ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3, 4
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
โค้ช UEFA PRO-License
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 21935
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 14:53
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
chimiha พิมพ์ว่า:
GNR พิมพ์ว่า:
ผม ไม่ได้ดูคลิป นะ แต่คิดว่าเค้าไม่ได้มองอีกมุม ซึ่งเค้าจะไม่ได้คิดในจุดนี้ ว่า ถ้าค่าแรง ทั่วทั้งประเทศ มันเพิ่มขึ้น
กำลังซื้อก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน กาแฟ แก้วละ 60บาท ที่ปกติ มนุษย์เงินเดือนขึ้นไปถึงซื้อกินได้ ก็จะมี กลุ่มใช้แรงงานก็สามารถมาซื้อได้ หรือมนุษย์เงินเดือนที่เดิมที อาจนานๆซื้อที พอเงินเดือนเยอะขึ้น เข้าก็ซื้อของระดับนี้กินได้ทุกวัน ทำให้ยอดขายเค้าเพิ่ม




ขอยกตัวอย่าง บริษัทวาโก้ เจ้าของบอกว่า บริษัทเค้าขาดทุนจากนโยบายขึ้นค่าแรงสมัยยิ่งลักษณ์ ได้ผลกระทบมาก จนต้องหาทางปรับตัว แต่ปีต่อมา เค้าบอกว่า เค้าทำยอดขายได้สูงสุดตั้งแต่เปิดบริษัทเฉยเลย
เพราะ มันมีแรงซื้อที่มากขึ้น คนสามารถมีเงินมาจับจ่ายใช้สอยได้มากขึ้น

ผมเลยมองว่า ถ้าค่าแรงมันถูกปรับตามอัตตราที่เหมาะสมอยู่เสมอ จะเป็นเรื่องที่ดี ไม่ใช่ ทุกวันนี้ ข้าวจาน 30 บาท ผมหาซื้อไม่ได้แล้ว เพิ่มเป็น 40 ใส่ไข่ 45-50 ในขณะที่ค่าแรงเท่าเดิม  


โครตเห็นด้วยเลยครับ บางคนเขาคิดแค่ ขึ้นค่าแรงข้าวของก็ขึ้นราคาตาม แต่ไม่ได้คิดต่อว่ากำลังซื้อของคนส่วนใหญ่ก็เพิ่มขึ้นด้วย พอคนส่วนใหญ่มีกำลังซื้อเกินกว่าจะต้องจำกัดจำเขี่ยไว้ใช้แค่ให้รอดชีวิตไปวันๆ เขาจะเริ่มจับจ่ายใช้สอยหลากหลายมากขึ้น เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจได้อย่างดีเลย  





ใช่ครับ เทียบกับตัวเองง่ายๆ ตอนเรียนได้เงินจากที่บ้านไม่กี่พัน ผมคิดว่าใครมันจะกินสตาร์บัคทุกวันวะ ถ้าไม่ใช่พวกลูกคนรวย เงินเหลือเฟือ

พอทำงานเองก็ เออ เราก็มีเงินพอที่จะซื้อได้นี่หว่า สุดท้ายแล้วมันอยู่ที่รายรับของคนในสังคมด้วย

เหมือนท่าน GNR บอกข้างบนคนมีแรงซื้อที่มากขึ้นก็สามารถมีเงินมาจับจ่ายใช้สอยได้มากขึ้น
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แฟนพันธุ์แท้หนังAV
เจ้าของธุรกิจติ่ง SS
Status: It's Complicated
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 2626
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:01
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ท่านคิดตื้นไป ยังไม่ได้บวกหลายอย่างเลยครับ

รายได้ 500,000

โดน Vat ไป 35,000

ต้นทุนมันไม่ใช่แค่ 30% นะครับ มีค่าแก้ว ค่าแก๊สต้ม ค่าหลอด และอื่นๆ ผมตีไป 40% = 200,000 บาท (ซึ่งผมคิดว่ามากกว่านี้ ในมุมมองคนทำธุรกิจมาหลายอย่างแล้ว)

ค่าพนักงาน 90k ค่าคอมมิสชั่น ค่านู่นนี่นั่นต่างๆ ผมตีให้ไป 100,000 บาท

ค่าเช่าที่ ซึ่งตรงนั้น ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 100,000 แน่นอน ผมคิดว่า 150,000-200,000 บาท

ต้นทุนแฝงอีก 10% ก็ราวๆ 50,000 บาท

อันนี้ยังไม่ได้นับค่า GP ที่ Food Delivery เก็บนะครับ ราวๆ 30%

และยังไม่ได้คิดค่าน้ำ+ไฟฟ้าต่อเดือน

และยังไม่ได้คิดภาษีสิ้นปีนะครับ

รวมค่าใช้จ่าย 35,000+200,000+100,000+150,000+50000 = 535,000

อันนี้ยังไม่ได้รวมเงินเดือนผู้บริหารนะครับ

ค่าใช้จ่ายผมคิดว่าประมาณนี้แหละครับ

แต่ที่ท่านผิดอาจจะเป็นรายได้ ซึ่งน่าจะได้มากกว่านี้ค่อนข้างเยอะ

อาจจะไปแตะเดือนละ 1 ล้าน+ ครับ
แก้ไขล่าสุดโดย ไม่อยากกินต้มไก่ เมื่อ Mon Mar 13, 2023 15:02, ทั้งหมด 1 ครั้ง
3
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 27 Jan 2015
ตอบ: 4922
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:08
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ทำธุรกิจอะไรคะ ต้นทุน 30% อาหารเครื่องดื่มต้นทุนแพงกว่านั้น
อย่างแบร์เฮ้าซื้อและเช่าอาคารกลางเมือง มีที่ให้นั่งกิน นั่งเล่นได้ ไม่ได้เช่าบูธนะ
ต้นทุนแพงกว่าร้านอย่างชาตรามือหลายสิบเท่าด้วยซ้ำ
จะบอกว่าไม่ต้องทำหรอในเมื่อเป็นโมเดลธุรกิจของเขา ถ้าไม่ทำขนาดนี้อาจจะไม่ได้ยอด 300 แก้วเลย

เรื่องตัวเลขหนูว่าอย่าไปประเมิณเองเลยถ้าไม่ได้ลงมาทำธุรกิจเอง
อย่าง Amazon ลงทุนร้านเล็กๆยัง 2.5 ล้านบาท ยอดขายเฉลี่ยอยู่ที่ 250 แก้วเอง
ดูเหมือนเยอะ แต่วัตถุดิบซื้อมาผสมเองไม่ได้ด้วย ต้องทำตามสูตรเท่านั้นต้นทุนแพงกว่าที่คิด
แค่ค่าแก้ว พิมพ์ลายแก้วก็แพงแล้ว

และต้นทุนแปรผันอีกละคะ
ค่าน้ำ ค่าไฟ ขายเยอะก็มีต้นทุนเยอะขึ้น

ต้นทุนตายตัว
ค่าที่ ค่าอาคาร ค่ารัโนเวทตึก

ต้นทุนค่าการตลาดทำโปรโมชั่นอีก

ต้นทุนแฝงอีก
ภาษี ดอกเบี้ยที่กู้มาทำร้าน

หนูยังไม่ทราบว่ากิจการไหนต้นทุน 30% แล้วกำไร 70%
อีกอย่างแบร์เฮ้ายังไม่คืนทุนเลย ขาดทุนต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว  


ไม่แน่ใจว่าเอาข้อมูลขาดทุนมาจากตรงไหน แต่ผมเข้าไปดูงบการเงินมากำไรมาทุกปีนะ ยกเว้นปีก่อตั้ง ปี 64 กำไรสุทธิ 17% แหน่ะ กำไรขั้นต้นก็ตามนั้นแหละ 70%
แก้ไขล่าสุดโดย Before&After เมื่อ Mon Mar 13, 2023 15:10, ทั้งหมด 2 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 11 Feb 2017
ตอบ: 637
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:10
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ทำธุรกิจอะไรคะ ต้นทุน 30% อาหารเครื่องดื่มต้นทุนแพงกว่านั้น
อย่างแบร์เฮ้าซื้อและเช่าอาคารกลางเมือง มีที่ให้นั่งกิน นั่งเล่นได้ ไม่ได้เช่าบูธนะ
ต้นทุนแพงกว่าร้านอย่างชาตรามือหลายสิบเท่าด้วยซ้ำ
จะบอกว่าไม่ต้องทำหรอในเมื่อเป็นโมเดลธุรกิจของเขา ถ้าไม่ทำขนาดนี้อาจจะไม่ได้ยอด 300 แก้วเลย

เรื่องตัวเลขหนูว่าอย่าไปประเมิณเองเลยถ้าไม่ได้ลงมาทำธุรกิจเอง
อย่าง Amazon ลงทุนร้านเล็กๆยัง 2.5 ล้านบาท ยอดขายเฉลี่ยอยู่ที่ 250 แก้วเอง
ดูเหมือนเยอะ แต่วัตถุดิบซื้อมาผสมเองไม่ได้ด้วย ต้องทำตามสูตรเท่านั้นต้นทุนแพงกว่าที่คิด
แค่ค่าแก้ว พิมพ์ลายแก้วก็แพงแล้ว

และต้นทุนแปรผันอีกละคะ
ค่าน้ำ ค่าไฟ ขายเยอะก็มีต้นทุนเยอะขึ้น

ต้นทุนตายตัว
ค่าที่ ค่าอาคาร ค่ารัโนเวทตึก

ต้นทุนค่าการตลาดทำโปรโมชั่นอีก

ต้นทุนแฝงอีก
ภาษี ดอกเบี้ยที่กู้มาทำร้าน

หนูยังไม่ทราบว่ากิจการไหนต้นทุน 30% แล้วกำไร 70%
อีกอย่างแบร์เฮ้ายังไม่คืนทุนเลย ขาดทุนต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว  
 


โอ้โห ผมเข้าใจผิดไปเยอะเลย เปิดมาหลายปียังขาดทุนต่อเนื่องแบบนี้
ค่าแรงขั้นต่ำในปัจจุบัน 10590 ต่อเดือนของพนักงานในปัจจุบัน ร้านแบร์เฮ้าส์คงไม่สามารถ afford สิ่งนี้ได้
แบบนี้น่าจะทำได้แค่ลดเงินเดือนพนักงาน ปลดพนักงานแล้วล่ะ น่าสงสารมากๆ

 


ไม่ประชดซิคะพูดกันตามตรงไม่มีกิจการไหนที่มีต้นทุนแค่ 30% ของรายได้หรอกค่ะ
กิจการยังไม่ทำกำไร ในฐานะผู้บริหารคงไม่มีใครเดินกลยุทธ์ เพิ่มต้นทุนตัวเองอยู่แล้วค่ะ
แล้วลูกจ้างตามกฎหมายก็ไม่ได้มีแค่ค่าแรงขั้นต่ำ
ประกันสังคม ประกันกลุ่ม เครื่องแบบ เงินก็ขึ้นตามอายุงานอีก
แล้วเขาก็ไม่ได้บอกว่าจะปลดพนักงาน หรือลดเงินเดือน อย่าไปตอบแทนเขาเลยค่ะ

ที่หนูโควตคือ อย่าไปประเมินค่าใช้จ่ายคนอื่นเองว่าเขาต้องกำไรเยอะหรือเท่าไหร่
เพราะแต่ละกิจการมีรูปแบบการดำเนินธุรกิจที่แตกต่างกันไป



0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
contactme themasksoccer@gmail.com
ออฟไลน์
แฟนพันธุ์แท้หนังAV
เจ้าของธุรกิจติ่ง SS
Status: It's Complicated
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 2626
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:11
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
chimiha พิมพ์ว่า:
GNR พิมพ์ว่า:
ผม ไม่ได้ดูคลิป นะ แต่คิดว่าเค้าไม่ได้มองอีกมุม ซึ่งเค้าจะไม่ได้คิดในจุดนี้ ว่า ถ้าค่าแรง ทั่วทั้งประเทศ มันเพิ่มขึ้น
กำลังซื้อก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน กาแฟ แก้วละ 60บาท ที่ปกติ มนุษย์เงินเดือนขึ้นไปถึงซื้อกินได้ ก็จะมี กลุ่มใช้แรงงานก็สามารถมาซื้อได้ หรือมนุษย์เงินเดือนที่เดิมที อาจนานๆซื้อที พอเงินเดือนเยอะขึ้น เข้าก็ซื้อของระดับนี้กินได้ทุกวัน ทำให้ยอดขายเค้าเพิ่ม




ขอยกตัวอย่าง บริษัทวาโก้ เจ้าของบอกว่า บริษัทเค้าขาดทุนจากนโยบายขึ้นค่าแรงสมัยยิ่งลักษณ์ ได้ผลกระทบมาก จนต้องหาทางปรับตัว แต่ปีต่อมา เค้าบอกว่า เค้าทำยอดขายได้สูงสุดตั้งแต่เปิดบริษัทเฉยเลย
เพราะ มันมีแรงซื้อที่มากขึ้น คนสามารถมีเงินมาจับจ่ายใช้สอยได้มากขึ้น

ผมเลยมองว่า ถ้าค่าแรงมันถูกปรับตามอัตตราที่เหมาะสมอยู่เสมอ จะเป็นเรื่องที่ดี ไม่ใช่ ทุกวันนี้ ข้าวจาน 30 บาท ผมหาซื้อไม่ได้แล้ว เพิ่มเป็น 40 ใส่ไข่ 45-50 ในขณะที่ค่าแรงเท่าเดิม  


โครตเห็นด้วยเลยครับ บางคนเขาคิดแค่ ขึ้นค่าแรงข้าวของก็ขึ้นราคาตาม แต่ไม่ได้คิดต่อว่ากำลังซื้อของคนส่วนใหญ่ก็เพิ่มขึ้นด้วย พอคนส่วนใหญ่มีกำลังซื้อเกินกว่าจะต้องจำกัดจำเขี่ยไว้ใช้แค่ให้รอดชีวิตไปวันๆ เขาจะเริ่มจับจ่ายใช้สอยหลากหลายมากขึ้น เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจได้อย่างดีเลย  


มันขึ้นไปพร้อมกันครับ

เพราะฉะนั้น ค่าแรงท่านขึ้น ค่าแรงพนักงานร้านกาแฟ หรือ ร้านข้าวก็ต้องขึ้น

ร้านก็ต้องขึ้นค่าของ

ท่านต้องมองต่อไปด้วยว่า มันกระทบเป็นทอดๆ ท่านมีเงินเยอะขึ้นก็จริง

แต่ค่าใช้จ่ายมันก็จะเยอะตามไปด้วย

เช่น ถ้าเงินเดือนขั้นต่ำเพิ่มขึ้นเป็น 30,000 บาท ข้าวอาจจะจานละ 300 ก็ได้ครับ

มันไม่ใช่ว่า เงินเดือนเพิ่ม จะซื้อของได้มากขึ้น มันซื้อของได้เท่าเดิมแหละครับ

เพราะว่าทุกอย่างรอบตัวท่าน ก็จะเพิ่มราคาตามเงินเดือนขั้นต่ำ ที่เค้าจ้างลูกน้อง

สมมุติเงินเดือน 15,000 ข้าวจานละ 50 บาท แปลว่าเท่ากับท่านซื้อข้าวได้ 300 จาน

แต่ถ้าเงินเดือนเพิ่มเป็น 30,000 แล้วข้าวจานละ 100 บาท ท่านก็ซื้อข้าวได้เท่าเดิมคือ 300 จาน

พอจะเห็นภาพมั้ยครับ มันไม่ใช่ว่าเงินเพิ่ม แล้วจะมีกำลังจับจ่ายใช้สอยเพิ่ม

เพราะมันก็ซื้อข้าวได้ 300 จานอยู่ดี

วิธีที่จะแก้คือ รัฐบาลต้องจำกัดราคาสินค้าอุปโภค

เช่น ถ้าค่าหมู ค่าข้าว ค่าแก๊ส ค่าน้ำมัน ค่าเครื่องปรุง ค่าน้ำ ค่าไฟ ของแม่ค้าลดลง

เงินเดือน 15,000 แต่ข้าวเหลือจานละ 30 บาท แปลว่าเท่ากับท่านซื้อข้าวได้ 500 จาน

แบบนี้มันถึงจะมีการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้นครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
โค้ช UEFA PRO-License
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 21935
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:16
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
Spoil
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ท่านคิดตื้นไป ยังไม่ได้บวกหลายอย่างเลยครับ

รายได้ 500,000

โดน Vat ไป 35,000

ต้นทุนมันไม่ใช่แค่ 30% นะครับ มีค่าแก้ว ค่าแก๊สต้ม ค่าหลอด และอื่นๆ ผมตีไป 40% = 200,000 บาท (ซึ่งผมคิดว่ามากกว่านี้ ในมุมมองคนทำธุรกิจมาหลายอย่างแล้ว)

ค่าพนักงาน 90k ค่าคอมมิสชั่น ค่านู่นนี่นั่นต่างๆ ผมตีให้ไป 100,000 บาท

ค่าเช่าที่ ซึ่งตรงนั้น ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 100,000 แน่นอน ผมคิดว่า 150,000-200,000 บาท

ต้นทุนแฝงอีก 10% ก็ราวๆ 50,000 บาท

อันนี้ยังไม่ได้นับค่า GP ที่ Food Delivery เก็บนะครับ ราวๆ 30%

และยังไม่ได้คิดค่าน้ำ+ไฟฟ้าต่อเดือน

และยังไม่ได้คิดภาษีสิ้นปีนะครับ

รวมค่าใช้จ่าย 35,000+200,000+100,000+150,000+50000 = 535,000

อันนี้ยังไม่ได้รวมเงินเดือนผู้บริหารนะครับ

ค่าใช้จ่ายผมคิดว่าประมาณนี้แหละครับ

แต่ที่ท่านผิดอาจจะเป็นรายได้ ซึ่งน่าจะได้มากกว่านี้ค่อนข้างเยอะ

อาจจะไปแตะเดือนละ 1 ล้าน+ ครับ
 
 



นั่นแหละครับ ยิ่งพูดยิ่งใช่เลย เพราะ Cost จริงๆมันไม่ใช่ที่ค่าแรงพนักงานไงครับ

เอาตัวเลขที่ท่านคิดออกมาก็ได้ครับ คือตอนนี้เรากำลังพูดถึงค่าแรงขั้นต่ำอยู่ซึ่งเค้าบอกว่าถ้าเพิ่มมากกว่านี้ผู้ประกอบการอยู่ไม่ได้ อันนี้ผมไม่เห็นด้วย

ลองคิดดูเล่นๆ ตัวเลขเดิมทุกอย่างเลยตามที่ท่านบอกเลย ค่าแรงขั้นต่ำปัจจุบัน 350 บาทต่อวันเนี่ย ตีกลมๆเดือนละ 10k จ้างพนักงาน 5 คน ก็แค่ 50k คือ 10% ของ Cost ทั้งหมดถูกมั้ย? ซึ่งผมว่าปัจจุบันร้านเค้าก็ไม่ได้จ้างพนักงานในเรทเงินเดือน 10k อยู่แล้วมั้ง ถ้าขยับไป 68-90k ต่อเดือน


ดังนั้นคำถามคือถ้าเพิ่มค่าแรงเป็น 450, 600 บาท ตามนโยบายที่โฆษณากันอยู่เนี่ย มันทำให้ธุรกิจล้มจริงๆหรอ? ร้านไม่สามารถ Afford ค่าจ้างระดับ 450-600 บาทต่อวันให้พนักงานได้จริงหรือ?
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 27 Jan 2015
ตอบ: 4922
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:18
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
chimiha พิมพ์ว่า:
GNR พิมพ์ว่า:
ผม ไม่ได้ดูคลิป นะ แต่คิดว่าเค้าไม่ได้มองอีกมุม ซึ่งเค้าจะไม่ได้คิดในจุดนี้ ว่า ถ้าค่าแรง ทั่วทั้งประเทศ มันเพิ่มขึ้น
กำลังซื้อก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน กาแฟ แก้วละ 60บาท ที่ปกติ มนุษย์เงินเดือนขึ้นไปถึงซื้อกินได้ ก็จะมี กลุ่มใช้แรงงานก็สามารถมาซื้อได้ หรือมนุษย์เงินเดือนที่เดิมที อาจนานๆซื้อที พอเงินเดือนเยอะขึ้น เข้าก็ซื้อของระดับนี้กินได้ทุกวัน ทำให้ยอดขายเค้าเพิ่ม




ขอยกตัวอย่าง บริษัทวาโก้ เจ้าของบอกว่า บริษัทเค้าขาดทุนจากนโยบายขึ้นค่าแรงสมัยยิ่งลักษณ์ ได้ผลกระทบมาก จนต้องหาทางปรับตัว แต่ปีต่อมา เค้าบอกว่า เค้าทำยอดขายได้สูงสุดตั้งแต่เปิดบริษัทเฉยเลย
เพราะ มันมีแรงซื้อที่มากขึ้น คนสามารถมีเงินมาจับจ่ายใช้สอยได้มากขึ้น

ผมเลยมองว่า ถ้าค่าแรงมันถูกปรับตามอัตตราที่เหมาะสมอยู่เสมอ จะเป็นเรื่องที่ดี ไม่ใช่ ทุกวันนี้ ข้าวจาน 30 บาท ผมหาซื้อไม่ได้แล้ว เพิ่มเป็น 40 ใส่ไข่ 45-50 ในขณะที่ค่าแรงเท่าเดิม  


โครตเห็นด้วยเลยครับ บางคนเขาคิดแค่ ขึ้นค่าแรงข้าวของก็ขึ้นราคาตาม แต่ไม่ได้คิดต่อว่ากำลังซื้อของคนส่วนใหญ่ก็เพิ่มขึ้นด้วย พอคนส่วนใหญ่มีกำลังซื้อเกินกว่าจะต้องจำกัดจำเขี่ยไว้ใช้แค่ให้รอดชีวิตไปวันๆ เขาจะเริ่มจับจ่ายใช้สอยหลากหลายมากขึ้น เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจได้อย่างดีเลย  


มันขึ้นไปพร้อมกันครับ

เพราะฉะนั้น ค่าแรงท่านขึ้น ค่าแรงพนักงานร้านกาแฟ หรือ ร้านข้าวก็ต้องขึ้น

ร้านก็ต้องขึ้นค่าของ

ท่านต้องมองต่อไปด้วยว่า มันกระทบเป็นทอดๆ ท่านมีเงินเยอะขึ้นก็จริง

แต่ค่าใช้จ่ายมันก็จะเยอะตามไปด้วย

เช่น ถ้าเงินเดือนขั้นต่ำเพิ่มขึ้นเป็น 30,000 บาท ข้าวอาจจะจานละ 300 ก็ได้ครับ

มันไม่ใช่ว่า เงินเดือนเพิ่ม จะซื้อของได้มากขึ้น มันซื้อของได้เท่าเดิมแหละครับ

เพราะว่าทุกอย่างรอบตัวท่าน ก็จะเพิ่มราคาตามเงินเดือนขั้นต่ำ ที่เค้าจ้างลูกน้อง

สมมุติเงินเดือน 15,000 ข้าวจานละ 50 บาท แปลว่าเท่ากับท่านซื้อข้าวได้ 300 จาน

แต่ถ้าเงินเดือนเพิ่มเป็น 30,000 แล้วข้าวจานละ 100 บาท ท่านก็ซื้อข้าวได้เท่าเดิมคือ 300 จาน

พอจะเห็นภาพมั้ยครับ มันไม่ใช่ว่าเงินเพิ่ม แล้วจะมีกำลังจับจ่ายใช้สอยเพิ่ม

เพราะมันก็ซื้อข้าวได้ 300 จานอยู่ดี

วิธีที่จะแก้คือ รัฐบาลต้องจำกัดราคาสินค้าอุปโภค

เช่น ถ้าค่าหมู ค่าข้าว ค่าแก๊ส ค่าน้ำมัน ค่าเครื่องปรุง ค่าน้ำ ค่าไฟ ของแม่ค้าลดลง

เงินเดือน 15,000 แต่ข้าวเหลือจานละ 30 บาท แปลว่าเท่ากับท่านซื้อข้าวได้ 500 จาน

แบบนี้มันถึงจะมีการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้นครับ  


จำกัดงี้ผู้ผลิตไม่ตายกันพอดีหรอครับ จริงๆตามหลักไม่ควรบิดเบือนราคาสินค้าใดๆทั้งสิ้น ถ้าจะบิดเบือนราคาสินค้าก็ควรทำในสิ่งที่รัฐเป็นเจ้าของกิจการ ฟาร์มหมูฟาร์มไก่ พอขึ้นค่าแรง เค้าก็มีแรงงานของเค้ามันก็ต้องขึ้นตาม แต่ท่านไปกำหนดราคางี้ผู้ผลิตก็ตายสิครับ ต่อไปไม่มีใครทำ ทางที่ถูกต้องคือรัฐต้องอำนวยความสะดวกในการทำธุรกิจทำให้ต้นทุนต่ำลง สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี บลาๆๆ หรืออีกอย่างง่ายสุดคือแจกเงินให้ผู้บริโภค
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
โค้ช UEFA PRO-License
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 21935
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:27
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ทำธุรกิจอะไรคะ ต้นทุน 30% อาหารเครื่องดื่มต้นทุนแพงกว่านั้น
อย่างแบร์เฮ้าซื้อและเช่าอาคารกลางเมือง มีที่ให้นั่งกิน นั่งเล่นได้ ไม่ได้เช่าบูธนะ
ต้นทุนแพงกว่าร้านอย่างชาตรามือหลายสิบเท่าด้วยซ้ำ
จะบอกว่าไม่ต้องทำหรอในเมื่อเป็นโมเดลธุรกิจของเขา ถ้าไม่ทำขนาดนี้อาจจะไม่ได้ยอด 300 แก้วเลย

เรื่องตัวเลขหนูว่าอย่าไปประเมิณเองเลยถ้าไม่ได้ลงมาทำธุรกิจเอง
อย่าง Amazon ลงทุนร้านเล็กๆยัง 2.5 ล้านบาท ยอดขายเฉลี่ยอยู่ที่ 250 แก้วเอง
ดูเหมือนเยอะ แต่วัตถุดิบซื้อมาผสมเองไม่ได้ด้วย ต้องทำตามสูตรเท่านั้นต้นทุนแพงกว่าที่คิด
แค่ค่าแก้ว พิมพ์ลายแก้วก็แพงแล้ว

และต้นทุนแปรผันอีกละคะ
ค่าน้ำ ค่าไฟ ขายเยอะก็มีต้นทุนเยอะขึ้น

ต้นทุนตายตัว
ค่าที่ ค่าอาคาร ค่ารัโนเวทตึก

ต้นทุนค่าการตลาดทำโปรโมชั่นอีก

ต้นทุนแฝงอีก
ภาษี ดอกเบี้ยที่กู้มาทำร้าน

หนูยังไม่ทราบว่ากิจการไหนต้นทุน 30% แล้วกำไร 70%
อีกอย่างแบร์เฮ้ายังไม่คืนทุนเลย ขาดทุนต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว  
 


โอ้โห ผมเข้าใจผิดไปเยอะเลย เปิดมาหลายปียังขาดทุนต่อเนื่องแบบนี้
ค่าแรงขั้นต่ำในปัจจุบัน 10590 ต่อเดือนของพนักงานในปัจจุบัน ร้านแบร์เฮ้าส์คงไม่สามารถ afford สิ่งนี้ได้
แบบนี้น่าจะทำได้แค่ลดเงินเดือนพนักงาน ปลดพนักงานแล้วล่ะ น่าสงสารมากๆ

 


ไม่ประชดซิคะพูดกันตามตรงไม่มีกิจการไหนที่มีต้นทุนแค่ 30% ของรายได้หรอกค่ะ
กิจการยังไม่ทำกำไร ในฐานะผู้บริหารคงไม่มีใครเดินกลยุทธ์ เพิ่มต้นทุนตัวเองอยู่แล้วค่ะ
แล้วลูกจ้างตามกฎหมายก็ไม่ได้มีแค่ค่าแรงขั้นต่ำ
ประกันสังคม ประกันกลุ่ม เครื่องแบบ เงินก็ขึ้นตามอายุงานอีก
แล้วเขาก็ไม่ได้บอกว่าจะปลดพนักงาน หรือลดเงินเดือน อย่าไปตอบแทนเขาเลยค่ะ

ที่หนูโควตคือ อย่าไปประเมินค่าใช้จ่ายคนอื่นเองว่าเขาต้องกำไรเยอะหรือเท่าไหร่
เพราะแต่ละกิจการมีรูปแบบการดำเนินธุรกิจที่แตกต่างกันไป



 



เหมือนอ่านไม่เข้าใจประเด็นของกระทู้นี้นะ คำถามค่าต้นทุนค่าจ้างพนักงานต่อวัน เอาแค่ค่าจ้างเลยนะ มันกี่ %?

เพราะตรงส่วนอื่นไม่ว่าจะปรับขึ้นหรือลดมันไม่ได้มี Affect โดยตรงอะไรกับการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเลย

แล้วถ้าค่าแรงขั้นต่ำปรับตามนโยบาย Cost จะเพิ่มมาจนร้านอยู่ไม่ได้จริงหรือ? (ถ้าจะโควตต่อตอบอันนี้ด้วยนะ)



ซึ่งผมไม่ได้บอกว่ามันกำไร 70% แต่ผมตัดต้นทุนการผลิตออกไป 30% ไม่ได้รวมค่าเสื่อม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

ที่จะคิดเพื่อจะแสดงให้เห็นว่ามันต้องมีกำไรมากพอที่พนักงานจะจ่ายเงินพนักงานระดับ 450-600 บาทต่อวัน



จะบอกว่าผมประเมินค่าใช้จ่ายกำไรผิดก็ไม่แปลก ผมไม่ใช่เจ้าของธุรกิจเค้านี่ ผมจำไปรู้ตัวเลขเป๊ะๆได้ไง

แล้วร้านเค้าไม่ได้จ้างพนักงาน 5 คนอยู่แล้ว ผมยกตัวอย่างเฉยๆ ผมไม่ได้คิดแทนเค้า แต่คุณที่ไล่มาเป็น Story เลยว่าเค้าขาดทุนนี่ตอบเหมือนเป็นเจ้าของร้านอ่ะนะ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 11 Feb 2017
ตอบ: 637
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:35
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
อ้างอิงจาก:
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ทำธุรกิจอะไรคะ ต้นทุน 30% อาหารเครื่องดื่มต้นทุนแพงกว่านั้น
อย่างแบร์เฮ้าซื้อและเช่าอาคารกลางเมือง มีที่ให้นั่งกิน นั่งเล่นได้ ไม่ได้เช่าบูธนะ
ต้นทุนแพงกว่าร้านอย่างชาตรามือหลายสิบเท่าด้วยซ้ำ
จะบอกว่าไม่ต้องทำหรอในเมื่อเป็นโมเดลธุรกิจของเขา ถ้าไม่ทำขนาดนี้อาจจะไม่ได้ยอด 300 แก้วเลย

เรื่องตัวเลขหนูว่าอย่าไปประเมิณเองเลยถ้าไม่ได้ลงมาทำธุรกิจเอง
อย่าง Amazon ลงทุนร้านเล็กๆยัง 2.5 ล้านบาท ยอดขายเฉลี่ยอยู่ที่ 250 แก้วเอง
ดูเหมือนเยอะ แต่วัตถุดิบซื้อมาผสมเองไม่ได้ด้วย ต้องทำตามสูตรเท่านั้นต้นทุนแพงกว่าที่คิด
แค่ค่าแก้ว พิมพ์ลายแก้วก็แพงแล้ว

และต้นทุนแปรผันอีกละคะ
ค่าน้ำ ค่าไฟ ขายเยอะก็มีต้นทุนเยอะขึ้น

ต้นทุนตายตัว
ค่าที่ ค่าอาคาร ค่ารัโนเวทตึก

ต้นทุนค่าการตลาดทำโปรโมชั่นอีก

ต้นทุนแฝงอีก
ภาษี ดอกเบี้ยที่กู้มาทำร้าน

หนูยังไม่ทราบว่ากิจการไหนต้นทุน 30% แล้วกำไร 70%
อีกอย่างแบร์เฮ้ายังไม่คืนทุนเลย ขาดทุนต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว  
 


โอ้โห ผมเข้าใจผิดไปเยอะเลย เปิดมาหลายปียังขาดทุนต่อเนื่องแบบนี้
ค่าแรงขั้นต่ำในปัจจุบัน 10590 ต่อเดือนของพนักงานในปัจจุบัน ร้านแบร์เฮ้าส์คงไม่สามารถ afford สิ่งนี้ได้
แบบนี้น่าจะทำได้แค่ลดเงินเดือนพนักงาน ปลดพนักงานแล้วล่ะ น่าสงสารมากๆ

 


ไม่ประชดซิคะพูดกันตามตรงไม่มีกิจการไหนที่มีต้นทุนแค่ 30% ของรายได้หรอกค่ะ
กิจการยังไม่ทำกำไร ในฐานะผู้บริหารคงไม่มีใครเดินกลยุทธ์ เพิ่มต้นทุนตัวเองอยู่แล้วค่ะ
แล้วลูกจ้างตามกฎหมายก็ไม่ได้มีแค่ค่าแรงขั้นต่ำ
ประกันสังคม ประกันกลุ่ม เครื่องแบบ เงินก็ขึ้นตามอายุงานอีก
แล้วเขาก็ไม่ได้บอกว่าจะปลดพนักงาน หรือลดเงินเดือน อย่าไปตอบแทนเขาเลยค่ะ

ที่หนูโควตคือ อย่าไปประเมินค่าใช้จ่ายคนอื่นเองว่าเขาต้องกำไรเยอะหรือเท่าไหร่
เพราะแต่ละกิจการมีรูปแบบการดำเนินธุรกิจที่แตกต่างกันไป



 



เหมือนอ่านไม่เข้าใจประเด็นของกระทู้นี้นะ คำถามค่าต้นทุนค่าจ้างพนักงานต่อวัน เอาแค่ค่าจ้างเลยนะ มันกี่ %?

เพราะตรงส่วนอื่นไม่ว่าจะปรับขึ้นหรือลดมันไม่ได้มี Affect โดยตรงอะไรกับการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเลย

แล้วถ้าค่าแรงขั้นต่ำปรับตามนโยบาย Cost จะเพิ่มมาจนร้านอยู่ไม่ได้จริงหรือ? (ถ้าจะโควตต่อตอบอันนี้ด้วยนะ)

ซึ่งผมไม่ได้บอกว่ามันกำไร 70% แต่ผมตัดต้นทุนการผลิตออกไป 30% ไม่ได้รวมค่าเสื่อม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ที่จะคิดเพื่อจะแสดงให้เห็นว่ามันต้องมีกำไรมากพอที่พนักงานจะจ่ายเงินพนักงานระดับ 450-600 บาทต่อวัน

จะบอกว่าผมประเมินค่าใช้จ่ายกำไรผิดก็ไม่แปลก ผมไม่ใช่เจ้าของธุรกิจเค้านี่ ผมจำไปรู้ตัวเลขเป๊ะๆได้ไง

แล้วร้านเค้าไม่ได้จ้างพนักงาน 5 คนอยู่แล้ว ผมยกตัวอย่างเฉยๆ ผมไม่ได้คิดแทนเค้า แต่คุณที่ไล่มาเป็น Story เลยว่าเค้าขาดทุนนี่ตอบเหมือนเป็นเจ้าของร้านอ่ะนะ  
 
 



กิจการเขาไม่ล้มเพราะขึ้นเงินเดือนพนักงานอยู่แล้วคะ ต่อให้จ่ายวันละพันบาทต่อวันเขาก็ไม่เจ๊งหรอกค่ะ ตอบตรงๆ ไม่ใช่แค่ธุรกิจนี้ทุกกิจการก็ทำได้ขึ้นเงินให้ 2 เท่าก็ได้ ถ้าผลของการลงเงินตรงนี้แล้วทำให้กิจการเติบโตขึ้น

แต่ในมุมมองนักลงทุน หรือผู้ประกอบการ ยังไม่ใช่จุดที่จะไปลงทุนตรงนั้นค่ะ
เพราะอะไร
1 กิจการยังโตได้อีก ต้องไปลงทุนเพิ่มสาขา
2 ต้องเขาเงินไปใช้หนี้ อย่างแบร์เฮ้าส์มีหน้าอยู่ 35 ล้าน เพราะการขยายสาขา
3 ต้องหาเงินไปคืนนักลงทุน อันนี้สำคัญเพราะกิจการโตได้เพราะเงินลงทุน

ถ้าไม่ลงทุนขยายสาขาทำได้ไหม ก็ได้แต่เขาก็จะเสียความสามารถในการแข่งขันไป ถ้ามีเจ้าอื่นมาแย่งตลาดไป




แก้ไขล่าสุดโดย themasksocccer เมื่อ Mon Mar 13, 2023 15:38, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
contactme themasksoccer@gmail.com
ออฟไลน์
โค้ช UEFA PRO-License
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 21935
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:45
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
อ้างอิงจาก:
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ทำธุรกิจอะไรคะ ต้นทุน 30% อาหารเครื่องดื่มต้นทุนแพงกว่านั้น
อย่างแบร์เฮ้าซื้อและเช่าอาคารกลางเมือง มีที่ให้นั่งกิน นั่งเล่นได้ ไม่ได้เช่าบูธนะ
ต้นทุนแพงกว่าร้านอย่างชาตรามือหลายสิบเท่าด้วยซ้ำ
จะบอกว่าไม่ต้องทำหรอในเมื่อเป็นโมเดลธุรกิจของเขา ถ้าไม่ทำขนาดนี้อาจจะไม่ได้ยอด 300 แก้วเลย

เรื่องตัวเลขหนูว่าอย่าไปประเมิณเองเลยถ้าไม่ได้ลงมาทำธุรกิจเอง
อย่าง Amazon ลงทุนร้านเล็กๆยัง 2.5 ล้านบาท ยอดขายเฉลี่ยอยู่ที่ 250 แก้วเอง
ดูเหมือนเยอะ แต่วัตถุดิบซื้อมาผสมเองไม่ได้ด้วย ต้องทำตามสูตรเท่านั้นต้นทุนแพงกว่าที่คิด
แค่ค่าแก้ว พิมพ์ลายแก้วก็แพงแล้ว

และต้นทุนแปรผันอีกละคะ
ค่าน้ำ ค่าไฟ ขายเยอะก็มีต้นทุนเยอะขึ้น

ต้นทุนตายตัว
ค่าที่ ค่าอาคาร ค่ารัโนเวทตึก

ต้นทุนค่าการตลาดทำโปรโมชั่นอีก

ต้นทุนแฝงอีก
ภาษี ดอกเบี้ยที่กู้มาทำร้าน

หนูยังไม่ทราบว่ากิจการไหนต้นทุน 30% แล้วกำไร 70%
อีกอย่างแบร์เฮ้ายังไม่คืนทุนเลย ขาดทุนต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว  
 


โอ้โห ผมเข้าใจผิดไปเยอะเลย เปิดมาหลายปียังขาดทุนต่อเนื่องแบบนี้
ค่าแรงขั้นต่ำในปัจจุบัน 10590 ต่อเดือนของพนักงานในปัจจุบัน ร้านแบร์เฮ้าส์คงไม่สามารถ afford สิ่งนี้ได้
แบบนี้น่าจะทำได้แค่ลดเงินเดือนพนักงาน ปลดพนักงานแล้วล่ะ น่าสงสารมากๆ

 


ไม่ประชดซิคะพูดกันตามตรงไม่มีกิจการไหนที่มีต้นทุนแค่ 30% ของรายได้หรอกค่ะ
กิจการยังไม่ทำกำไร ในฐานะผู้บริหารคงไม่มีใครเดินกลยุทธ์ เพิ่มต้นทุนตัวเองอยู่แล้วค่ะ
แล้วลูกจ้างตามกฎหมายก็ไม่ได้มีแค่ค่าแรงขั้นต่ำ
ประกันสังคม ประกันกลุ่ม เครื่องแบบ เงินก็ขึ้นตามอายุงานอีก
แล้วเขาก็ไม่ได้บอกว่าจะปลดพนักงาน หรือลดเงินเดือน อย่าไปตอบแทนเขาเลยค่ะ

ที่หนูโควตคือ อย่าไปประเมินค่าใช้จ่ายคนอื่นเองว่าเขาต้องกำไรเยอะหรือเท่าไหร่
เพราะแต่ละกิจการมีรูปแบบการดำเนินธุรกิจที่แตกต่างกันไป



 



เหมือนอ่านไม่เข้าใจประเด็นของกระทู้นี้นะ คำถามค่าต้นทุนค่าจ้างพนักงานต่อวัน เอาแค่ค่าจ้างเลยนะ มันกี่ %?

เพราะตรงส่วนอื่นไม่ว่าจะปรับขึ้นหรือลดมันไม่ได้มี Affect โดยตรงอะไรกับการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเลย

แล้วถ้าค่าแรงขั้นต่ำปรับตามนโยบาย Cost จะเพิ่มมาจนร้านอยู่ไม่ได้จริงหรือ? (ถ้าจะโควตต่อตอบอันนี้ด้วยนะ)

ซึ่งผมไม่ได้บอกว่ามันกำไร 70% แต่ผมตัดต้นทุนการผลิตออกไป 30% ไม่ได้รวมค่าเสื่อม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ที่จะคิดเพื่อจะแสดงให้เห็นว่ามันต้องมีกำไรมากพอที่พนักงานจะจ่ายเงินพนักงานระดับ 450-600 บาทต่อวัน

จะบอกว่าผมประเมินค่าใช้จ่ายกำไรผิดก็ไม่แปลก ผมไม่ใช่เจ้าของธุรกิจเค้านี่ ผมจำไปรู้ตัวเลขเป๊ะๆได้ไง

แล้วร้านเค้าไม่ได้จ้างพนักงาน 5 คนอยู่แล้ว ผมยกตัวอย่างเฉยๆ ผมไม่ได้คิดแทนเค้า แต่คุณที่ไล่มาเป็น Story เลยว่าเค้าขาดทุนนี่ตอบเหมือนเป็นเจ้าของร้านอ่ะนะ  
 
 



กิจการเขาไม่ล้มเพราะขึ้นเงินเดือนพนักงานอยู่แล้วคะ ต่อให้จ่ายวันละพันบาทต่อวันเขาก็ไม่เจ๊งหรอกค่ะ ตอบตรงๆ

แต่ในมุมมองนักลงทุน หรือผู้ประกอบการ ยังไม่ใช่จุดที่จะไปลงทุนตรงนั้นค่ะ
เพราะอะไร
1 กิจการยังโตได้อีก ต้องไปลงทุนเพิ่มสาขา
2 ต้องเขาเงินไปใช้หนี้ อย่างแบร์เฮ้าส์มีหน้าอยู่ 35 ล้าน เพราะการขยายสาขา
3 ต้องหาเงินไปคืนนักลงทุน อันนี้สำคัญเพราะกิจการโตได้เพราะเงินลงทุน

ถ้าไม่ลงทุนขยายสาขาทำได้ไหม ก็ได้แต่เขาก็จะเสียความสามารถในการแข่งขันไป ถ้ามีเจ้าอื่นมาแย่งตลาดไป



 



ก็นั่นไงครับ สุดท้ายค่าใช้จ่ายต่างๆที่มันสูงเนี่ย มันไม่ได้มาจากค่าจ้างพนักงานถูกต้องมั้ย?

ซึ่งผมก็คิดว่าเค้าไม่ได้จ้างพนักงานด้วยค่าแรงขั้นต่ำแบบตอนนี้ด้วยซ้ำ แบบค่าจ้าง 10k ต่อเดือนในกรณีทำงาน 30 วันต่อเดือน ผมว่าสูงกว่านั้นอยู่แล้ว (ถ้าคิดวันทำงาน 5 วัน/สัปดาห์ก็ 8k ต่อเดือน)


ดังนั้นการมาตีโพยตีพายเรื่องนโยบายค่าแรงขั้นต่ำเนี่ย ว่าธุรกิจจะเจ๊ง อยู่ไม่ได้ เป็นภาระผู้ประกอบการ บลาๆๆๆ

มันเมคเซนส์มั้ยล่ะ?

อย่างที่คำตอบข้างบนๆบอก เมื่อคนมีรายได้สูงมากขึ้น มันก็มีกำลังจ่ายมากขึ้น เผลอๆร้านก็จะได้ประโยชน์จากการที่ลูกค้าเยอะขึ้น ได้กำไรมากขึ้นก็ได้เหมือนกัน

หรือง่ายๆลองคิดกลับกันว่าลดค่าจ้างขั้นต่ำลง เหลือซัก 200 บาท คุณว่าชานมจะขายได้เท่าเดิมมั้ยล่ะ?

Cost คุณลดลงนะ แต่คิดว่ารายได้จะเท่าเดิมมั้ย?
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แฟนพันธุ์แท้หนังAV
เจ้าของธุรกิจติ่ง SS
Status: It's Complicated
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 2626
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:54
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ท่านคิดตื้นไป ยังไม่ได้บวกหลายอย่างเลยครับ

รายได้ 500,000

โดน Vat ไป 35,000

ต้นทุนมันไม่ใช่แค่ 30% นะครับ มีค่าแก้ว ค่าแก๊สต้ม ค่าหลอด และอื่นๆ ผมตีไป 40% = 200,000 บาท (ซึ่งผมคิดว่ามากกว่านี้ ในมุมมองคนทำธุรกิจมาหลายอย่างแล้ว)

ค่าพนักงาน 90k ค่าคอมมิสชั่น ค่านู่นนี่นั่นต่างๆ ผมตีให้ไป 100,000 บาท

ค่าเช่าที่ ซึ่งตรงนั้น ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 100,000 แน่นอน ผมคิดว่า 150,000-200,000 บาท

ต้นทุนแฝงอีก 10% ก็ราวๆ 50,000 บาท

อันนี้ยังไม่ได้นับค่า GP ที่ Food Delivery เก็บนะครับ ราวๆ 30%

และยังไม่ได้คิดค่าน้ำ+ไฟฟ้าต่อเดือน

และยังไม่ได้คิดภาษีสิ้นปีนะครับ

รวมค่าใช้จ่าย 35,000+200,000+100,000+150,000+50000 = 535,000

อันนี้ยังไม่ได้รวมเงินเดือนผู้บริหารนะครับ

ค่าใช้จ่ายผมคิดว่าประมาณนี้แหละครับ

แต่ที่ท่านผิดอาจจะเป็นรายได้ ซึ่งน่าจะได้มากกว่านี้ค่อนข้างเยอะ

อาจจะไปแตะเดือนละ 1 ล้าน+ ครับ
 
 



นั่นแหละครับ ยิ่งพูดยิ่งใช่เลย เพราะ Cost จริงๆมันไม่ใช่ที่ค่าแรงพนักงานไงครับ

เอาตัวเลขที่ท่านคิดออกมาก็ได้ครับ คือตอนนี้เรากำลังพูดถึงค่าแรงขั้นต่ำอยู่ซึ่งเค้าบอกว่าถ้าเพิ่มมากกว่านี้ผู้ประกอบการอยู่ไม่ได้ อันนี้ผมไม่เห็นด้วย

ลองคิดดูเล่นๆ ตัวเลขเดิมทุกอย่างเลยตามที่ท่านบอกเลย ค่าแรงขั้นต่ำปัจจุบัน 350 บาทต่อวันเนี่ย ตีกลมๆเดือนละ 10k จ้างพนักงาน 5 คน ก็แค่ 50k คือ 10% ของ Cost ทั้งหมดถูกมั้ย? ซึ่งผมว่าปัจจุบันร้านเค้าก็ไม่ได้จ้างพนักงานในเรทเงินเดือน 10k อยู่แล้วมั้ง ถ้าขยับไป 68-90k ต่อเดือน


ดังนั้นคำถามคือถ้าเพิ่มค่าแรงเป็น 450, 600 บาท ตามนโยบายที่โฆษณากันอยู่เนี่ย มันทำให้ธุรกิจล้มจริงๆหรอ? ร้านไม่สามารถ Afford ค่าจ้างระดับ 450-600 บาทต่อวันให้พนักงานได้จริงหรือ?  


ธุรกิจไม่ล้มหรอกครับ

เค้าก็แค่ขึ้นราคาของ ให้เหมาะสมกับค่าใช้จ่ายที่เค้ามี

สมมุติเค้าจ่าย 50k คิดเป็น 10% ของยอดขายทั้งหมด 500,000 บาท

แปลว่าถ้าเค้าขยับเป้น 68-90k ยอดขายเค้าก็ต้องเป็น 680,000-900,000 บาท

ถ้าสมมุติขายจำนวนแก้วได้เท่าเดิม เค้าก็ต้องเพิ่มราคาไงครับ

เป็นแก้วละ 75-100 บาท

ทำให้ของมันก็จะแพงขึ้น ไม่ใช่แค่ร้านนี้ แต่ทั่วประเทศ

ดังนั้นวิธีแก้ มันไม่ใช่การเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ

แต่รัฐต้องกดราคาสินค้าอุปโภคบริโภคพื้นฐาน ให้มันต่ำ

เช่น เงินเดือน 15,000 ข้าวจานละ 50 บาท จะซื้อข้าวได้ 300 จาน

แต่ถ้าเอาแต่เพิ่มเงินเดือนขั้นต่ำ เงินเดือนท่านเพิ่มจริง แต่เงินเดือนพนักงานร้านข้าวก็เพิ่มด้วย ร้านข้าวก็ต้องขยับราคาด้วย

เช่น เงินเดือน 30,000 บาท ข้าวก็อาจจะขึ้นเป็นจานละ 100 บาท จะซื้อข้าวได้ 300 จานเท่าเดิม

เห็นมั้ยครับว่า การเพิ่มเงินเดือนขั้นต่ำ มันไม่ได้ทำให้การจับจ่ายใช้สอยเพิ่มขึ้นเลย
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 11 Feb 2017
ตอบ: 637
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 15:59
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
อ้างอิงจาก:
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ทำธุรกิจอะไรคะ ต้นทุน 30% อาหารเครื่องดื่มต้นทุนแพงกว่านั้น
อย่างแบร์เฮ้าซื้อและเช่าอาคารกลางเมือง มีที่ให้นั่งกิน นั่งเล่นได้ ไม่ได้เช่าบูธนะ
ต้นทุนแพงกว่าร้านอย่างชาตรามือหลายสิบเท่าด้วยซ้ำ
จะบอกว่าไม่ต้องทำหรอในเมื่อเป็นโมเดลธุรกิจของเขา ถ้าไม่ทำขนาดนี้อาจจะไม่ได้ยอด 300 แก้วเลย

เรื่องตัวเลขหนูว่าอย่าไปประเมิณเองเลยถ้าไม่ได้ลงมาทำธุรกิจเอง
อย่าง Amazon ลงทุนร้านเล็กๆยัง 2.5 ล้านบาท ยอดขายเฉลี่ยอยู่ที่ 250 แก้วเอง
ดูเหมือนเยอะ แต่วัตถุดิบซื้อมาผสมเองไม่ได้ด้วย ต้องทำตามสูตรเท่านั้นต้นทุนแพงกว่าที่คิด
แค่ค่าแก้ว พิมพ์ลายแก้วก็แพงแล้ว

และต้นทุนแปรผันอีกละคะ
ค่าน้ำ ค่าไฟ ขายเยอะก็มีต้นทุนเยอะขึ้น

ต้นทุนตายตัว
ค่าที่ ค่าอาคาร ค่ารัโนเวทตึก

ต้นทุนค่าการตลาดทำโปรโมชั่นอีก

ต้นทุนแฝงอีก
ภาษี ดอกเบี้ยที่กู้มาทำร้าน

หนูยังไม่ทราบว่ากิจการไหนต้นทุน 30% แล้วกำไร 70%
อีกอย่างแบร์เฮ้ายังไม่คืนทุนเลย ขาดทุนต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว  
 


โอ้โห ผมเข้าใจผิดไปเยอะเลย เปิดมาหลายปียังขาดทุนต่อเนื่องแบบนี้
ค่าแรงขั้นต่ำในปัจจุบัน 10590 ต่อเดือนของพนักงานในปัจจุบัน ร้านแบร์เฮ้าส์คงไม่สามารถ afford สิ่งนี้ได้
แบบนี้น่าจะทำได้แค่ลดเงินเดือนพนักงาน ปลดพนักงานแล้วล่ะ น่าสงสารมากๆ

 


ไม่ประชดซิคะพูดกันตามตรงไม่มีกิจการไหนที่มีต้นทุนแค่ 30% ของรายได้หรอกค่ะ
กิจการยังไม่ทำกำไร ในฐานะผู้บริหารคงไม่มีใครเดินกลยุทธ์ เพิ่มต้นทุนตัวเองอยู่แล้วค่ะ
แล้วลูกจ้างตามกฎหมายก็ไม่ได้มีแค่ค่าแรงขั้นต่ำ
ประกันสังคม ประกันกลุ่ม เครื่องแบบ เงินก็ขึ้นตามอายุงานอีก
แล้วเขาก็ไม่ได้บอกว่าจะปลดพนักงาน หรือลดเงินเดือน อย่าไปตอบแทนเขาเลยค่ะ

ที่หนูโควตคือ อย่าไปประเมินค่าใช้จ่ายคนอื่นเองว่าเขาต้องกำไรเยอะหรือเท่าไหร่
เพราะแต่ละกิจการมีรูปแบบการดำเนินธุรกิจที่แตกต่างกันไป



 



เหมือนอ่านไม่เข้าใจประเด็นของกระทู้นี้นะ คำถามค่าต้นทุนค่าจ้างพนักงานต่อวัน เอาแค่ค่าจ้างเลยนะ มันกี่ %?

เพราะตรงส่วนอื่นไม่ว่าจะปรับขึ้นหรือลดมันไม่ได้มี Affect โดยตรงอะไรกับการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเลย

แล้วถ้าค่าแรงขั้นต่ำปรับตามนโยบาย Cost จะเพิ่มมาจนร้านอยู่ไม่ได้จริงหรือ? (ถ้าจะโควตต่อตอบอันนี้ด้วยนะ)

ซึ่งผมไม่ได้บอกว่ามันกำไร 70% แต่ผมตัดต้นทุนการผลิตออกไป 30% ไม่ได้รวมค่าเสื่อม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ที่จะคิดเพื่อจะแสดงให้เห็นว่ามันต้องมีกำไรมากพอที่พนักงานจะจ่ายเงินพนักงานระดับ 450-600 บาทต่อวัน

จะบอกว่าผมประเมินค่าใช้จ่ายกำไรผิดก็ไม่แปลก ผมไม่ใช่เจ้าของธุรกิจเค้านี่ ผมจำไปรู้ตัวเลขเป๊ะๆได้ไง

แล้วร้านเค้าไม่ได้จ้างพนักงาน 5 คนอยู่แล้ว ผมยกตัวอย่างเฉยๆ ผมไม่ได้คิดแทนเค้า แต่คุณที่ไล่มาเป็น Story เลยว่าเค้าขาดทุนนี่ตอบเหมือนเป็นเจ้าของร้านอ่ะนะ  
 
 



กิจการเขาไม่ล้มเพราะขึ้นเงินเดือนพนักงานอยู่แล้วคะ ต่อให้จ่ายวันละพันบาทต่อวันเขาก็ไม่เจ๊งหรอกค่ะ ตอบตรงๆ

แต่ในมุมมองนักลงทุน หรือผู้ประกอบการ ยังไม่ใช่จุดที่จะไปลงทุนตรงนั้นค่ะ
เพราะอะไร
1 กิจการยังโตได้อีก ต้องไปลงทุนเพิ่มสาขา
2 ต้องเขาเงินไปใช้หนี้ อย่างแบร์เฮ้าส์มีหน้าอยู่ 35 ล้าน เพราะการขยายสาขา
3 ต้องหาเงินไปคืนนักลงทุน อันนี้สำคัญเพราะกิจการโตได้เพราะเงินลงทุน

ถ้าไม่ลงทุนขยายสาขาทำได้ไหม ก็ได้แต่เขาก็จะเสียความสามารถในการแข่งขันไป ถ้ามีเจ้าอื่นมาแย่งตลาดไป



 



ก็นั่นไงครับ สุดท้ายค่าใช้จ่ายต่างๆที่มันสูงเนี่ย มันไม่ได้มาจากค่าจ้างพนักงานถูกต้องมั้ย?

ซึ่งผมก็คิดว่าเค้าไม่ได้จ้างพนักงานด้วยค่าแรงขั้นต่ำแบบตอนนี้ด้วยซ้ำ แบบค่าจ้าง 10k ต่อเดือนในกรณีทำงาน 30 วันต่อเดือน ผมว่าสูงกว่านั้นอยู่แล้ว (ถ้าคิดวันทำงาน 5 วัน/สัปดาห์ก็ 8k ต่อเดือน)


ดังนั้นการมาตีโพยตีพายเรื่องนโยบายค่าแรงขั้นต่ำเนี่ย ว่าธุรกิจจะเจ๊ง อยู่ไม่ได้ เป็นภาระผู้ประกอบการ บลาๆๆๆ

มันเมคเซนส์มั้ยล่ะ?

อย่างที่คำตอบข้างบนๆบอก เมื่อคนมีรายได้สูงมากขึ้น มันก็มีกำลังจ่ายมากขึ้น เผลอๆร้านก็จะได้ประโยชน์จากการที่ลูกค้าเยอะขึ้น ได้กำไรมากขึ้นก็ได้เหมือนกัน

หรือง่ายๆลองคิดกลับกันว่าลดค่าจ้างขั้นต่ำลง เหลือซัก 200 บาท คุณว่าชานมจะขายได้เท่าเดิมมั้ยล่ะ?

Cost คุณลดลงนะ แต่คิดว่ารายได้จะเท่าเดิมมั้ย?  


ข้อมูลแบบมีนี้คนจำลองมาเยอะแล้ว
ผลคือแพ้การแข่งขันในตลาด มีบทเรียนให้เห็นก็เยอะ ถ้ามันดีจริงแล้วชนะจริงทำไมคนยังไม่ทำกัน

กิจการ A และ B มีงบประมาณก้อนหนึ่ง
กิจการ A ลงทุนด้วยการเพิ่มค่าแรง
กิจการ B ลงด้วยการซื้อโฆษณา
กิจการ B ชนะ

กิจการ A ลงทุนด้วยการเพิ่มค่าแรง
กิจการ B ลงด้วยการขยายสาขา
กิจการ B ชนะ

กิจการ A ลงทุนด้วยการเพิ่มค่าแรง
กิจการ B ลงด้วยการซื้อเครื่องจักร
กิจการ B ชนะ

การลงทุนเพิ่มค่าแรง ไม่ได้ทำให้ความสามารถในการแข่งขันในตลาดเพิ่มขึ้นค่ะ


การที่กิจการ A จะขึ้นค่าแรงแล้วชนะได้มีเงื่อนไขเดียวคือ ขึ้นราคาค่าแรงจนไม่มีคนไปทำงานให้กิจการ B และต้องมั่นใจให้ได้ว่าจะไม่มีกิจการ C มาอีก เพราะไม่งั้นจะแพ้เรื่องต้นทุนทันที

1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
contactme themasksoccer@gmail.com
ออฟไลน์
โค้ช UEFA PRO-License
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 21935
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 16:07
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
Spoil
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
อ้างอิงจาก:
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
Spoil
themasksocccer พิมพ์ว่า:
Shiroyasha พิมพ์ว่า:
เห็นด้วยตรงเรื่องค่าแรงว่ามันเป็นไปตามเศรษฐกิจในประเทศ

แต่พอพูดเรื่องนโยบายนี่ก็สมควรโดนด่าละ ถ้าค่าแรง 600 บาทต่อวัน ต่อให้ลูกจ้างทำงาน 30 วันก็ 18k


บอกว่า ขายชมนมได้วันละ 300 แก้ว แก้วละ 60 บาท รายได้ต่อวัน 18k เท่ากับค่าจ้างทั้งเดือน 1 ลูกจ้าง 1 คนแล้ว

สมมุติลูกจ้าง 5 คนก็ค่าจ้าง 90k แต่รายได้ระดับ 500k+ ต่อให้ตัดต้นทุนออกไป 30% ก็เหลือกำไรหลัก 300k++ ต่อเดือน คิดค่าเสื่อมอุปกรณ์ใดๆก็ตามก็ต้องบอกว่ามันก็มีกำไรมากพออยู่ดี

ในกรณีที่ขายได้น้อยกว่า 300 แก้วต่อวัน ก็คงไม่จำเป็นต้องมีลูกจ้างมากขนาดนั้น



แล้วลองคิดดูเรื่องค่าแรงขั้นต่ำน้อยลง แล้วคนไม่มีกำลังจ่าย เงินเดือนเหลือไม่ถึง 15k แล้วชานมพี่จะขายได้ถึง 300 แก้วต่อเดือนมั้ย?

ขนาดผมไม่เห็นด้วยกับเพื่อไทยในนโยบายนี้ แต่ยังบอกว่าหลายคนคิดตื้นเกินไป  


ทำธุรกิจอะไรคะ ต้นทุน 30% อาหารเครื่องดื่มต้นทุนแพงกว่านั้น
อย่างแบร์เฮ้าซื้อและเช่าอาคารกลางเมือง มีที่ให้นั่งกิน นั่งเล่นได้ ไม่ได้เช่าบูธนะ
ต้นทุนแพงกว่าร้านอย่างชาตรามือหลายสิบเท่าด้วยซ้ำ
จะบอกว่าไม่ต้องทำหรอในเมื่อเป็นโมเดลธุรกิจของเขา ถ้าไม่ทำขนาดนี้อาจจะไม่ได้ยอด 300 แก้วเลย

เรื่องตัวเลขหนูว่าอย่าไปประเมิณเองเลยถ้าไม่ได้ลงมาทำธุรกิจเอง
อย่าง Amazon ลงทุนร้านเล็กๆยัง 2.5 ล้านบาท ยอดขายเฉลี่ยอยู่ที่ 250 แก้วเอง
ดูเหมือนเยอะ แต่วัตถุดิบซื้อมาผสมเองไม่ได้ด้วย ต้องทำตามสูตรเท่านั้นต้นทุนแพงกว่าที่คิด
แค่ค่าแก้ว พิมพ์ลายแก้วก็แพงแล้ว

และต้นทุนแปรผันอีกละคะ
ค่าน้ำ ค่าไฟ ขายเยอะก็มีต้นทุนเยอะขึ้น

ต้นทุนตายตัว
ค่าที่ ค่าอาคาร ค่ารัโนเวทตึก

ต้นทุนค่าการตลาดทำโปรโมชั่นอีก

ต้นทุนแฝงอีก
ภาษี ดอกเบี้ยที่กู้มาทำร้าน

หนูยังไม่ทราบว่ากิจการไหนต้นทุน 30% แล้วกำไร 70%
อีกอย่างแบร์เฮ้ายังไม่คืนทุนเลย ขาดทุนต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว  
 


โอ้โห ผมเข้าใจผิดไปเยอะเลย เปิดมาหลายปียังขาดทุนต่อเนื่องแบบนี้
ค่าแรงขั้นต่ำในปัจจุบัน 10590 ต่อเดือนของพนักงานในปัจจุบัน ร้านแบร์เฮ้าส์คงไม่สามารถ afford สิ่งนี้ได้
แบบนี้น่าจะทำได้แค่ลดเงินเดือนพนักงาน ปลดพนักงานแล้วล่ะ น่าสงสารมากๆ

 


ไม่ประชดซิคะพูดกันตามตรงไม่มีกิจการไหนที่มีต้นทุนแค่ 30% ของรายได้หรอกค่ะ
กิจการยังไม่ทำกำไร ในฐานะผู้บริหารคงไม่มีใครเดินกลยุทธ์ เพิ่มต้นทุนตัวเองอยู่แล้วค่ะ
แล้วลูกจ้างตามกฎหมายก็ไม่ได้มีแค่ค่าแรงขั้นต่ำ
ประกันสังคม ประกันกลุ่ม เครื่องแบบ เงินก็ขึ้นตามอายุงานอีก
แล้วเขาก็ไม่ได้บอกว่าจะปลดพนักงาน หรือลดเงินเดือน อย่าไปตอบแทนเขาเลยค่ะ

ที่หนูโควตคือ อย่าไปประเมินค่าใช้จ่ายคนอื่นเองว่าเขาต้องกำไรเยอะหรือเท่าไหร่
เพราะแต่ละกิจการมีรูปแบบการดำเนินธุรกิจที่แตกต่างกันไป



 



เหมือนอ่านไม่เข้าใจประเด็นของกระทู้นี้นะ คำถามค่าต้นทุนค่าจ้างพนักงานต่อวัน เอาแค่ค่าจ้างเลยนะ มันกี่ %?

เพราะตรงส่วนอื่นไม่ว่าจะปรับขึ้นหรือลดมันไม่ได้มี Affect โดยตรงอะไรกับการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเลย

แล้วถ้าค่าแรงขั้นต่ำปรับตามนโยบาย Cost จะเพิ่มมาจนร้านอยู่ไม่ได้จริงหรือ? (ถ้าจะโควตต่อตอบอันนี้ด้วยนะ)

ซึ่งผมไม่ได้บอกว่ามันกำไร 70% แต่ผมตัดต้นทุนการผลิตออกไป 30% ไม่ได้รวมค่าเสื่อม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ที่จะคิดเพื่อจะแสดงให้เห็นว่ามันต้องมีกำไรมากพอที่พนักงานจะจ่ายเงินพนักงานระดับ 450-600 บาทต่อวัน

จะบอกว่าผมประเมินค่าใช้จ่ายกำไรผิดก็ไม่แปลก ผมไม่ใช่เจ้าของธุรกิจเค้านี่ ผมจำไปรู้ตัวเลขเป๊ะๆได้ไง

แล้วร้านเค้าไม่ได้จ้างพนักงาน 5 คนอยู่แล้ว ผมยกตัวอย่างเฉยๆ ผมไม่ได้คิดแทนเค้า แต่คุณที่ไล่มาเป็น Story เลยว่าเค้าขาดทุนนี่ตอบเหมือนเป็นเจ้าของร้านอ่ะนะ  
 
 



กิจการเขาไม่ล้มเพราะขึ้นเงินเดือนพนักงานอยู่แล้วคะ ต่อให้จ่ายวันละพันบาทต่อวันเขาก็ไม่เจ๊งหรอกค่ะ ตอบตรงๆ

แต่ในมุมมองนักลงทุน หรือผู้ประกอบการ ยังไม่ใช่จุดที่จะไปลงทุนตรงนั้นค่ะ
เพราะอะไร
1 กิจการยังโตได้อีก ต้องไปลงทุนเพิ่มสาขา
2 ต้องเขาเงินไปใช้หนี้ อย่างแบร์เฮ้าส์มีหน้าอยู่ 35 ล้าน เพราะการขยายสาขา
3 ต้องหาเงินไปคืนนักลงทุน อันนี้สำคัญเพราะกิจการโตได้เพราะเงินลงทุน

ถ้าไม่ลงทุนขยายสาขาทำได้ไหม ก็ได้แต่เขาก็จะเสียความสามารถในการแข่งขันไป ถ้ามีเจ้าอื่นมาแย่งตลาดไป



 



ก็นั่นไงครับ สุดท้ายค่าใช้จ่ายต่างๆที่มันสูงเนี่ย มันไม่ได้มาจากค่าจ้างพนักงานถูกต้องมั้ย?

ซึ่งผมก็คิดว่าเค้าไม่ได้จ้างพนักงานด้วยค่าแรงขั้นต่ำแบบตอนนี้ด้วยซ้ำ แบบค่าจ้าง 10k ต่อเดือนในกรณีทำงาน 30 วันต่อเดือน ผมว่าสูงกว่านั้นอยู่แล้ว (ถ้าคิดวันทำงาน 5 วัน/สัปดาห์ก็ 8k ต่อเดือน)


ดังนั้นการมาตีโพยตีพายเรื่องนโยบายค่าแรงขั้นต่ำเนี่ย ว่าธุรกิจจะเจ๊ง อยู่ไม่ได้ เป็นภาระผู้ประกอบการ บลาๆๆๆ

มันเมคเซนส์มั้ยล่ะ?

อย่างที่คำตอบข้างบนๆบอก เมื่อคนมีรายได้สูงมากขึ้น มันก็มีกำลังจ่ายมากขึ้น เผลอๆร้านก็จะได้ประโยชน์จากการที่ลูกค้าเยอะขึ้น ได้กำไรมากขึ้นก็ได้เหมือนกัน

หรือง่ายๆลองคิดกลับกันว่าลดค่าจ้างขั้นต่ำลง เหลือซัก 200 บาท คุณว่าชานมจะขายได้เท่าเดิมมั้ยล่ะ?

Cost คุณลดลงนะ แต่คิดว่ารายได้จะเท่าเดิมมั้ย?  


ข้อมูลแบบมีนี้คนจำลองมาเยอะแล้ว
ผลคือแพ้การแข่งขันในตลาด มีบทเรียนให้เห็นก็เยอะ ถ้ามันดีจริงแล้วชนะจริงทำไมคนยังไม่ทำกัน

กิจการ A และ B มีงบประมาณก้อนหนึ่ง
กิจการ A ลงทุนด้วยการเพิ่มค่าแรง
กิจการ B ลงด้วยการซื้อโฆษณา
กิจการ B ชนะ

กิจการ A ลงทุนด้วยการเพิ่มค่าแรง
กิจการ B ลงด้วยการขยายสาขา
กิจการ B ชนะ

กิจการ A ลงทุนด้วยการเพิ่มค่าแรง
กิจการ B ลงด้วยการซื้อเครื่องจักร
กิจการ B ชนะ

การลงทุนเพิ่มค่าแรง ไม่ได้ทำให้ความสามารถในการแข่งขันในตลาดเพิ่มขึ้นค่ะ


การที่กิจการ A จะขึ้นค่าแรงแล้วชนะได้มีเงื่อนไขเดียวคือ ขึ้นราคาค่าแรงจนไม่มีคนไปทำงานให้กิจการ B และต้องมั่นใจให้ได้ว่าจะไม่มีกิจการ C มาอีก เพราะไม่งั้นจะแพ้เรื่องต้นทุนทันที

 
 



งงอะไรมั้ย เราไม่ได้พูดเรื่องความสามารถการแข่งขันทางตลาด เราพูดเรื่อง Affect จากการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ


นี่ตอนนี้ผมเริ่มคิดจริงๆแล้วว่าท่านคือเจ้าของร้านนะ

เอางี้ครับ ลองคิดดูอีกทีนะ ถ้ามันขึ้นค่าแรงขั้นต่ำจริงๆ

ร้าน A B C D ร้านไหนได้ผลกระทบบ้าง? คำตอบคือทุกร้าน ถูกมั้ย

มันไม่ใช่ Scenario แบบที่คุณยกมาเลย


มัน Affect กันกับความสามารถการแข่งขัน? หรือว่าคู่แข่งร้านคือ ร้านชาไข่มุกในประเทศพม่า ลาว กัมพูชาที่ค่าแรงถูกกว่า?
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะพรีเมียร์ลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 19 Sep 2009
ตอบ: 5516
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 16:12
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
chimiha พิมพ์ว่า:
GNR พิมพ์ว่า:
ผม ไม่ได้ดูคลิป นะ แต่คิดว่าเค้าไม่ได้มองอีกมุม ซึ่งเค้าจะไม่ได้คิดในจุดนี้ ว่า ถ้าค่าแรง ทั่วทั้งประเทศ มันเพิ่มขึ้น
กำลังซื้อก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน กาแฟ แก้วละ 60บาท ที่ปกติ มนุษย์เงินเดือนขึ้นไปถึงซื้อกินได้ ก็จะมี กลุ่มใช้แรงงานก็สามารถมาซื้อได้ หรือมนุษย์เงินเดือนที่เดิมที อาจนานๆซื้อที พอเงินเดือนเยอะขึ้น เข้าก็ซื้อของระดับนี้กินได้ทุกวัน ทำให้ยอดขายเค้าเพิ่ม




ขอยกตัวอย่าง บริษัทวาโก้ เจ้าของบอกว่า บริษัทเค้าขาดทุนจากนโยบายขึ้นค่าแรงสมัยยิ่งลักษณ์ ได้ผลกระทบมาก จนต้องหาทางปรับตัว แต่ปีต่อมา เค้าบอกว่า เค้าทำยอดขายได้สูงสุดตั้งแต่เปิดบริษัทเฉยเลย
เพราะ มันมีแรงซื้อที่มากขึ้น คนสามารถมีเงินมาจับจ่ายใช้สอยได้มากขึ้น

ผมเลยมองว่า ถ้าค่าแรงมันถูกปรับตามอัตตราที่เหมาะสมอยู่เสมอ จะเป็นเรื่องที่ดี ไม่ใช่ ทุกวันนี้ ข้าวจาน 30 บาท ผมหาซื้อไม่ได้แล้ว เพิ่มเป็น 40 ใส่ไข่ 45-50 ในขณะที่ค่าแรงเท่าเดิม  


โครตเห็นด้วยเลยครับ บางคนเขาคิดแค่ ขึ้นค่าแรงข้าวของก็ขึ้นราคาตาม แต่ไม่ได้คิดต่อว่ากำลังซื้อของคนส่วนใหญ่ก็เพิ่มขึ้นด้วย พอคนส่วนใหญ่มีกำลังซื้อเกินกว่าจะต้องจำกัดจำเขี่ยไว้ใช้แค่ให้รอดชีวิตไปวันๆ เขาจะเริ่มจับจ่ายใช้สอยหลากหลายมากขึ้น เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจได้อย่างดีเลย  


มันขึ้นไปพร้อมกันครับ

เพราะฉะนั้น ค่าแรงท่านขึ้น ค่าแรงพนักงานร้านกาแฟ หรือ ร้านข้าวก็ต้องขึ้น

ร้านก็ต้องขึ้นค่าของ

ท่านต้องมองต่อไปด้วยว่า มันกระทบเป็นทอดๆ ท่านมีเงินเยอะขึ้นก็จริง

แต่ค่าใช้จ่ายมันก็จะเยอะตามไปด้วย

เช่น ถ้าเงินเดือนขั้นต่ำเพิ่มขึ้นเป็น 30,000 บาท ข้าวอาจจะจานละ 300 ก็ได้ครับ

มันไม่ใช่ว่า เงินเดือนเพิ่ม จะซื้อของได้มากขึ้น มันซื้อของได้เท่าเดิมแหละครับ

เพราะว่าทุกอย่างรอบตัวท่าน ก็จะเพิ่มราคาตามเงินเดือนขั้นต่ำ ที่เค้าจ้างลูกน้อง

สมมุติเงินเดือน 15,000 ข้าวจานละ 50 บาท แปลว่าเท่ากับท่านซื้อข้าวได้ 300 จาน

แต่ถ้าเงินเดือนเพิ่มเป็น 30,000 แล้วข้าวจานละ 100 บาท ท่านก็ซื้อข้าวได้เท่าเดิมคือ 300 จาน

พอจะเห็นภาพมั้ยครับ มันไม่ใช่ว่าเงินเพิ่ม แล้วจะมีกำลังจับจ่ายใช้สอยเพิ่ม

เพราะมันก็ซื้อข้าวได้ 300 จานอยู่ดี

วิธีที่จะแก้คือ รัฐบาลต้องจำกัดราคาสินค้าอุปโภค

เช่น ถ้าค่าหมู ค่าข้าว ค่าแก๊ส ค่าน้ำมัน ค่าเครื่องปรุง ค่าน้ำ ค่าไฟ ของแม่ค้าลดลง

เงินเดือน 15,000 แต่ข้าวเหลือจานละ 30 บาท แปลว่าเท่ากับท่านซื้อข้าวได้ 500 จาน

แบบนี้มันถึงจะมีการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้นครับ  


มันขึ้นพร้อมกันจริงแต่มันไม่ได้เป็นบรรยัติไตรยางค์ไงครับ มันไม่ใช่ว่าค่าแรงขึ้น 30 % แต่ของทุกอย่างจะขึ้น 30 % เป๊ะๆ ตามขนาดนั้น ยังไม่นับความหลากหลายของการอุปโภคบริโภคอีกที่แต่ละคนมีการใช้จ่ายแตกต่างกันแน่ๆ

ประเด็นผมคือการขึ้นค่าแรงทำให้กำลังซื้อเพิ่มขึ้น>กำลังซื้อเพิ่มขึ้นทำให้เศรษฐกิจโตขึ้น>เศรษฐกิจโตขึ้นทำให้กำไรกลับไปยังผู้ประกอบการมากขึ้น

จะเห็นว่าสุดท้ายคนที่ได้ประโยชน์ก็ไม่พ้นผู้ประกอบการ การขึ้นค่าแรงมันคือการทำให้เงินหมุนในระบบเศรษฐกิจหลายรอบมากขึ้นผ่านการใช้จ่ายของแรงงานส่วนใหญ่

ส่วนการจำกัดราคาสินค้าอุปโภคที่ท่านว่ามันก็เป็นการเพิ่มกำลังซื้อเหมือนกัน แค่วิธีต่างกัน ประเด็นปลายทางมันก็เหมือนกัน จะลดรายจ่ายหรือเพิ่มรายได้มันก็เป็นการเพิ่มกำลังซื้ออยู่ดีไม่ใช่เหรอ แล้วทำไมถึงคิดว่าการลดรายจ่ายจะได้ผลอย่างเดียว เผลอๆจะแย่กว่าขึ้นค่าแรงอีก

เพราะรัฐต้องเอาเงินไป subsidize สินค้าอุปโภคบริโภคให้ราคาต่ำแบบที่ท่านว่า ซึ่งเงินก้อนนี้ก็เข้ากระเป๋านายทุนโดยตรงเลย แต่การขึ้นค่าแรงอาจมีการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจหลายรอบก่อนจะกลับไปหานายทุน
2
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แฟนพันธุ์แท้หนังAV
เจ้าของธุรกิจติ่ง SS
Status: It's Complicated
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 2626
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Mar 13, 2023 16:20
[RE: ดราม่า ผู้ประกอบการกดค่าแรง]
chimiha พิมพ์ว่า:
ไม่อยากกินต้มไก่ พิมพ์ว่า:
chimiha พิมพ์ว่า:
GNR พิมพ์ว่า:
ผม ไม่ได้ดูคลิป นะ แต่คิดว่าเค้าไม่ได้มองอีกมุม ซึ่งเค้าจะไม่ได้คิดในจุดนี้ ว่า ถ้าค่าแรง ทั่วทั้งประเทศ มันเพิ่มขึ้น
กำลังซื้อก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน กาแฟ แก้วละ 60บาท ที่ปกติ มนุษย์เงินเดือนขึ้นไปถึงซื้อกินได้ ก็จะมี กลุ่มใช้แรงงานก็สามารถมาซื้อได้ หรือมนุษย์เงินเดือนที่เดิมที อาจนานๆซื้อที พอเงินเดือนเยอะขึ้น เข้าก็ซื้อของระดับนี้กินได้ทุกวัน ทำให้ยอดขายเค้าเพิ่ม




ขอยกตัวอย่าง บริษัทวาโก้ เจ้าของบอกว่า บริษัทเค้าขาดทุนจากนโยบายขึ้นค่าแรงสมัยยิ่งลักษณ์ ได้ผลกระทบมาก จนต้องหาทางปรับตัว แต่ปีต่อมา เค้าบอกว่า เค้าทำยอดขายได้สูงสุดตั้งแต่เปิดบริษัทเฉยเลย
เพราะ มันมีแรงซื้อที่มากขึ้น คนสามารถมีเงินมาจับจ่ายใช้สอยได้มากขึ้น

ผมเลยมองว่า ถ้าค่าแรงมันถูกปรับตามอัตตราที่เหมาะสมอยู่เสมอ จะเป็นเรื่องที่ดี ไม่ใช่ ทุกวันนี้ ข้าวจาน 30 บาท ผมหาซื้อไม่ได้แล้ว เพิ่มเป็น 40 ใส่ไข่ 45-50 ในขณะที่ค่าแรงเท่าเดิม  


โครตเห็นด้วยเลยครับ บางคนเขาคิดแค่ ขึ้นค่าแรงข้าวของก็ขึ้นราคาตาม แต่ไม่ได้คิดต่อว่ากำลังซื้อของคนส่วนใหญ่ก็เพิ่มขึ้นด้วย พอคนส่วนใหญ่มีกำลังซื้อเกินกว่าจะต้องจำกัดจำเขี่ยไว้ใช้แค่ให้รอดชีวิตไปวันๆ เขาจะเริ่มจับจ่ายใช้สอยหลากหลายมากขึ้น เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจได้อย่างดีเลย  


มันขึ้นไปพร้อมกันครับ

เพราะฉะนั้น ค่าแรงท่านขึ้น ค่าแรงพนักงานร้านกาแฟ หรือ ร้านข้าวก็ต้องขึ้น

ร้านก็ต้องขึ้นค่าของ

ท่านต้องมองต่อไปด้วยว่า มันกระทบเป็นทอดๆ ท่านมีเงินเยอะขึ้นก็จริง

แต่ค่าใช้จ่ายมันก็จะเยอะตามไปด้วย

เช่น ถ้าเงินเดือนขั้นต่ำเพิ่มขึ้นเป็น 30,000 บาท ข้าวอาจจะจานละ 300 ก็ได้ครับ

มันไม่ใช่ว่า เงินเดือนเพิ่ม จะซื้อของได้มากขึ้น มันซื้อของได้เท่าเดิมแหละครับ

เพราะว่าทุกอย่างรอบตัวท่าน ก็จะเพิ่มราคาตามเงินเดือนขั้นต่ำ ที่เค้าจ้างลูกน้อง

สมมุติเงินเดือน 15,000 ข้าวจานละ 50 บาท แปลว่าเท่ากับท่านซื้อข้าวได้ 300 จาน

แต่ถ้าเงินเดือนเพิ่มเป็น 30,000 แล้วข้าวจานละ 100 บาท ท่านก็ซื้อข้าวได้เท่าเดิมคือ 300 จาน

พอจะเห็นภาพมั้ยครับ มันไม่ใช่ว่าเงินเพิ่ม แล้วจะมีกำลังจับจ่ายใช้สอยเพิ่ม

เพราะมันก็ซื้อข้าวได้ 300 จานอยู่ดี

วิธีที่จะแก้คือ รัฐบาลต้องจำกัดราคาสินค้าอุปโภค

เช่น ถ้าค่าหมู ค่าข้าว ค่าแก๊ส ค่าน้ำมัน ค่าเครื่องปรุง ค่าน้ำ ค่าไฟ ของแม่ค้าลดลง

เงินเดือน 15,000 แต่ข้าวเหลือจานละ 30 บาท แปลว่าเท่ากับท่านซื้อข้าวได้ 500 จาน

แบบนี้มันถึงจะมีการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้นครับ  


มันขึ้นพร้อมกันจริงแต่มันไม่ได้เป็นบรรยัติไตรยางค์ไงครับ มันไม่ใช่ว่าค่าแรงขึ้น 30 % แต่ของทุกอย่างจะขึ้น 30 % เป๊ะๆ ตามขนาดนั้น ยังไม่นับความหลากหลายของการอุปโภคบริโภคอีกที่แต่ละคนมีการใช้จ่ายแตกต่างกันแน่ๆ

ประเด็นผมคือการขึ้นค่าแรงทำให้กำลังซื้อเพิ่มขึ้น>กำลังซื้อเพิ่มขึ้นทำให้เศรษฐกิจโตขึ้น>เศรษฐกิจโตขึ้นทำให้กำไรกลับไปยังผู้ประกอบการมากขึ้น

จะเห็นว่าสุดท้ายคนที่ได้ประโยชน์ก็ไม่พ้นผู้ประกอบการ การขึ้นค่าแรงมันคือการทำให้เงินหมุนในระบบเศรษฐกิจหลายรอบมากขึ้นผ่านการใช้จ่ายของแรงงานส่วนใหญ่

ส่วนการจำกัดราคาสินค้าอุปโภคที่ท่านว่ามันก็เป็นการเพิ่มกำลังซื้อเหมือนกัน แค่วิธีต่างกัน ประเด็นปลายทางมันก็เหมือนกัน จะลดรายจ่ายหรือเพิ่มรายได้มันก็เป็นการเพิ่มกำลังซื้ออยู่ดีไม่ใช่เหรอ แล้วทำไมถึงคิดว่าการลดรายจ่ายจะได้ผลอย่างเดียว เผลอๆจะแย่กว่าขึ้นค่าแรงอีก

เพราะรัฐต้องเอาเงินไป subsidize สินค้าอุปโภคบริโภคให้ราคาต่ำแบบที่ท่านว่า ซึ่งเงินก้อนนี้ก็เข้ากระเป๋านายทุนโดยตรงเลย แต่การขึ้นค่าแรงอาจมีการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจหลายรอบก่อนจะกลับไปหานายทุน
 


อ้างอิงจาก:
มันขึ้นพร้อมกันจริงแต่มันไม่ได้เป็นบรรยัติไตรยางค์ไงครับ มันไม่ใช่ว่าค่าแรงขึ้น 30 % แต่ของทุกอย่างจะขึ้น 30 % เป๊ะๆ ตามขนาดนั้น ยังไม่นับความหลากหลายของการอุปโภคบริโภคอีกที่แต่ละคนมีการใช้จ่ายแตกต่างกันแน่ๆ  


จากที่ผ่านมา ไม่ได้ขึ้นเป็นบรรยัติไตรยางค์จริงๆครับ

แต่ของขึ้นราคามากกว่าเงินเดือนประจำครับ

มันยิ่งแย่นะครับ เงินเดือนเมื่อก่อน 12,000 ข้าวจานละ 20

เดี๋ยวนี้ เงินเดือน 15,000 แต่ข้าวจานละ 60

เงินเดือนขึ้น 25% แต่ค่าข้าวขึ้นไป 100%

แปลว่าการขึ้นเงินเดือนไม่ใช่คำตอบครับ





เช่น ปี 53 ป.ตรี เงินเดือน 12,000 ค่าข้าว 25 บาท แปลว่าซื้อข้าวได้ 480 จาน

ปี 65 ป.ตรี เงินเดือน 15,000 ค่าข้าว 60 บาท แปลว่าซื้อข้าวได้ 250 จาน

เห็นมั้ยครับว่าเงินมันเพิ่มจริง แต่ค่าของเงินมันลดลง เพราะทุกอย่างมันปรับตัวขึ้น

แปลว่า ยิ่งเงินเพิ่ม เราจะยิ่งซื้อของได้น้อยลง

อ้างอิงจาก:
ส่วนการจำกัดราคาสินค้าอุปโภคที่ท่านว่ามันก็เป็นการเพิ่มกำลังซื้อเหมือนกัน แค่วิธีต่างกัน ประเด็นปลายทางมันก็เหมือนกัน จะลดรายจ่ายหรือเพิ่มรายได้มันก็เป็นการเพิ่มกำลังซื้ออยู่ดีไม่ใช่เหรอ แล้วทำไมถึงคิดว่าการลดรายจ่ายจะได้ผลอย่างเดียว เผลอๆจะแย่กว่าขึ้นค่าแรงอีก  


ปลายทางคือ อยากให้ทุกคนใช้จ่ายได้มากขึ้น มีเงินเก็บมากขึ้น

แต่วิธีขึ้นเงินเดือนกับลดค่าใช้จ่าย ผมว่ามันค่อนข้างต่างกันเยอะครับ

ถ้าขึ้นเงินเดือน ทุกอย่างจะแพงขึ้น เหมือนที่เทียบไปด้านบน

แต่ถ้าลดค่าใช้จ่าย ของจะลดลง ถึงเงินเดือนเท่าเดิม ก็มีเงินเก็บครับ

อ้างอิงจาก:
เพราะรัฐต้องเอาเงินไป subsidize สินค้าอุปโภคบริโภคให้ราคาต่ำแบบที่ท่านว่า ซึ่งเงินก้อนนี้ก็เข้ากระเป๋านายทุนโดยตรงเลย แต่การขึ้นค่าแรงอาจมีการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจหลายรอบก่อนจะกลับไปหานายทุน  


ในที่นี้ ผมหมายถึง ให้รัฐไปไล่บี้กับเช่น CP ให้ได้กำไรลดลงครับ ไม่ได้ให้เอาเงินรัฐไปอุดหนุนส่วนต่าง

เพราะรายนั้นรวยขนาดไหนแล้ว ก็จากการขึ้นราคาสินค้าอุปโภคบริโภคพื้นฐาน

แต่เอาเข้าจริงๆ ถ้ารัฐบาลมันส้นตีนแบบนี้อยู่ ก็ทำอะไรไม่ได้ครับ

คุมราคาก็ไม่ได้ เพิ่มเงินเดือน ทุกอย่างก็แพง

ก็ต้องอยู่กับที่แบบนี้แหละครับ
แก้ไขล่าสุดโดย ไม่อยากกินต้มไก่ เมื่อ Mon Mar 13, 2023 16:36, ทั้งหมด 3 ครั้ง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2, 3, 4
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel