงนี้ คือรวมหลายๆซัพพลายเออร์มาไว้ที่เดียว

ท่านสามารถเปิดแบบ Makro ได้นะครับ ถ้าทุนพอ กับ คิดว่าสู้เค้าได้

กลับมาที่ร้านแบบ 7-11 ท่านก็สามารถเปิดได้โดยที่ไม่มีกฎหมายอะไรบังคับนะครับ

ว่าต้องมีเงินทุนเท่านี้ ต้องขายได้วันละเท่านี้ ต้องมีนั่นมีนี่ ถูกมั้ยครับ

แต่พอเปิดแล้ว ถ้าลูกค้าไม่ชอบท่าน เค้าก็ไม่มาซื้อ ร้านท่านก็ปิดไปเอง

แปลว่า 7-11 เค้าแค่พัฒนาสินค้าและบริการของเค้าขึ้นแบบสุดๆ โดยที่คู่แข่งตามไม่ทัน

ผู้บริโภคมีสิทธิ์เลือก เค้าก็เลือกสิ่งที่ดีกว่า

แต่ถ้ากลับกัน ท่านไม่อยากใช้ไฟฟ้าของการไฟฟ้า ไม่อยากใช้น้ำประปาของการประปา

ท่านจะทำอะไรได้ครับ แบบนี้เรียกว่าผูกขาดครับ

อย่างของญี่ปุ่น คุณภาพเค้าพอๆกัน ไปญี่ปุ่นผมก็ไม่ค่อยเข้า 7-11 ครับ

เพราะเข้าไปแล้ว ก็ธรรมดา Lawson น่าเข้ากว่า ของกินน่ากินกว่า

มันไม่เกี่ยวกับการผูกขาดหรือไม่ผูกขาดครับ

สมมุติท่านขายไก่ย่าง แล้วแบบ ของท่านโคตรอร่อย บริการโคตรดี

แล้วท่านขยายสาขาไปทั่วประเทศ มีคนซื้อแฟรนไชส์เป็นหมื่นๆเจ้า

ท่านจะคิดว่าท่านผูกขาดไก่ย่างมั้ยครับ

หรือท่านจะคิดว่า ไม่เอาดีกว่า ไม่อยากใหญ่เกิน ทำแบบคุณภาพกลางๆพอ

เอาให้แบบพอกินได้ บริการก็ดีบ้างแย่บ้าง ไม่ต้องมีการอบรมพนักงาน เอาตามอารมณ์พนักงาน

คนอื่นจะได้สอดแทรกขึ้นมาบ้าง ท่านจะได้ได้กำไรน้อยลงบ้าง แบ่งๆกัน

แบบนี้หรอครับ  

เกี่ยวสิครับ กฏหมายกันการผูกขาดต้องมี ไอ่ที่คุณบอกมามันคือทุนนิยมเลยครับ ใครมีตังเยอะกว่าก็ทำของคุณภาพได้ดีกว่าตลอดแล้วก็ครองตลาดตลอด ถ้าไม่มีกฏหมายมาช่วยคุมให้เกิดการแข่งขันคุณก็จะเจอทุนผูกขาดชนะเสมอ

อย่างเช่นหลายประเทศที่เจริญๆมีกฏหมายครับว่าห้ามเปิดแบรนเดียวซ้ำกันภายในระยะกี่กิโล แล้ว supplier ก็หลากหลาย ไม่หเหมือนไทยที่ supplier แมร่งก็ cp แล้วมันจะไปขายไปร้านอื่นทำไมมันก็เก็บไว้ใช้กับ 7-11 เจ้าเดียว

กฏหมายเท่านั้นครับที่จะช่วยควบคุมการผูกขาดได้ ผมไม่ใช่เซียนกฏหมายหรอก แต่กฏหมายต้องทำให้ได้ ทำให้เจ้าๆเดียวไม่สามารถผูกขาดตลาดได้ ไม่ใช่มาบอกว่าให้แข่งด้านคุณภาพกันเอง ใครทำไม่ได้ก็ตายสะ  


คำถาม .. คือเขาก็มีเจ้าอื่นในตลาดการแข่งขัน ทำไมผู้บริโภคไม่ไปซื้อทางนั้นแทนเซเว่นล่ะครับ โชว์ห่วยแถวบ้านก็มีทำไมไม่อุดหนุนเขาล่ะ เซเว่นเปิดหน้าบ้านงี้คือการบังคับให้เราเข้าไปซื้อของเซเว่นหรือเปล่า ไม่มีตัวเลือกอื่นหรือเปล่า? มันไม่ใช่การผูกขาดนะครับ แค่ cp มีกำลังทรัพย์มากกว่าเจ้าอื่นในตลาด แต่สุดท้ายแล้วผู้บริโภคเนี่ยแหละที่สร้างพฤติกรรมให้เขามีช่องทางทำแบบนี้เอง ในเมื่อ cp มีเงินเขาไม่ผิดที่จะมาเปิดหลายสาขาจนมาถึงหน้าบ้านพวกคุณได้ ในเมื่อเขามีแหล่งผลิตสินค้าตัวเอง เขาไม่ผิดที่จะผลิตของที่ราคาได้ถูกกว่าเจ้าอื่น

แต่ผู้บริโภคเลือกซื้อเขาด้วยเหตุผลแบบนั้นเองหรือเปล่า? ถ้าไม่ชอบเซเว่นคุณก็ขับรถ เดินไป ขี่มอไซด์ ไปซื้อเจ้าอื่นแถวบ้านคุณก็ได้ใช่ไหมครับ? อย่างเช่นหมูปิ้งในเซเว่น กับ หมูปิ้งหน้าเซเว่น คุณก็ยังซื้อหมูปิ้งหน้าเซเว่นได้เลย ทั้งๆที่คุณภาพหมูเซเว่นอาจดีกว่า ถูกสุขอนามัยกว่า

หรือผมไม่ชอบสินค้าในเซเว่นเลย ผมก็ยังต้องไปหาสินค้าที่ขายในเจ้าอื่นแทนก็มี เช่นพวกเบียร์งี้
 

ที่ท่านอธิบายนั่นแหละคือคีวามหมายของการผูกขาดเลย ผู้บริโภคไม่มีทางเลือกอื่นเลยเพราะของ 7-11 คุณภาพสูงและ พวกร้านอื่นไม่มีของคุณภาพสูงเท่า เพราะฉะรัฐมีหน้าที่ออกกฏหมายที่เป็นแต้มต่อให้กับร้านเล็กครับ ยกตัวอย่างก้าวไกล หวยใบเสร็จ ซึ่งวิธีใช้กฏหมายทำให้การแข่งกันเป็นธรรมมากขึ้นมาอีกมีอีกเยอะครับ

สิ่งที่คุณพูดมันคือทุนนิมยมครับ คือ equality but not justice เท่าเทียมแต่ไม่ยุติธรรมครับ เพราะต้องสร้างความยุติธรรมให้กับรายเล็กโดยการใช้กฏหมายและนโยบายครับแบบก้าวไกลเป็นต้น ไม่ใช่ปล่อยเลยตามเลยให้แข่งกันเอง 100%

ยกตัวอย่างวิ่งแข่งกัน CP แม่งมี supply chain พร้อมเรียบร้อยมีเส้นมีสายมีเงินทุน แมร่งออก start ก่อน 10 นาที พวกร้านอื่นไม่มี supply chain ของตัวเองไม่มีทุนเยอะเท่า แมร่งออกตัวหลัง CP 10 นาทีมันแฟร์ตรงไหนครับท่าน

ไม่ต้องไปโทษผู้บิรโภคครับ ผู้บริโภคมีสิทธิเลือกถูกแล้ว แต่รัฐต้องเป็นคนให้แต้มต่อเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคและให้แต้มต่อรายย่อยครับ ท่าน  


ท่านต้องไปหาความหมายการผูกขาดใหม่นะครับ

การผูกขาด ไม่ใช่ การทำให้สินค้ามันคุณภาพดีกว่าคนอื่น แล้ว ทำให้ลูกค้าไปซื้อนะครับ

ยกตัวอย่างการผูกขาด

1. น้ำประปา
2. การไฟฟ้า
3. ยาสูบ
4. การรถไฟ

monopoly หรือ การผูกขาด หมายถึง ลักษณะหนึ่งของตลาดผลผลิตที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ มีลักษณะโครงสร้างที่สำคัญคือ มีผู้ขายรายเดียว การเข้าสู่ตลาดทำได้ยาก ทำให้ผู้ผูกขาดมีอำนาจในการกำหนดราคาสินค้าหรือบริการของตน

เช่น ถ้าวันนี้ค่าไฟแพง ท่านทำอะไรได้ครับ นอกจากไม่ใช้ หรือ ผลิตไฟขึ้นเอง
ถ้าน้ำแพง ท่านทำอะไรได้ครับ นอกจากขุดบ่อบาดาลใช้เอง

ถ้าวันนี้สินค้าใน 7-11 แพง

ท่านก็แค่ เดินไป BigC Family Lawson แล้วก็ซื้อสินค้าที่ถูกกว่าครับ
แก้ไขล่าสุดโดย ไม่อยากกินต้มไก่ เมื่อ Wed May 17, 2023 18:52, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 13 Mar 2018
ตอบ: 9776
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed May 17, 2023 19:13
[RE: ธุรกิจ 7-11 ในประเทศไทย ถือว่าผูกขาดหรือไม่]
SeQueda พิมพ์ว่า:
Indyvirus พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ขาดเชรี่ยๆครับ ดูของญี่ปุ่นมีร้านสะดวกซื้อเยอะกว่าไทยมากๆ แต่แมร่งหลากหลายกว่าเยอะ  


ไม่เกี่ยวนะครับ

ผูกขาดหรือไม่ ท่านลองคิดดูนะครับ

ท่านสามารถเปิดร้านแบบ 7-11 ได้

ไม่จำเป็นต้องซื้อของจาก Makro มาขาย ท่านสั่งกับ ซัพพลายเออร์โดยตรงเลย

แต่ท่านต้องสั่งประมาณเยอะนะครับ แล้วต้องคุยกับหลายซัพพลายเออร์

Makro มาแก้ปัญหาตรงนี้ คือรวมหลายๆซัพพลายเออร์มาไว้ที่เดียว

ท่านสามารถเปิดแบบ Makro ได้นะครับ ถ้าทุนพอ กับ คิดว่าสู้เค้าได้

กลับมาที่ร้านแบบ 7-11 ท่านก็สามารถเปิดได้โดยที่ไม่มีกฎหมายอะไรบังคับนะครับ

ว่าต้องมีเงินทุนเท่านี้ ต้องขายได้วันละเท่านี้ ต้องมีนั่นมีนี่ ถูกมั้ยครับ

แต่พอเปิดแล้ว ถ้าลูกค้าไม่ชอบท่าน เค้าก็ไม่มาซื้อ ร้านท่านก็ปิดไปเอง

แปลว่า 7-11 เค้าแค่พัฒนาสินค้าและบริการของเค้าขึ้นแบบสุดๆ โดยที่คู่แข่งตามไม่ทัน

ผู้บริโภคมีสิทธิ์เลือก เค้าก็เลือกสิ่งที่ดีกว่า

แต่ถ้ากลับกัน ท่านไม่อยากใช้ไฟฟ้าของการไฟฟ้า ไม่อยากใช้น้ำประปาของการประปา

ท่านจะทำอะไรได้ครับ แบบนี้เรียกว่าผูกขาดครับ

อย่างของญี่ปุ่น คุณภาพเค้าพอๆกัน ไปญี่ปุ่นผมก็ไม่ค่อยเข้า 7-11 ครับ

เพราะเข้าไปแล้ว ก็ธรรมดา Lawson น่าเข้ากว่า ของกินน่ากินกว่า

มันไม่เกี่ยวกับการผูกขาดหรือไม่ผูกขาดครับ

สมมุติท่านขายไก่ย่าง แล้วแบบ ของท่านโคตรอร่อย บริการโคตรดี

แล้วท่านขยายสาขาไปทั่วประเทศ มีคนซื้อแฟรนไชส์เป็นหมื่นๆเจ้า

ท่านจะคิดว่าท่านผูกขาดไก่ย่างมั้ยครับ

หรือท่านจะคิดว่า ไม่เอาดีกว่า ไม่อยากใหญ่เกิน ทำแบบคุณภาพกลางๆพอ

เอาให้แบบพอกินได้ บริการก็ดีบ้างแย่บ้าง ไม่ต้องมีการอบรมพนักงาน เอาตามอารมณ์พนักงาน

คนอื่นจะได้สอดแทรกขึ้นมาบ้าง ท่านจะได้ได้กำไรน้อยลงบ้าง แบ่งๆกัน

แบบนี้หรอครับ  

เกี่ยวสิครับ กฏหมายกันการผูกขาดต้องมี ไอ่ที่คุณบอกมามันคือทุนนิยมเลยครับ ใครมีตังเยอะกว่าก็ทำของคุณภาพได้ดีกว่าตลอดแล้วก็ครองตลาดตลอด ถ้าไม่มีกฏหมายมาช่วยคุมให้เกิดการแข่งขันคุณก็จะเจอทุนผูกขาดชนะเสมอ

อย่างเช่นหลายประเทศที่เจริญๆมีกฏหมายครับว่าห้ามเปิดแบรนเดียวซ้ำกันภายในระยะกี่กิโล แล้ว supplier ก็หลากหลาย ไม่หเหมือนไทยที่ supplier แมร่งก็ cp แล้วมันจะไปขายไปร้านอื่นทำไมมันก็เก็บไว้ใช้กับ 7-11 เจ้าเดียว

กฏหมายเท่านั้นครับที่จะช่วยควบคุมการผูกขาดได้ ผมไม่ใช่เซียนกฏหมายหรอก แต่กฏหมายต้องทำให้ได้ ทำให้เจ้าๆเดียวไม่สามารถผูกขาดตลาดได้ ไม่ใช่มาบอกว่าให้แข่งด้านคุณภาพกันเอง ใครทำไม่ได้ก็ตายสะ  


คำถาม .. คือเขาก็มีเจ้าอื่นในตลาดการแข่งขัน ทำไมผู้บริโภคไม่ไปซื้อทางนั้นแทนเซเว่นล่ะครับ โชว์ห่วยแถวบ้านก็มีทำไมไม่อุดหนุนเขาล่ะ เซเว่นเปิดหน้าบ้านงี้คือการบังคับให้เราเข้าไปซื้อของเซเว่นหรือเปล่า ไม่มีตัวเลือกอื่นหรือเปล่า? มันไม่ใช่การผูกขาดนะครับ แค่ cp มีกำลังทรัพย์มากกว่าเจ้าอื่นในตลาด แต่สุดท้ายแล้วผู้บริโภคเนี่ยแหละที่สร้างพฤติกรรมให้เขามีช่องทางทำแบบนี้เอง ในเมื่อ cp มีเงินเขาไม่ผิดที่จะมาเปิดหลายสาขาจนมาถึงหน้าบ้านพวกคุณได้ ในเมื่อเขามีแหล่งผลิตสินค้าตัวเอง เขาไม่ผิดที่จะผลิตของที่ราคาได้ถูกกว่าเจ้าอื่น

แต่ผู้บริโภคเลือกซื้อเขาด้วยเหตุผลแบบนั้นเองหรือเปล่า? ถ้าไม่ชอบเซเว่นคุณก็ขับรถ เดินไป ขี่มอไซด์ ไปซื้อเจ้าอื่นแถวบ้านคุณก็ได้ใช่ไหมครับ? อย่างเช่นหมูปิ้งในเซเว่น กับ หมูปิ้งหน้าเซเว่น คุณก็ยังซื้อหมูปิ้งหน้าเซเว่นได้เลย ทั้งๆที่คุณภาพหมูเซเว่นอาจดีกว่า ถูกสุขอนามัยกว่า

หรือผมไม่ชอบสินค้าในเซเว่นเลย ผมก็ยังต้องไปหาสินค้าที่ขายในเจ้าอื่นแทนก็มี เช่นพวกเบียร์งี้
 

ที่ท่านอธิบายนั่นแหละคือคีวามหมายของการผูกขาดเลย ผู้บริโภคไม่มีทางเลือกอื่นเลยเพราะของ 7-11 คุณภาพสูงและ พวกร้านอื่นไม่มีของคุณภาพสูงเท่า เพราะฉะรัฐมีหน้าที่ออกกฏหมายที่เป็นแต้มต่อให้กับร้านเล็กครับ ยกตัวอย่างก้าวไกล หวยใบเสร็จ ซึ่งวิธีใช้กฏหมายทำให้การแข่งกันเป็นธรรมมากขึ้นมาอีกมีอีกเยอะครับ

สิ่งที่คุณพูดมันคือทุนนิมยมครับ คือ equality but not justice เท่าเทียมแต่ไม่ยุติธรรมครับ เพราะต้องสร้างความยุติธรรมให้กับรายเล็กโดยการใช้กฏหมายและนโยบายครับแบบก้าวไกลเป็นต้น ไม่ใช่ปล่อยเลยตามเลยให้แข่งกันเอง 100%

ยกตัวอย่างวิ่งแข่งกัน CP แม่งมี supply chain พร้อมเรียบร้อยมีเส้นมีสายมีเงินทุน แมร่งออก start ก่อน 10 นาที พวกร้านอื่นไม่มี supply chain ของตัวเองไม่มีทุนเยอะเท่า แมร่งออกตัวหลัง CP 10 นาทีมันแฟร์ตรงไหนครับท่าน

ไม่ต้องไปโทษผู้บิรโภคครับ ผู้บริโภคมีสิทธิเลือกถูกแล้ว แต่รัฐต้องเป็นคนให้แต้มต่อเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคและให้แต้มต่อรายย่อยครับ ท่าน  


คุณคิดไปเองครับ คุณภาพของเซเว่นไม่ได้ดีกว่าเจ้าอื่นเลยครับ คุณลองเข้าไปร้านอื่นๆบ้างไหมครับ ร้านอื่นคุณภาพดีกว่าตามราคาที่เหมาะสมด้วยซ้ำ แต่เซเว่นไม่ได้ดีเท่านั้นแต่เน้นได้ราคาที่ถูกกว่าครับ แต่ผู้บริโภคเลือกที่จะไปทางนั้นกันเอง และของทุกอย่างในเซเว่นก็ไม่ได้จำเป็นต้องซื้อครับ เพราะฉะนั้นมันอยุ่ที่ผู้บริโภคครับที่ไปสนับสนุนเขาเองอย่างที่ผมบอก เพราะผมก็คิดแบบนี้ผมเลยไม่ได้ซื้อของเซเว่นบ่อย ไปซื้อเจ้าอื่นที่ได้คุณภาพที่คุ้มราคาดีกว่า

และสิ่งที่ cp ทำผมไม่เห็นว่าเอาของคุณภาพดีเท่ากันมาขายในราคาที่ถูกกว่าตรงไหนด้วยซ้ำ เจอแต่ของคุณภาพแย่กว่าซะส่วนใหญ่ คุณคิดว่าข้าวกล่องแดงจะอร่อยกว่าข้าวแกงหรอ? คุณคิดว่าน้ำดื่มราคาต่างจากเจ้าอื่นมากขนาดนั้นหรอ ถ้าเน้นถูกสั่งซื้อตามช้อปปี้ ลาซาด้าก็ได้ครับ ถูกกว่า คุณภาพเท่ากัน แล้วทำไมต้องเซเว่นล่ะ "เพราะมันสะดวกกว่าไง" มันมาเปิดใกล้บ้านคุณไง มันใกล้คุณไง เหตุผลนี้แหละที่เป็นตัวแปรมากกว่าที่คุณบอกข้างต้นครับ ย้ำอีกครั้งจากเช็คคุณภาพสินค้าในเซเว่น คุณมีตัวเลือกอื่นที่ราคาไม่ต่างกันมากแต่คุณภาพดีกว่าเซเว่นมาก แต่พวกคุณไม่เลือกซื้อกันเอง

เพราะถ้ามันคุณภาพดีกว่าหรือเท่ากันด้วยราคาที่ cp ขาย มันจะไม่มีคนที่มีความคิดแบบผมเกิดขึ้นครับ ผมไม่จำเป็นต้องไปซื้อของที่อื่นหรอก เซเว่นหน้าบ้านก็มี

ปัญหามันเกิดจากผู้บริโภคคิดว่าสินค้นมันมีคุณภาพพอทดแทนกันได้และเซเว่นสะดวกกว่าเท่านั้นเอง ซึ่งย้อนกลับไปอ่านข้างบนอีกทีที่ผมบอก เหมือนคนชอบคิดว่าอาหารไทยมันจะต่างกันยังไง กับร้านข้างทางกับร้านดัง มันก็อาหารไทยเหมือนๆกัน ทั้งๆที่ไม่ใช่

และสุดท้ายหากด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคเป็นแบบนี้ แล้ว cp เห็นช่องทางทำการตลาดแบบนี้ มันไม่ผิดที่ cp ครับ ถ้ามองมูลค่ากับคุณภาพสินค้าแล้ว เซเว่นและ cp แทบเอาตังจากผมยากมาก แต่เพราะความสะดวกนั่นแหละคือตัวแปรสำคัญที่คนเราต้องเข้าเซเว่นมากกว่าเจ้าอื่นๆ

หรือเอาง่ายๆเลย คุณจะซื้อเบียร์ขวดหนึ่ง เซเว่น กับ บิ๊กซีมาร์ท ราคาเซเว่นถูกกว่า ต่างกันบาทเดียว แต่บิ๊กซีอยู่หน้าบ้านคุณ คุณจะไปซื้อเบียร์ที่ไหน?

หรือเอาง่ายกว่านั้นอีก เซเว่นในปั้มมี allcafe ขายราคาก็ถูกกว่าคุณภาพกาแฟก็ไม่ได้แย่เท่าไหร่มั้ง แต่ทำไมอเมซอนที่เปิดในปั้มเดียวกันขายดีกว่าเซเว่น? ทำไมคนเขาไม่ซื้อที่เซเว่นถ้าสินค้าเซเว่นผูกขาด?
แก้ไขล่าสุดโดย Indyvirus เมื่อ Wed May 17, 2023 19:38, ทั้งหมด 4 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ซุปตาร์ฟุตบอลโลก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 May 2022
ตอบ: 10931
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed May 17, 2023 19:47
[RE: ธุรกิจ 7-11 ในประเทศไทย ถือว่าผูกขาดหรือไม่]
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
Indyvirus พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ขาดเชรี่ยๆครับ ดูของญี่ปุ่นมีร้านสะดวกซื้อเยอะกว่าไทยมากๆ แต่แมร่งหลากหลายกว่าเยอะ  


ไม่เกี่ยวนะครับ

ผูกขาดหรือไม่ ท่านลองคิดดูนะครับ

ท่านสามารถเปิดร้านแบบ 7-11 ได้

ไม่จำเป็นต้องซื้อของจาก Makro มาขาย ท่านสั่งกับ ซัพพลายเออร์โดยตรงเลย

แต่ท่านต้องสั่งประมาณเยอะนะครับ แล้วต้องคุยกับหลายซัพพลายเออร์

Makro มาแก้ปัญหาตรงนี้ คือรวมหลายๆซัพพลายเออร์มาไว้ที่เดียว

ท่านสามารถเปิดแบบ Makro ได้นะครับ ถ้าทุนพอ กับ คิดว่าสู้เค้าได้

กลับมาที่ร้านแบบ 7-11 ท่านก็สามารถเปิดได้โดยที่ไม่มีกฎหมายอะไรบังคับนะครับ

ว่าต้องมีเงินทุนเท่านี้ ต้องขายได้วันละเท่านี้ ต้องมีนั่นมีนี่ ถูกมั้ยครับ

แต่พอเปิดแล้ว ถ้าลูกค้าไม่ชอบท่าน เค้าก็ไม่มาซื้อ ร้านท่านก็ปิดไปเอง

แปลว่า 7-11 เค้าแค่พัฒนาสินค้าและบริการของเค้าขึ้นแบบสุดๆ โดยที่คู่แข่งตามไม่ทัน

ผู้บริโภคมีสิทธิ์เลือก เค้าก็เลือกสิ่งที่ดีกว่า

แต่ถ้ากลับกัน ท่านไม่อยากใช้ไฟฟ้าของการไฟฟ้า ไม่อยากใช้น้ำประปาของการประปา

ท่านจะทำอะไรได้ครับ แบบนี้เรียกว่าผูกขาดครับ

อย่างของญี่ปุ่น คุณภาพเค้าพอๆกัน ไปญี่ปุ่นผมก็ไม่ค่อยเข้า 7-11 ครับ

เพราะเข้าไปแล้ว ก็ธรรมดา Lawson น่าเข้ากว่า ของกินน่ากินกว่า

มันไม่เกี่ยวกับการผูกขาดหรือไม่ผูกขาดครับ

สมมุติท่านขายไก่ย่าง แล้วแบบ ของท่านโคตรอร่อย บริการโคตรดี

แล้วท่านขยายสาขาไปทั่วประเทศ มีคนซื้อแฟรนไชส์เป็นหมื่นๆเจ้า

ท่านจะคิดว่าท่านผูกขาดไก่ย่างมั้ยครับ

หรือท่านจะคิดว่า ไม่เอาดีกว่า ไม่อยากใหญ่เกิน ทำแบบคุณภาพกลางๆพอ

เอาให้แบบพอกินได้ บริการก็ดีบ้างแย่บ้าง ไม่ต้องมีการอบรมพนักงาน เอาตามอารมณ์พนักงาน

คนอื่นจะได้สอดแทรกขึ้นมาบ้าง ท่านจะได้ได้กำไรน้อยลงบ้าง แบ่งๆกัน

แบบนี้หรอครับ  

เกี่ยวสิครับ กฏหมายกันการผูกขาดต้องมี ไอ่ที่คุณบอกมามันคือทุนนิยมเลยครับ ใครมีตังเยอะกว่าก็ทำของคุณภาพได้ดีกว่าตลอดแล้วก็ครองตลาดตลอด ถ้าไม่มีกฏหมายมาช่วยคุมให้เกิดการแข่งขันคุณก็จะเจอทุนผูกขาดชนะเสมอ

อย่างเช่นหลายประเทศที่เจริญๆมีกฏหมายครับว่าห้ามเปิดแบรนเดียวซ้ำกันภายในระยะกี่กิโล แล้ว supplier ก็หลากหลาย ไม่หเหมือนไทยที่ supplier แมร่งก็ cp แล้วมันจะไปขายไปร้านอื่นทำไมมันก็เก็บไว้ใช้กับ 7-11 เจ้าเดียว

กฏหมายเท่านั้นครับที่จะช่วยควบคุมการผูกขาดได้ ผมไม่ใช่เซียนกฏหมายหรอก แต่กฏหมายต้องทำให้ได้ ทำให้เจ้าๆเดียวไม่สามารถผูกขาดตลาดได้ ไม่ใช่มาบอกว่าให้แข่งด้านคุณภาพกันเอง ใครทำไม่ได้ก็ตายสะ  


คำถาม .. คือเขาก็มีเจ้าอื่นในตลาดการแข่งขัน ทำไมผู้บริโภคไม่ไปซื้อทางนั้นแทนเซเว่นล่ะครับ โชว์ห่วยแถวบ้านก็มีทำไมไม่อุดหนุนเขาล่ะ เซเว่นเปิดหน้าบ้านงี้คือการบังคับให้เราเข้าไปซื้อของเซเว่นหรือเปล่า ไม่มีตัวเลือกอื่นหรือเปล่า? มันไม่ใช่การผูกขาดนะครับ แค่ cp มีกำลังทรัพย์มากกว่าเจ้าอื่นในตลาด แต่สุดท้ายแล้วผู้บริโภคเนี่ยแหละที่สร้างพฤติกรรมให้เขามีช่องทางทำแบบนี้เอง ในเมื่อ cp มีเงินเขาไม่ผิดที่จะมาเปิดหลายสาขาจนมาถึงหน้าบ้านพวกคุณได้ ในเมื่อเขามีแหล่งผลิตสินค้าตัวเอง เขาไม่ผิดที่จะผลิตของที่ราคาได้ถูกกว่าเจ้าอื่น

แต่ผู้บริโภคเลือกซื้อเขาด้วยเหตุผลแบบนั้นเองหรือเปล่า? ถ้าไม่ชอบเซเว่นคุณก็ขับรถ เดินไป ขี่มอไซด์ ไปซื้อเจ้าอื่นแถวบ้านคุณก็ได้ใช่ไหมครับ? อย่างเช่นหมูปิ้งในเซเว่น กับ หมูปิ้งหน้าเซเว่น คุณก็ยังซื้อหมูปิ้งหน้าเซเว่นได้เลย ทั้งๆที่คุณภาพหมูเซเว่นอาจดีกว่า ถูกสุขอนามัยกว่า

หรือผมไม่ชอบสินค้าในเซเว่นเลย ผมก็ยังต้องไปหาสินค้าที่ขายในเจ้าอื่นแทนก็มี เช่นพวกเบียร์งี้
 

ที่ท่านอธิบายนั่นแหละคือคีวามหมายของการผูกขาดเลย ผู้บริโภคไม่มีทางเลือกอื่นเลยเพราะของ 7-11 คุณภาพสูงและ พวกร้านอื่นไม่มีของคุณภาพสูงเท่า เพราะฉะรัฐมีหน้าที่ออกกฏหมายที่เป็นแต้มต่อให้กับร้านเล็กครับ ยกตัวอย่างก้าวไกล หวยใบเสร็จ ซึ่งวิธีใช้กฏหมายทำให้การแข่งกันเป็นธรรมมากขึ้นมาอีกมีอีกเยอะครับ

สิ่งที่คุณพูดมันคือทุนนิมยมครับ คือ equality but not justice เท่าเทียมแต่ไม่ยุติธรรมครับ เพราะต้องสร้างความยุติธรรมให้กับรายเล็กโดยการใช้กฏหมายและนโยบายครับแบบก้าวไกลเป็นต้น ไม่ใช่ปล่อยเลยตามเลยให้แข่งกันเอง 100%

ยกตัวอย่างวิ่งแข่งกัน CP แม่งมี supply chain พร้อมเรียบร้อยมีเส้นมีสายมีเงินทุน แมร่งออก start ก่อน 10 นาที พวกร้านอื่นไม่มี supply chain ของตัวเองไม่มีทุนเยอะเท่า แมร่งออกตัวหลัง CP 10 นาทีมันแฟร์ตรงไหนครับท่าน

ไม่ต้องไปโทษผู้บิรโภคครับ ผู้บริโภคมีสิทธิเลือกถูกแล้ว แต่รัฐต้องเป็นคนให้แต้มต่อเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคและให้แต้มต่อรายย่อยครับ ท่าน  


ท่านต้องไปหาความหมายการผูกขาดใหม่นะครับ

การผูกขาด ไม่ใช่ การทำให้สินค้ามันคุณภาพดีกว่าคนอื่น แล้ว ทำให้ลูกค้าไปซื้อนะครับ

ยกตัวอย่างการผูกขาด

1. น้ำประปา
2. การไฟฟ้า
3. ยาสูบ
4. การรถไฟ

monopoly หรือ การผูกขาด หมายถึง ลักษณะหนึ่งของตลาดผลผลิตที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ มีลักษณะโครงสร้างที่สำคัญคือ มีผู้ขายรายเดียว การเข้าสู่ตลาดทำได้ยาก ทำให้ผู้ผูกขาดมีอำนาจในการกำหนดราคาสินค้าหรือบริการของตน

เช่น ถ้าวันนี้ค่าไฟแพง ท่านทำอะไรได้ครับ นอกจากไม่ใช้ หรือ ผลิตไฟขึ้นเอง
ถ้าน้ำแพง ท่านทำอะไรได้ครับ นอกจากขุดบ่อบาดาลใช้เอง

ถ้าวันนี้สินค้าใน 7-11 แพง

ท่านก็แค่ เดินไป BigC Family Lawson แล้วก็ซื้อสินค้าที่ถูกกว่าครับ  

ถ้าท่านคิดว่า "ท่านก็แค่ เดินไป BigC Family Lawson แล้วก็ซื้อสินค้าที่ถูกกว่าครับ" ท่านก็ confirm เองแล้วว่า 7-11 มีทุกมุมไปง่ายกว่าที่อื่นมันไม่แฟร์เพราะมันสะดวกกว่าเจ้าอื่นเพราะมันมีทุนมีเส้นสายไปเปิดสาขาติดๆกันได้โดยไม่มีการควบคุม เพราะฉะนั้นต้องมีกฏหมายครับว่าร้านสะดวกซื้อเจ้านึงห้ามตั้งติดกันภานในรัศมีกี่กีโล
แก้ไขล่าสุดโดย SeQueda เมื่อ Wed May 17, 2023 19:48, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ก.
Status: จิ้งจกเสพความเหงา
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 Feb 2021
ตอบ: 12238
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed May 17, 2023 20:43
[RE]ธุรกิจ 7-11 ในประเทศไทย ถือว่าผูกขาดหรือไม่
Tonyman พิมพ์ว่า:
ไม่คับ ค้าปลีกไม่เรียกว่าผูกขาดนะ เพราะการแข่งขันสูงมากและสู้ 7-11 ไม่ได้เอง

แต่ CP ถ้าจะเรียกควรเรียกว่ากินรวบมากกว่า เพราะคุมตั้งแต่ราคาปุ๋ย อาหารสัตว์ ยันช่องทางจัดจำหน่าย  
โพสต์บนแอป Soccersuck บน iOS
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
นักบอลถ้วย ค.
Status: It's Complicated
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 3736
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed May 17, 2023 20:48
[RE: ธุรกิจ 7-11 ในประเทศไทย ถือว่าผูกขาดหรือไม่]
SeQueda พิมพ์ว่า:
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
Indyvirus พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
SeQueda พิมพ์ว่า:
ขาดเชรี่ยๆครับ ดูของญี่ปุ่นมีร้านสะดวกซื้อเยอะกว่าไทยมากๆ แต่แมร่งหลากหลายกว่าเยอะ  


ไม่เกี่ยวนะครับ

ผูกขาดหรือไม่ ท่านลองคิดดูนะครับ

ท่านสามารถเปิดร้านแบบ 7-11 ได้

ไม่จำเป็นต้องซื้อของจาก Makro มาขาย ท่านสั่งกับ ซัพพลายเออร์โดยตรงเลย

แต่ท่านต้องสั่งประมาณเยอะนะครับ แล้วต้องคุยกับหลายซัพพลายเออร์

Makro มาแก้ปัญหาตรงนี้ คือรวมหลายๆซัพพลายเออร์มาไว้ที่เดียว

ท่านสามารถเปิดแบบ Makro ได้นะครับ ถ้าทุนพอ กับ คิดว่าสู้เค้าได้

กลับมาที่ร้านแบบ 7-11 ท่านก็สามารถเปิดได้โดยที่ไม่มีกฎหมายอะไรบังคับนะครับ

ว่าต้องมีเงินทุนเท่านี้ ต้องขายได้วันละเท่านี้ ต้องมีนั่นมีนี่ ถูกมั้ยครับ

แต่พอเปิดแล้ว ถ้าลูกค้าไม่ชอบท่าน เค้าก็ไม่มาซื้อ ร้านท่านก็ปิดไปเอง

แปลว่า 7-11 เค้าแค่พัฒนาสินค้าและบริการของเค้าขึ้นแบบสุดๆ โดยที่คู่แข่งตามไม่ทัน

ผู้บริโภคมีสิทธิ์เลือก เค้าก็เลือกสิ่งที่ดีกว่า

แต่ถ้ากลับกัน ท่านไม่อยากใช้ไฟฟ้าของการไฟฟ้า ไม่อยากใช้น้ำประปาของการประปา

ท่านจะทำอะไรได้ครับ แบบนี้เรียกว่าผูกขาดครับ

อย่างของญี่ปุ่น คุณภาพเค้าพอๆกัน ไปญี่ปุ่นผมก็ไม่ค่อยเข้า 7-11 ครับ

เพราะเข้าไปแล้ว ก็ธรรมดา Lawson น่าเข้ากว่า ของกินน่ากินกว่า

มันไม่เกี่ยวกับการผูกขาดหรือไม่ผูกขาดครับ

สมมุติท่านขายไก่ย่าง แล้วแบบ ของท่านโคตรอร่อย บริการโคตรดี

แล้วท่านขยายสาขาไปทั่วประเทศ มีคนซื้อแฟรนไชส์เป็นหมื่นๆเจ้า

ท่านจะคิดว่าท่านผูกขาดไก่ย่างมั้ยครับ

หรือท่านจะคิดว่า ไม่เอาดีกว่า ไม่อยากใหญ่เกิน ทำแบบคุณภาพกลางๆพอ

เอาให้แบบพอกินได้ บริการก็ดีบ้างแย่บ้าง ไม่ต้องมีการอบรมพนักงาน เอาตามอารมณ์พนักงาน

คนอื่นจะได้สอดแทรกขึ้นมาบ้าง ท่านจะได้ได้กำไรน้อยลงบ้าง แบ่งๆกัน

แบบนี้หรอครับ  

เกี่ยวสิครับ กฏหมายกันการผูกขาดต้องมี ไอ่ที่คุณบอกมามันคือทุนนิยมเลยครับ ใครมีตังเยอะกว่าก็ทำของคุณภาพได้ดีกว่าตลอดแล้วก็ครองตลาดตลอด ถ้าไม่มีกฏหมายมาช่วยคุมให้เกิดการแข่งขันคุณก็จะเจอทุนผูกขาดชนะเสมอ

อย่างเช่นหลายประเทศที่เจริญๆมีกฏหมายครับว่าห้ามเปิดแบรนเดียวซ้ำกันภายในระยะกี่กิโล แล้ว supplier ก็หลากหลาย ไม่หเหมือนไทยที่ supplier แมร่งก็ cp แล้วมันจะไปขายไปร้านอื่นทำไมมันก็เก็บไว้ใช้กับ 7-11 เจ้าเดียว

กฏหมายเท่านั้นครับที่จะช่วยควบคุมการผูกขาดได้ ผมไม่ใช่เซียนกฏหมายหรอก แต่กฏหมายต้องทำให้ได้ ทำให้เจ้าๆเดียวไม่สามารถผูกขาดตลาดได้ ไม่ใช่มาบอกว่าให้แข่งด้านคุณภาพกันเอง ใครทำไม่ได้ก็ตายสะ  


คำถาม .. คือเขาก็มีเจ้าอื่นในตลาดการแข่งขัน ทำไมผู้บริโภคไม่ไปซื้อทางนั้นแทนเซเว่นล่ะครับ โชว์ห่วยแถวบ้านก็มีทำไมไม่อุดหนุนเขาล่ะ เซเว่นเปิดหน้าบ้านงี้คือการบังคับให้เราเข้าไปซื้อของเซเว่นหรือเปล่า ไม่มีตัวเลือกอื่นหรือเปล่า? มันไม่ใช่การผูกขาดนะครับ แค่ cp มีกำลังทรัพย์มากกว่าเจ้าอื่นในตลาด แต่สุดท้ายแล้วผู้บริโภคเนี่ยแหละที่สร้างพฤติกรรมให้เขามีช่องทางทำแบบนี้เอง ในเมื่อ cp มีเงินเขาไม่ผิดที่จะมาเปิดหลายสาขาจนมาถึงหน้าบ้านพวกคุณได้ ในเมื่อเขามีแหล่งผลิตสินค้าตัวเอง เขาไม่ผิดที่จะผลิตของที่ราคาได้ถูกกว่าเจ้าอื่น

แต่ผู้บริโภคเลือกซื้อเขาด้วยเหตุผลแบบนั้นเองหรือเปล่า? ถ้าไม่ชอบเซเว่นคุณก็ขับรถ เดินไป ขี่มอไซด์ ไปซื้อเจ้าอื่นแถวบ้านคุณก็ได้ใช่ไหมครับ? อย่างเช่นหมูปิ้งในเซเว่น กับ หมูปิ้งหน้าเซเว่น คุณก็ยังซื้อหมูปิ้งหน้าเซเว่นได้เลย ทั้งๆที่คุณภาพหมูเซเว่นอาจดีกว่า ถูกสุขอนามัยกว่า

หรือผมไม่ชอบสินค้าในเซเว่นเลย ผมก็ยังต้องไปหาสินค้าที่ขายในเจ้าอื่นแทนก็มี เช่นพวกเบียร์งี้
 

ที่ท่านอธิบายนั่นแหละคือคีวามหมายของการผูกขาดเลย ผู้บริโภคไม่มีทางเลือกอื่นเลยเพราะของ 7-11 คุณภาพสูงและ พวกร้านอื่นไม่มีของคุณภาพสูงเท่า เพราะฉะรัฐมีหน้าที่ออกกฏหมายที่เป็นแต้มต่อให้กับร้านเล็กครับ ยกตัวอย่างก้าวไกล หวยใบเสร็จ ซึ่งวิธีใช้กฏหมายทำให้การแข่งกันเป็นธรรมมากขึ้นมาอีกมีอีกเยอะครับ

สิ่งที่คุณพูดมันคือทุนนิมยมครับ คือ equality but not justice เท่าเทียมแต่ไม่ยุติธรรมครับ เพราะต้องสร้างความยุติธรรมให้กับรายเล็กโดยการใช้กฏหมายและนโยบายครับแบบก้าวไกลเป็นต้น ไม่ใช่ปล่อยเลยตามเลยให้แข่งกันเอง 100%

ยกตัวอย่างวิ่งแข่งกัน CP แม่งมี supply chain พร้อมเรียบร้อยมีเส้นมีสายมีเงินทุน แมร่งออก start ก่อน 10 นาที พวกร้านอื่นไม่มี supply chain ของตัวเองไม่มีทุนเยอะเท่า แมร่งออกตัวหลัง CP 10 นาทีมันแฟร์ตรงไหนครับท่าน

ไม่ต้องไปโทษผู้บิรโภคครับ ผู้บริโภคมีสิทธิเลือกถูกแล้ว แต่รัฐต้องเป็นคนให้แต้มต่อเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคและให้แต้มต่อรายย่อยครับ ท่าน  


ท่านต้องไปหาความหมายการผูกขาดใหม่นะครับ

การผูกขาด ไม่ใช่ การทำให้สินค้ามันคุณภาพดีกว่าคนอื่น แล้ว ทำให้ลูกค้าไปซื้อนะครับ

ยกตัวอย่างการผูกขาด

1. น้ำประปา
2. การไฟฟ้า
3. ยาสูบ
4. การรถไฟ

monopoly หรือ การผูกขาด หมายถึง ลักษณะหนึ่งของตลาดผลผลิตที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ มีลักษณะโครงสร้างที่สำคัญคือ มีผู้ขายรายเดียว การเข้าสู่ตลาดทำได้ยาก ทำให้ผู้ผูกขาดมีอำนาจในการกำหนดราคาสินค้าหรือบริการของตน

เช่น ถ้าวันนี้ค่าไฟแพง ท่านทำอะไรได้ครับ นอกจากไม่ใช้ หรือ ผลิตไฟขึ้นเอง
ถ้าน้ำแพง ท่านทำอะไรได้ครับ นอกจากขุดบ่อบาดาลใช้เอง

ถ้าวันนี้สินค้าใน 7-11 แพง

ท่านก็แค่ เดินไป BigC Family Lawson แล้วก็ซื้อสินค้าที่ถูกกว่าครับ  

ถ้าท่านคิดว่า "ท่านก็แค่ เดินไป BigC Family Lawson แล้วก็ซื้อสินค้าที่ถูกกว่าครับ" ท่านก็ confirm เองแล้วว่า 7-11 มีทุกมุมไปง่ายกว่าที่อื่นมันไม่แฟร์เพราะมันสะดวกกว่าเจ้าอื่นเพราะมันมีทุนมีเส้นสายไปเปิดสาขาติดๆกันได้โดยไม่มีการควบคุม เพราะฉะนั้นต้องมีกฏหมายครับว่าร้านสะดวกซื้อเจ้านึงห้ามตั้งติดกันภานในรัศมีกี่กีโล  


มันก็ไม่ได้เรียกว่าผูกขาดไงครับ

แค่มีความสะดวกกว่า สาขามากกว่า

monopoly หรือ การผูกขาด หมายถึง ลักษณะหนึ่งของตลาดผลผลิตที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ มีลักษณะโครงสร้างที่สำคัญคือ มีผู้ขายรายเดียว การเข้าสู่ตลาดทำได้ยาก ทำให้ผู้ผูกขาดมีอำนาจในการกำหนดราคาสินค้าหรือบริการของตน

ยกตัวอย่างการผูกขาด

1. น้ำประปา
2. การไฟฟ้า
3. ยาสูบ
4. การรถไฟ

ขอให้อ่านตรงนี้อีกรอบครับ

ต้องเข้าใจคำว่า "ผูกขาด" กับ "กฎหมายควบคุม" นะครับ
แก้ไขล่าสุดโดย ไม่อยากกินต้มไก่ เมื่อ Wed May 17, 2023 20:49, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2, 3
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel