ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3, 4
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
แบบสำรวจ
ควรมี30บารักษาทุกโรคต่อไปหรือไม่?
ควรมี
???
ควรยกเลิกไปเลย
???
ควรปรับปรุงข้อกำหนดให้ไม่ขาดทุน
???
ควรหาโครงการที่ดีกว่านี้ค่อยยกเลิก30บาท
???
ไม่รู้ ไม่รู้ ไม่รู้
???
คะแนนทั้งหมด: 186
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
อบรมขอไลเซนส์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 25 Nov 2008
ตอบ: 25698
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 00:09
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
ตอบเหมือนเดิม จะมีก้ทำให้สุดโต่งน้อยลงกว่านี้ ปรับให้ลงมาไม่ว่าจะเป็น

A. เพิ่มขั้นต่ำเพื่อกรองให้คนเจ็บหนักหน่อยมาหา 500 1000 อะไรก้ว่าไป
B. ให้คนที่จ่ายภาษีมีโอกาสได้รักษาก่อนถ้าคิวว่างค่อยให้คงที่ไม่จ่ายภาษีได้คิวไป (ดูโหดหน่อยเพราะมันตรงข้ามกับที่ต้องการรักษาคนที่ไม่มีรายได้จริงๆ)
C. นึกไม่ออกเร็วๆตอนนี้แฮะ แต่หลักๆก้สเกลลงมา



ตอบเหมือนเดิม ถ้ามันดีจริงทุกประเทศมันทำไปแล้ว ไม่ดียังไง ได้ทั้งฐานความนิยมจากประชาชนตัวเองก้ไม่เสียอะไร มีแต่ได้กับได้

วิธีทำไม่มีไรซับซ้อนเลย จ่าย 1 ดอล รักษาทุกโรคที่เหลือรัฐบาลเอางบไปลงให้


ไม่ว่าประเทศไหนก้เริ่มต้นได้ภายใน1ปีอะ



อ้อเสริมอีกเรื่อง ใครนึกไม่ออกดีไม่ดียังไงนะ

ลองไปเล่นเกมสร้างเมืองทั้งหลายอะ (ถึงจะบอกว่ามันเป็นเกมก้เถอะ)

แล้วประเทศกำลังพัฒนาอะ ลองไปmax เรื่องโรงพยาบาล การรักษา ทุ่มภาษีไปให้สุดดู

ประชาชนhappy จัดๆอะ แต่ระยะยาว 30 50ปี ประเทศไม่ค่อยไปไหน


ลองไปเทียบกับเล่นปกติแล้วเล่นไม่max พวกพยายาม เจริญกว่าเยอะ


ถึงจะบอกว่าเป็นแค่ระบบเกมแต่มันมีสิ่งที่จริงกว่าเยอะเลย



แล้วก้อย่างที่บอกจะมีใครไม่ชอบ ประชาชนที่อังกฤษก้ชอบ ชอบสิของฟรีใครไม่ชอบ  


ผมเพิ่มข้อcให้ครับ คือ กระจายปชช.ไปกรองที่คลินิคก่อนส่งไปรพ. ยกเว้นกรณีอุบัติเหตุหรือฉุกเฉิน

อย่างที่ตอบไปเหมือนกันถ้าไม่ดีจริงคงไม่มี70กว่าประเทศทำ และยังใช้มาจนถึงปจบ.ในไทยก็20ปีละมั้ง ถ้ามีวิธีอื่นดีกว่าคงปรับเปลี่ยนไปใช้นานแล้วผ่านมากี่รัฐบาลก็เปลี่ยนไม่ได้

ใช่ครับเริ่มง่ายแต่การสร้างรายได้เพื่อมาทดแทน"สวัสดิการ"ของรัฐในรูปแบบภาษีอื่นๆ มันก็วัดความสามารถของรัฐบาลนั้นๆแหละคับ แต่แก้ตัวให้ว่าปัจจัยภายนอกอื่นๆก็ทำให้มีปัญหาเช่นกัน

จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป

จริงๆถ้าเทียบของจริง กระทรวงกลาโหมยังได้งบประมาณมากกว่ากระทรวงสาธารณสุขเลย
แถมๆๆๆๆ กระทรวงกลาโหมนี่ขาดทุนแน่นอนอยู่ละเพราะไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขเช่นกัน
ที่จะพูดคือต้องดูจุดประสงค์ของโครงการอ่ะคับ กระทรวงกลาโหมมีงบจ้างทหาร ซื้อเครื่องบินรบ เพื่อปกป้องอธิปไตยประเทศ จะไปคิดเรื่องการคุ้มทุนขาดทุนได้ยังไงเพราะไม่ได้สร้างมาเพื่อก่อรายได้

เช่นกันประกันสุขภาพถ้วนหน้าก็ไม่ได้ตั้งมาเพื่อหารายได้เข้าประเทศ แต่จุดประสงค์คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้ประชาชน

สรุปรวมคือ ถ้าตั้งเป้าจุดประสงค์ผิดแต่แรก คำตอบมันก็ผิดแหละคับ ถ้าจุดประสงค์คือสร้างสุขภาพที่ดี ให้ปชช.เข้าถึงการรักษา แต่ไปวัดผลที่กำไร มันก็ไม่ถูกต้องคับ

 


70 กว่าประเทศเค้าก้ไม่ได้ทำแบบเราครับ

ช่วงยกตัวอย่างหน่อย

มีประเทศไหนที่ จ่ายแค่ประมาณ 30 บาท แล้วรักษาฟรีหมด ให้กับทุกคนมั่ง

จาก 70 ประเทศที่ว่ามา ขอรายชื่อประเทศหน่อย

"จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป
"

ก้บอกแล้วว่าของไทยไม่มีกรองอะไรเลย ถ้าไม่มีกรองแล้วจัด30บาทได้ให้ทุกคน รักษาเต็มที่ แล้วถือว่าเป็นอันดับ1ทางด้านนี้ ไม่เรียกสุดโต่งแล้วเรียกอะไรครับ

ถ้าแบบนี้ยังไม่สุดโต่ง คงไม่มีประเทศไหนสุดโต่งแล้วนะ




ผมจะไม่คุยที่ประเด็นอื่นนะ แบบ กลาโหมได้เงินเยอะ คิงได้เงินเยอะ เพราะส่วนตัวก้เกลียดพวกนั้นที่ได้เงินเยอะเหมือนกัน


แต่คุยในประเด็นนี้แหละ  


เอางี้คับกลับมาจุดเดิมครับจุดเดียวเลยคือ..

โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่

ส่วนตัวผมพิมพ์ไปหลายรอบแล้วว่าสมควรปรับปรุงให้มันอยู่รอดทั้งตัวโครงการและงบประมาณที่ผลาญไป หรือยุบไปเลยก็ดีถ้า มันมีโครงการที่จุดประสงค์เดียวกันแล้วคุณภาพหรือผลลัพธ์ดีกว่านี้ อย่างที่คุณบอกว่าต้องมีตัวกรองนั้นก็ใช้เลยผมก็บอกอยู่ว่าเห็นด้วย100%

ส่วนประเทศไหนก็อังกฤษไงคับหรือประเทศอื่นในUKก็คล้ายๆกันครับ ไม่ต้องจ่ายซักบาท แต่ยกเว้นที่อังกฤษpescription9ปอนด์มั้ง กี่บาทอ่ะ 450บาทนี่ตีเรท50เลยนะ 9ปอนด์นี่ค่าแรงขั้นต่ำ1ชม.ก็ได้ละ กี่ปีละเกือบ10ปีละมั้งตอนผมเคยพาเพื่อนไปหาหมอ จริงๆเด็กต่ำกว่า18 หรือคนแก่เกิน60 หรือนักเรียนก็ฟรีนะ อย่างตอนผมเรียนไปหาก็ฟรี

คำถามสั้นๆอันนี้คุณอยู่ในระบบสาธารณสุขป่ะครับอยากทราบ? ถ้าอย่างนั้นผมจะได้ไม่แปลกใจ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะลา ลีกา
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Nov 2013
ตอบ: 11572
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 00:29
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
ควรเพิ่มบุคลากรการแพทย์ให้มากกว่านี้ เห็นเเล้วสงสารหมอพยาบาล เห็นเพื่อนพยาบาลบอกเดี๋ยวนี้ไม่ได้OTเเล้ว
ก่อนโควิดเพื่อนผมแทบไม่ได้พักเลย ยิ่งโควิดต้องทำทุกวันเลย
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ซุปตาร์ยูโร
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 27 Mar 2020
ตอบ: 20423
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 01:05
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
ตอบเหมือนเดิม จะมีก้ทำให้สุดโต่งน้อยลงกว่านี้ ปรับให้ลงมาไม่ว่าจะเป็น

A. เพิ่มขั้นต่ำเพื่อกรองให้คนเจ็บหนักหน่อยมาหา 500 1000 อะไรก้ว่าไป
B. ให้คนที่จ่ายภาษีมีโอกาสได้รักษาก่อนถ้าคิวว่างค่อยให้คงที่ไม่จ่ายภาษีได้คิวไป (ดูโหดหน่อยเพราะมันตรงข้ามกับที่ต้องการรักษาคนที่ไม่มีรายได้จริงๆ)
C. นึกไม่ออกเร็วๆตอนนี้แฮะ แต่หลักๆก้สเกลลงมา



ตอบเหมือนเดิม ถ้ามันดีจริงทุกประเทศมันทำไปแล้ว ไม่ดียังไง ได้ทั้งฐานความนิยมจากประชาชนตัวเองก้ไม่เสียอะไร มีแต่ได้กับได้

วิธีทำไม่มีไรซับซ้อนเลย จ่าย 1 ดอล รักษาทุกโรคที่เหลือรัฐบาลเอางบไปลงให้


ไม่ว่าประเทศไหนก้เริ่มต้นได้ภายใน1ปีอะ



อ้อเสริมอีกเรื่อง ใครนึกไม่ออกดีไม่ดียังไงนะ

ลองไปเล่นเกมสร้างเมืองทั้งหลายอะ (ถึงจะบอกว่ามันเป็นเกมก้เถอะ)

แล้วประเทศกำลังพัฒนาอะ ลองไปmax เรื่องโรงพยาบาล การรักษา ทุ่มภาษีไปให้สุดดู

ประชาชนhappy จัดๆอะ แต่ระยะยาว 30 50ปี ประเทศไม่ค่อยไปไหน


ลองไปเทียบกับเล่นปกติแล้วเล่นไม่max พวกพยายาม เจริญกว่าเยอะ


ถึงจะบอกว่าเป็นแค่ระบบเกมแต่มันมีสิ่งที่จริงกว่าเยอะเลย



แล้วก้อย่างที่บอกจะมีใครไม่ชอบ ประชาชนที่อังกฤษก้ชอบ ชอบสิของฟรีใครไม่ชอบ  


ผมเพิ่มข้อcให้ครับ คือ กระจายปชช.ไปกรองที่คลินิคก่อนส่งไปรพ. ยกเว้นกรณีอุบัติเหตุหรือฉุกเฉิน

อย่างที่ตอบไปเหมือนกันถ้าไม่ดีจริงคงไม่มี70กว่าประเทศทำ และยังใช้มาจนถึงปจบ.ในไทยก็20ปีละมั้ง ถ้ามีวิธีอื่นดีกว่าคงปรับเปลี่ยนไปใช้นานแล้วผ่านมากี่รัฐบาลก็เปลี่ยนไม่ได้

ใช่ครับเริ่มง่ายแต่การสร้างรายได้เพื่อมาทดแทน"สวัสดิการ"ของรัฐในรูปแบบภาษีอื่นๆ มันก็วัดความสามารถของรัฐบาลนั้นๆแหละคับ แต่แก้ตัวให้ว่าปัจจัยภายนอกอื่นๆก็ทำให้มีปัญหาเช่นกัน

จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป

จริงๆถ้าเทียบของจริง กระทรวงกลาโหมยังได้งบประมาณมากกว่ากระทรวงสาธารณสุขเลย
แถมๆๆๆๆ กระทรวงกลาโหมนี่ขาดทุนแน่นอนอยู่ละเพราะไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขเช่นกัน
ที่จะพูดคือต้องดูจุดประสงค์ของโครงการอ่ะคับ กระทรวงกลาโหมมีงบจ้างทหาร ซื้อเครื่องบินรบ เพื่อปกป้องอธิปไตยประเทศ จะไปคิดเรื่องการคุ้มทุนขาดทุนได้ยังไงเพราะไม่ได้สร้างมาเพื่อก่อรายได้

เช่นกันประกันสุขภาพถ้วนหน้าก็ไม่ได้ตั้งมาเพื่อหารายได้เข้าประเทศ แต่จุดประสงค์คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้ประชาชน

สรุปรวมคือ ถ้าตั้งเป้าจุดประสงค์ผิดแต่แรก คำตอบมันก็ผิดแหละคับ ถ้าจุดประสงค์คือสร้างสุขภาพที่ดี ให้ปชช.เข้าถึงการรักษา แต่ไปวัดผลที่กำไร มันก็ไม่ถูกต้องคับ

 


70 กว่าประเทศเค้าก้ไม่ได้ทำแบบเราครับ

ช่วงยกตัวอย่างหน่อย

มีประเทศไหนที่ จ่ายแค่ประมาณ 30 บาท แล้วรักษาฟรีหมด ให้กับทุกคนมั่ง

จาก 70 ประเทศที่ว่ามา ขอรายชื่อประเทศหน่อย

"จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป
"

ก้บอกแล้วว่าของไทยไม่มีกรองอะไรเลย ถ้าไม่มีกรองแล้วจัด30บาทได้ให้ทุกคน รักษาเต็มที่ แล้วถือว่าเป็นอันดับ1ทางด้านนี้ ไม่เรียกสุดโต่งแล้วเรียกอะไรครับ

ถ้าแบบนี้ยังไม่สุดโต่ง คงไม่มีประเทศไหนสุดโต่งแล้วนะ




ผมจะไม่คุยที่ประเด็นอื่นนะ แบบ กลาโหมได้เงินเยอะ คิงได้เงินเยอะ เพราะส่วนตัวก้เกลียดพวกนั้นที่ได้เงินเยอะเหมือนกัน


แต่คุยในประเด็นนี้แหละ  


เอางี้คับกลับมาจุดเดิมครับจุดเดียวเลยคือ..

โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่

ส่วนตัวผมพิมพ์ไปหลายรอบแล้วว่าสมควรปรับปรุงให้มันอยู่รอดทั้งตัวโครงการและงบประมาณที่ผลาญไป หรือยุบไปเลยก็ดีถ้า มันมีโครงการที่จุดประสงค์เดียวกันแล้วคุณภาพหรือผลลัพธ์ดีกว่านี้ อย่างที่คุณบอกว่าต้องมีตัวกรองนั้นก็ใช้เลยผมก็บอกอยู่ว่าเห็นด้วย100%

ส่วนประเทศไหนก็อังกฤษไงคับหรือประเทศอื่นในUKก็คล้ายๆกันครับ ไม่ต้องจ่ายซักบาท แต่ยกเว้นที่อังกฤษpescription9ปอนด์มั้ง กี่บาทอ่ะ 450บาทนี่ตีเรท50เลยนะ 9ปอนด์นี่ค่าแรงขั้นต่ำ1ชม.ก็ได้ละ กี่ปีละเกือบ10ปีละมั้งตอนผมเคยพาเพื่อนไปหาหมอ จริงๆเด็กต่ำกว่า18 หรือคนแก่เกิน60 หรือนักเรียนก็ฟรีนะ อย่างตอนผมเรียนไปหาก็ฟรี

คำถามสั้นๆอันนี้คุณอยู่ในระบบสาธารณสุขป่ะครับอยากทราบ? ถ้าอย่างนั้นผมจะได้ไม่แปลกใจ  




โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่
- ถึงบอกไงมันไม่มีประเทศไหนให้ฟรีแบบเราเยอะขนาดนี้ อาจจะยกเว้นอังกฤษกับศรีลังกา
แล้วยังไงถึงบอกมันสุดโต่ง ก้มันดันไปสุดเพดานแล้ว ดันไม่ได้มากกว่านี้แล้ว เพราะมันดันบุคลากรไปสุดทางให้คนรักษาเต็มmaxที่จะรับได้แล้ว อธิบายให้ฟังแล้วไง เราดูแลดีสุดในโลกแล้ว อันดับ1ยังไม่สุดโต่งอีกหรอ




ถึงบอกไง ถ้าโครงการมันดี มันต้องมีประเทศเลียนแบบเต็มไปหมดแล้ว แล้วทำไมมันไม่มี นายบอกมี 70ประเทศ ผมก้บอกมันไม่มีหรอก 70ประเทศอะที่ทำแบบเรา

รักษาฟรี(30บาทเรียกว่าฟรีละกัน)



อะไรที่มันดีอะ แล้วมันก๊อปแบบโคตรง่ายเลยโครงการแบบนี้ แล้วมีแต่ผลประโยชกับคนออกกฏหมายด้วยซ้ำได้คะแนนนิยมแบบโคตรบาน วิธีการไม่มีไรเลย เอางบกระจายไปลงแค่นั้นเอง ทำไมมันถึงไม่มีประเทศไหนทำไง


แล้วสุดท้ายคุณก้เห็นด้วยว่ามันต้องมีระบบคัดกรองที่ดีกว่านี้เยอะๆเลย

คุณบอกต้องให้คนไข้ไปคลีนิคก่อนคือคัดกรอง คลีนีคบ้านเรานี่ก้คิวล้นๆแล้ว

ถ้าจับคนตรงนี้ไปต่อมันก้คือกรณีเดียวกันอะ คลีนิคเอกชนไม่ค่อยอยากรับ

แล้วจุดประสงค์หลักของอันนี้ไม่ใช่คัดกรองคนก่อนนะ แต่เป็นทำยังไงให้รัฐไม่แบกค่าใช้จ่ายเยอะขนาดนี้ต่างหาก



อันนี้ผมไม่มีpaperนะ แต่พูดจากการวิเคราะห์ล้วนๆ คุณไปเทียบกับอังกฤษอะ

เคยอธิบายไปแล้วไงในมุมกว้างอะ อังกฤษแบกน้อยกว่าของไทยเยอะ

1. คนในประเทศจ่ายภาษีเยอะกว่าของไทย (ไม่ใช่จำนวนเงินนะ แต่เป็นจำนวน%คนที่เค้าจัดเก็บได้)
มันเลยไม่ใช่แบบ ภาษีคนแค่ 10 ล้านคนไปแบก 70-80ล้านคน

ของอังกฤษ 56 ล้าน สมมติ เก็บได้ครึ่งนึง 30ล้านคน มันก้ไปช่วยแบกได้เยอะ

2. ที่บอกว่าการแพทย์มันไม่เหมือนอาหารการกิน ไม่ใช่แบบ อังกฤษอาหารมื้อละ 300 มาไทย 50บาท
เป็นมะเร็ง เป็นต่อมลูกหมากโต สมมติรักษา 5แสน ที่ไทย ไปอังกฤษมันก้ประมาณเดียวกัน 6แสนไรงี้
แต่เงินที่เค้าเก็บได้จากภาษีต่อหัวนี่มากกว่าคนไทยน่าจะ ต่ำๆ 3เท่านะ อันนี้ขั้นต่ำสุด



สรุปจากข้อ 1+2 อังกฤษหรือประเทศที่เจริญแล้วเค้าเอาเงินมา ถมลงตรงนี้ได้เยอะจากภาษีที่เค้าเก็บได้เยอะ
(ยังอ่วมหนัก) ของไทยละ




หรือจะบอกว่ามีประเทศอื่นนอกจากอังกฤษ ขอรายชื่อประเทศก้ได้ครับ ถ้ามันดีจริง ฟรีมันดีจริง มันต้องมีให้หาอ่านได้อยุ่แล้วประเทศไหนทำอะ แล้วถ้ามันไม่มีทำก้มันไม่ดีแค่นั้นเอง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน

เมื่อไหร่โดนบังคับให้ไม่พูดสิ่งที่ควรพูด ถือว่าเราตายไปแล้ว :D
ออฟไลน์
อบรมขอไลเซนส์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 25 Nov 2008
ตอบ: 25698
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 01:24
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
ตอบเหมือนเดิม จะมีก้ทำให้สุดโต่งน้อยลงกว่านี้ ปรับให้ลงมาไม่ว่าจะเป็น

A. เพิ่มขั้นต่ำเพื่อกรองให้คนเจ็บหนักหน่อยมาหา 500 1000 อะไรก้ว่าไป
B. ให้คนที่จ่ายภาษีมีโอกาสได้รักษาก่อนถ้าคิวว่างค่อยให้คงที่ไม่จ่ายภาษีได้คิวไป (ดูโหดหน่อยเพราะมันตรงข้ามกับที่ต้องการรักษาคนที่ไม่มีรายได้จริงๆ)
C. นึกไม่ออกเร็วๆตอนนี้แฮะ แต่หลักๆก้สเกลลงมา



ตอบเหมือนเดิม ถ้ามันดีจริงทุกประเทศมันทำไปแล้ว ไม่ดียังไง ได้ทั้งฐานความนิยมจากประชาชนตัวเองก้ไม่เสียอะไร มีแต่ได้กับได้

วิธีทำไม่มีไรซับซ้อนเลย จ่าย 1 ดอล รักษาทุกโรคที่เหลือรัฐบาลเอางบไปลงให้


ไม่ว่าประเทศไหนก้เริ่มต้นได้ภายใน1ปีอะ



อ้อเสริมอีกเรื่อง ใครนึกไม่ออกดีไม่ดียังไงนะ

ลองไปเล่นเกมสร้างเมืองทั้งหลายอะ (ถึงจะบอกว่ามันเป็นเกมก้เถอะ)

แล้วประเทศกำลังพัฒนาอะ ลองไปmax เรื่องโรงพยาบาล การรักษา ทุ่มภาษีไปให้สุดดู

ประชาชนhappy จัดๆอะ แต่ระยะยาว 30 50ปี ประเทศไม่ค่อยไปไหน


ลองไปเทียบกับเล่นปกติแล้วเล่นไม่max พวกพยายาม เจริญกว่าเยอะ


ถึงจะบอกว่าเป็นแค่ระบบเกมแต่มันมีสิ่งที่จริงกว่าเยอะเลย



แล้วก้อย่างที่บอกจะมีใครไม่ชอบ ประชาชนที่อังกฤษก้ชอบ ชอบสิของฟรีใครไม่ชอบ  


ผมเพิ่มข้อcให้ครับ คือ กระจายปชช.ไปกรองที่คลินิคก่อนส่งไปรพ. ยกเว้นกรณีอุบัติเหตุหรือฉุกเฉิน

อย่างที่ตอบไปเหมือนกันถ้าไม่ดีจริงคงไม่มี70กว่าประเทศทำ และยังใช้มาจนถึงปจบ.ในไทยก็20ปีละมั้ง ถ้ามีวิธีอื่นดีกว่าคงปรับเปลี่ยนไปใช้นานแล้วผ่านมากี่รัฐบาลก็เปลี่ยนไม่ได้

ใช่ครับเริ่มง่ายแต่การสร้างรายได้เพื่อมาทดแทน"สวัสดิการ"ของรัฐในรูปแบบภาษีอื่นๆ มันก็วัดความสามารถของรัฐบาลนั้นๆแหละคับ แต่แก้ตัวให้ว่าปัจจัยภายนอกอื่นๆก็ทำให้มีปัญหาเช่นกัน

จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป

จริงๆถ้าเทียบของจริง กระทรวงกลาโหมยังได้งบประมาณมากกว่ากระทรวงสาธารณสุขเลย
แถมๆๆๆๆ กระทรวงกลาโหมนี่ขาดทุนแน่นอนอยู่ละเพราะไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขเช่นกัน
ที่จะพูดคือต้องดูจุดประสงค์ของโครงการอ่ะคับ กระทรวงกลาโหมมีงบจ้างทหาร ซื้อเครื่องบินรบ เพื่อปกป้องอธิปไตยประเทศ จะไปคิดเรื่องการคุ้มทุนขาดทุนได้ยังไงเพราะไม่ได้สร้างมาเพื่อก่อรายได้

เช่นกันประกันสุขภาพถ้วนหน้าก็ไม่ได้ตั้งมาเพื่อหารายได้เข้าประเทศ แต่จุดประสงค์คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้ประชาชน

สรุปรวมคือ ถ้าตั้งเป้าจุดประสงค์ผิดแต่แรก คำตอบมันก็ผิดแหละคับ ถ้าจุดประสงค์คือสร้างสุขภาพที่ดี ให้ปชช.เข้าถึงการรักษา แต่ไปวัดผลที่กำไร มันก็ไม่ถูกต้องคับ

 


70 กว่าประเทศเค้าก้ไม่ได้ทำแบบเราครับ

ช่วงยกตัวอย่างหน่อย

มีประเทศไหนที่ จ่ายแค่ประมาณ 30 บาท แล้วรักษาฟรีหมด ให้กับทุกคนมั่ง

จาก 70 ประเทศที่ว่ามา ขอรายชื่อประเทศหน่อย

"จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป
"

ก้บอกแล้วว่าของไทยไม่มีกรองอะไรเลย ถ้าไม่มีกรองแล้วจัด30บาทได้ให้ทุกคน รักษาเต็มที่ แล้วถือว่าเป็นอันดับ1ทางด้านนี้ ไม่เรียกสุดโต่งแล้วเรียกอะไรครับ

ถ้าแบบนี้ยังไม่สุดโต่ง คงไม่มีประเทศไหนสุดโต่งแล้วนะ




ผมจะไม่คุยที่ประเด็นอื่นนะ แบบ กลาโหมได้เงินเยอะ คิงได้เงินเยอะ เพราะส่วนตัวก้เกลียดพวกนั้นที่ได้เงินเยอะเหมือนกัน


แต่คุยในประเด็นนี้แหละ  


เอางี้คับกลับมาจุดเดิมครับจุดเดียวเลยคือ..

โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่

ส่วนตัวผมพิมพ์ไปหลายรอบแล้วว่าสมควรปรับปรุงให้มันอยู่รอดทั้งตัวโครงการและงบประมาณที่ผลาญไป หรือยุบไปเลยก็ดีถ้า มันมีโครงการที่จุดประสงค์เดียวกันแล้วคุณภาพหรือผลลัพธ์ดีกว่านี้ อย่างที่คุณบอกว่าต้องมีตัวกรองนั้นก็ใช้เลยผมก็บอกอยู่ว่าเห็นด้วย100%

ส่วนประเทศไหนก็อังกฤษไงคับหรือประเทศอื่นในUKก็คล้ายๆกันครับ ไม่ต้องจ่ายซักบาท แต่ยกเว้นที่อังกฤษpescription9ปอนด์มั้ง กี่บาทอ่ะ 450บาทนี่ตีเรท50เลยนะ 9ปอนด์นี่ค่าแรงขั้นต่ำ1ชม.ก็ได้ละ กี่ปีละเกือบ10ปีละมั้งตอนผมเคยพาเพื่อนไปหาหมอ จริงๆเด็กต่ำกว่า18 หรือคนแก่เกิน60 หรือนักเรียนก็ฟรีนะ อย่างตอนผมเรียนไปหาก็ฟรี

คำถามสั้นๆอันนี้คุณอยู่ในระบบสาธารณสุขป่ะครับอยากทราบ? ถ้าอย่างนั้นผมจะได้ไม่แปลกใจ  




โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่
- ถึงบอกไงมันไม่มีประเทศไหนให้ฟรีแบบเราเยอะขนาดนี้ อาจจะยกเว้นอังกฤษกับศรีลังกา
แล้วยังไงถึงบอกมันสุดโต่ง ก้มันดันไปสุดเพดานแล้ว ดันไม่ได้มากกว่านี้แล้ว เพราะมันดันบุคลากรไปสุดทางให้คนรักษาเต็มmaxที่จะรับได้แล้ว อธิบายให้ฟังแล้วไง เราดูแลดีสุดในโลกแล้ว อันดับ1ยังไม่สุดโต่งอีกหรอ




ถึงบอกไง ถ้าโครงการมันดี มันต้องมีประเทศเลียนแบบเต็มไปหมดแล้ว แล้วทำไมมันไม่มี นายบอกมี 70ประเทศ ผมก้บอกมันไม่มีหรอก 70ประเทศอะที่ทำแบบเรา

รักษาฟรี(30บาทเรียกว่าฟรีละกัน)



อะไรที่มันดีอะ แล้วมันก๊อปแบบโคตรง่ายเลยโครงการแบบนี้ แล้วมีแต่ผลประโยชกับคนออกกฏหมายด้วยซ้ำได้คะแนนนิยมแบบโคตรบาน วิธีการไม่มีไรเลย เอางบกระจายไปลงแค่นั้นเอง ทำไมมันถึงไม่มีประเทศไหนทำไง


แล้วสุดท้ายคุณก้เห็นด้วยว่ามันต้องมีระบบคัดกรองที่ดีกว่านี้เยอะๆเลย

คุณบอกต้องให้คนไข้ไปคลีนิคก่อนคือคัดกรอง คลีนีคบ้านเรานี่ก้คิวล้นๆแล้ว

ถ้าจับคนตรงนี้ไปต่อมันก้คือกรณีเดียวกันอะ คลีนิคเอกชนไม่ค่อยอยากรับ

แล้วจุดประสงค์หลักของอันนี้ไม่ใช่คัดกรองคนก่อนนะ แต่เป็นทำยังไงให้รัฐไม่แบกค่าใช้จ่ายเยอะขนาดนี้ต่างหาก



อันนี้ผมไม่มีpaperนะ แต่พูดจากการวิเคราะห์ล้วนๆ คุณไปเทียบกับอังกฤษอะ

เคยอธิบายไปแล้วไงในมุมกว้างอะ อังกฤษแบกน้อยกว่าของไทยเยอะ

1. คนในประเทศจ่ายภาษีเยอะกว่าของไทย (ไม่ใช่จำนวนเงินนะ แต่เป็นจำนวน%คนที่เค้าจัดเก็บได้)
มันเลยไม่ใช่แบบ ภาษีคนแค่ 10 ล้านคนไปแบก 70-80ล้านคน

ของอังกฤษ 56 ล้าน สมมติ เก็บได้ครึ่งนึง 30ล้านคน มันก้ไปช่วยแบกได้เยอะ

2. ที่บอกว่าการแพทย์มันไม่เหมือนอาหารการกิน ไม่ใช่แบบ อังกฤษอาหารมื้อละ 300 มาไทย 50บาท
เป็นมะเร็ง เป็นต่อมลูกหมากโต สมมติรักษา 5แสน ที่ไทย ไปอังกฤษมันก้ประมาณเดียวกัน 6แสนไรงี้
แต่เงินที่เค้าเก็บได้จากภาษีต่อหัวนี่มากกว่าคนไทยน่าจะ ต่ำๆ 3เท่านะ อันนี้ขั้นต่ำสุด



สรุปจากข้อ 1+2 อังกฤษหรือประเทศที่เจริญแล้วเค้าเอาเงินมา ถมลงตรงนี้ได้เยอะจากภาษีที่เค้าเก็บได้เยอะ
(ยังอ่วมหนัก) ของไทยละ




หรือจะบอกว่ามีประเทศอื่นนอกจากอังกฤษ ขอรายชื่อประเทศก้ได้ครับ ถ้ามันดีจริง ฟรีมันดีจริง มันต้องมีให้หาอ่านได้อยุ่แล้วประเทศไหนทำอะ แล้วถ้ามันไม่มีทำก้มันไม่ดีแค่นั้นเอง  


https://en.m.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_with_universal_health_care#:~:text=Countries%20with%20universal%20healthcare%20include,Ukraine%2C%20and%20the%20United%20Kingdom.

อันนี้listคับ สีเขียวเข้ม free and universal healthcare ไปนับเองนะคงอ่านออกแหละ


ส่วนอันนี้ที่คุณตอบว่า
- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย


งั้นผมสรุปเลยว่า จบตั้งแต่คำตอบนี้แล้วคับเพราะที่คุณพิมพ์ที่เหลือมาทั้งหมดคุณพูดแต่การขาดทุน แบกค่าใช้จ่าย ภาษี etc. อะไรจะพุดมาทำไมถ้าไม่ได้สนใจกำไรขาดทุน

ก็ไม่ต้องปญอ.คุยมาตั้งนานคับถ้าตอบข้อความนี้แต่แรก
เสียเวลาชีวิตจริงๆ555

ปล. ตกลงอยู่ในวงการสาธาป่ะคับถึงดิ้นจัง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ซุปตาร์ยูโร
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 27 Mar 2020
ตอบ: 20423
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 01:40
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
ตอบเหมือนเดิม จะมีก้ทำให้สุดโต่งน้อยลงกว่านี้ ปรับให้ลงมาไม่ว่าจะเป็น

A. เพิ่มขั้นต่ำเพื่อกรองให้คนเจ็บหนักหน่อยมาหา 500 1000 อะไรก้ว่าไป
B. ให้คนที่จ่ายภาษีมีโอกาสได้รักษาก่อนถ้าคิวว่างค่อยให้คงที่ไม่จ่ายภาษีได้คิวไป (ดูโหดหน่อยเพราะมันตรงข้ามกับที่ต้องการรักษาคนที่ไม่มีรายได้จริงๆ)
C. นึกไม่ออกเร็วๆตอนนี้แฮะ แต่หลักๆก้สเกลลงมา



ตอบเหมือนเดิม ถ้ามันดีจริงทุกประเทศมันทำไปแล้ว ไม่ดียังไง ได้ทั้งฐานความนิยมจากประชาชนตัวเองก้ไม่เสียอะไร มีแต่ได้กับได้

วิธีทำไม่มีไรซับซ้อนเลย จ่าย 1 ดอล รักษาทุกโรคที่เหลือรัฐบาลเอางบไปลงให้


ไม่ว่าประเทศไหนก้เริ่มต้นได้ภายใน1ปีอะ



อ้อเสริมอีกเรื่อง ใครนึกไม่ออกดีไม่ดียังไงนะ

ลองไปเล่นเกมสร้างเมืองทั้งหลายอะ (ถึงจะบอกว่ามันเป็นเกมก้เถอะ)

แล้วประเทศกำลังพัฒนาอะ ลองไปmax เรื่องโรงพยาบาล การรักษา ทุ่มภาษีไปให้สุดดู

ประชาชนhappy จัดๆอะ แต่ระยะยาว 30 50ปี ประเทศไม่ค่อยไปไหน


ลองไปเทียบกับเล่นปกติแล้วเล่นไม่max พวกพยายาม เจริญกว่าเยอะ


ถึงจะบอกว่าเป็นแค่ระบบเกมแต่มันมีสิ่งที่จริงกว่าเยอะเลย



แล้วก้อย่างที่บอกจะมีใครไม่ชอบ ประชาชนที่อังกฤษก้ชอบ ชอบสิของฟรีใครไม่ชอบ  


ผมเพิ่มข้อcให้ครับ คือ กระจายปชช.ไปกรองที่คลินิคก่อนส่งไปรพ. ยกเว้นกรณีอุบัติเหตุหรือฉุกเฉิน

อย่างที่ตอบไปเหมือนกันถ้าไม่ดีจริงคงไม่มี70กว่าประเทศทำ และยังใช้มาจนถึงปจบ.ในไทยก็20ปีละมั้ง ถ้ามีวิธีอื่นดีกว่าคงปรับเปลี่ยนไปใช้นานแล้วผ่านมากี่รัฐบาลก็เปลี่ยนไม่ได้

ใช่ครับเริ่มง่ายแต่การสร้างรายได้เพื่อมาทดแทน"สวัสดิการ"ของรัฐในรูปแบบภาษีอื่นๆ มันก็วัดความสามารถของรัฐบาลนั้นๆแหละคับ แต่แก้ตัวให้ว่าปัจจัยภายนอกอื่นๆก็ทำให้มีปัญหาเช่นกัน

จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป

จริงๆถ้าเทียบของจริง กระทรวงกลาโหมยังได้งบประมาณมากกว่ากระทรวงสาธารณสุขเลย
แถมๆๆๆๆ กระทรวงกลาโหมนี่ขาดทุนแน่นอนอยู่ละเพราะไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขเช่นกัน
ที่จะพูดคือต้องดูจุดประสงค์ของโครงการอ่ะคับ กระทรวงกลาโหมมีงบจ้างทหาร ซื้อเครื่องบินรบ เพื่อปกป้องอธิปไตยประเทศ จะไปคิดเรื่องการคุ้มทุนขาดทุนได้ยังไงเพราะไม่ได้สร้างมาเพื่อก่อรายได้

เช่นกันประกันสุขภาพถ้วนหน้าก็ไม่ได้ตั้งมาเพื่อหารายได้เข้าประเทศ แต่จุดประสงค์คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้ประชาชน

สรุปรวมคือ ถ้าตั้งเป้าจุดประสงค์ผิดแต่แรก คำตอบมันก็ผิดแหละคับ ถ้าจุดประสงค์คือสร้างสุขภาพที่ดี ให้ปชช.เข้าถึงการรักษา แต่ไปวัดผลที่กำไร มันก็ไม่ถูกต้องคับ

 


70 กว่าประเทศเค้าก้ไม่ได้ทำแบบเราครับ

ช่วงยกตัวอย่างหน่อย

มีประเทศไหนที่ จ่ายแค่ประมาณ 30 บาท แล้วรักษาฟรีหมด ให้กับทุกคนมั่ง

จาก 70 ประเทศที่ว่ามา ขอรายชื่อประเทศหน่อย

"จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป
"

ก้บอกแล้วว่าของไทยไม่มีกรองอะไรเลย ถ้าไม่มีกรองแล้วจัด30บาทได้ให้ทุกคน รักษาเต็มที่ แล้วถือว่าเป็นอันดับ1ทางด้านนี้ ไม่เรียกสุดโต่งแล้วเรียกอะไรครับ

ถ้าแบบนี้ยังไม่สุดโต่ง คงไม่มีประเทศไหนสุดโต่งแล้วนะ




ผมจะไม่คุยที่ประเด็นอื่นนะ แบบ กลาโหมได้เงินเยอะ คิงได้เงินเยอะ เพราะส่วนตัวก้เกลียดพวกนั้นที่ได้เงินเยอะเหมือนกัน


แต่คุยในประเด็นนี้แหละ  


เอางี้คับกลับมาจุดเดิมครับจุดเดียวเลยคือ..

โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่

ส่วนตัวผมพิมพ์ไปหลายรอบแล้วว่าสมควรปรับปรุงให้มันอยู่รอดทั้งตัวโครงการและงบประมาณที่ผลาญไป หรือยุบไปเลยก็ดีถ้า มันมีโครงการที่จุดประสงค์เดียวกันแล้วคุณภาพหรือผลลัพธ์ดีกว่านี้ อย่างที่คุณบอกว่าต้องมีตัวกรองนั้นก็ใช้เลยผมก็บอกอยู่ว่าเห็นด้วย100%

ส่วนประเทศไหนก็อังกฤษไงคับหรือประเทศอื่นในUKก็คล้ายๆกันครับ ไม่ต้องจ่ายซักบาท แต่ยกเว้นที่อังกฤษpescription9ปอนด์มั้ง กี่บาทอ่ะ 450บาทนี่ตีเรท50เลยนะ 9ปอนด์นี่ค่าแรงขั้นต่ำ1ชม.ก็ได้ละ กี่ปีละเกือบ10ปีละมั้งตอนผมเคยพาเพื่อนไปหาหมอ จริงๆเด็กต่ำกว่า18 หรือคนแก่เกิน60 หรือนักเรียนก็ฟรีนะ อย่างตอนผมเรียนไปหาก็ฟรี

คำถามสั้นๆอันนี้คุณอยู่ในระบบสาธารณสุขป่ะครับอยากทราบ? ถ้าอย่างนั้นผมจะได้ไม่แปลกใจ  




โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่
- ถึงบอกไงมันไม่มีประเทศไหนให้ฟรีแบบเราเยอะขนาดนี้ อาจจะยกเว้นอังกฤษกับศรีลังกา
แล้วยังไงถึงบอกมันสุดโต่ง ก้มันดันไปสุดเพดานแล้ว ดันไม่ได้มากกว่านี้แล้ว เพราะมันดันบุคลากรไปสุดทางให้คนรักษาเต็มmaxที่จะรับได้แล้ว อธิบายให้ฟังแล้วไง เราดูแลดีสุดในโลกแล้ว อันดับ1ยังไม่สุดโต่งอีกหรอ




ถึงบอกไง ถ้าโครงการมันดี มันต้องมีประเทศเลียนแบบเต็มไปหมดแล้ว แล้วทำไมมันไม่มี นายบอกมี 70ประเทศ ผมก้บอกมันไม่มีหรอก 70ประเทศอะที่ทำแบบเรา

รักษาฟรี(30บาทเรียกว่าฟรีละกัน)



อะไรที่มันดีอะ แล้วมันก๊อปแบบโคตรง่ายเลยโครงการแบบนี้ แล้วมีแต่ผลประโยชกับคนออกกฏหมายด้วยซ้ำได้คะแนนนิยมแบบโคตรบาน วิธีการไม่มีไรเลย เอางบกระจายไปลงแค่นั้นเอง ทำไมมันถึงไม่มีประเทศไหนทำไง


แล้วสุดท้ายคุณก้เห็นด้วยว่ามันต้องมีระบบคัดกรองที่ดีกว่านี้เยอะๆเลย

คุณบอกต้องให้คนไข้ไปคลีนิคก่อนคือคัดกรอง คลีนีคบ้านเรานี่ก้คิวล้นๆแล้ว

ถ้าจับคนตรงนี้ไปต่อมันก้คือกรณีเดียวกันอะ คลีนิคเอกชนไม่ค่อยอยากรับ

แล้วจุดประสงค์หลักของอันนี้ไม่ใช่คัดกรองคนก่อนนะ แต่เป็นทำยังไงให้รัฐไม่แบกค่าใช้จ่ายเยอะขนาดนี้ต่างหาก



อันนี้ผมไม่มีpaperนะ แต่พูดจากการวิเคราะห์ล้วนๆ คุณไปเทียบกับอังกฤษอะ

เคยอธิบายไปแล้วไงในมุมกว้างอะ อังกฤษแบกน้อยกว่าของไทยเยอะ

1. คนในประเทศจ่ายภาษีเยอะกว่าของไทย (ไม่ใช่จำนวนเงินนะ แต่เป็นจำนวน%คนที่เค้าจัดเก็บได้)
มันเลยไม่ใช่แบบ ภาษีคนแค่ 10 ล้านคนไปแบก 70-80ล้านคน

ของอังกฤษ 56 ล้าน สมมติ เก็บได้ครึ่งนึง 30ล้านคน มันก้ไปช่วยแบกได้เยอะ

2. ที่บอกว่าการแพทย์มันไม่เหมือนอาหารการกิน ไม่ใช่แบบ อังกฤษอาหารมื้อละ 300 มาไทย 50บาท
เป็นมะเร็ง เป็นต่อมลูกหมากโต สมมติรักษา 5แสน ที่ไทย ไปอังกฤษมันก้ประมาณเดียวกัน 6แสนไรงี้
แต่เงินที่เค้าเก็บได้จากภาษีต่อหัวนี่มากกว่าคนไทยน่าจะ ต่ำๆ 3เท่านะ อันนี้ขั้นต่ำสุด



สรุปจากข้อ 1+2 อังกฤษหรือประเทศที่เจริญแล้วเค้าเอาเงินมา ถมลงตรงนี้ได้เยอะจากภาษีที่เค้าเก็บได้เยอะ
(ยังอ่วมหนัก) ของไทยละ




หรือจะบอกว่ามีประเทศอื่นนอกจากอังกฤษ ขอรายชื่อประเทศก้ได้ครับ ถ้ามันดีจริง ฟรีมันดีจริง มันต้องมีให้หาอ่านได้อยุ่แล้วประเทศไหนทำอะ แล้วถ้ามันไม่มีทำก้มันไม่ดีแค่นั้นเอง  


https://en.m.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_with_universal_health_care#:~:text=Countries%20with%20universal%20healthcare%20include,Ukraine%2C%20and%20the%20United%20Kingdom.

อันนี้listคับ สีเขียวเข้ม free and universal healthcare ไปนับเองนะคงอ่านออกแหละ


ส่วนอันนี้ที่คุณตอบว่า
- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย


งั้นผมสรุปเลยว่า จบตั้งแต่คำตอบนี้แล้วคับเพราะที่คุณพิมพ์ที่เหลือมาทั้งหมดคุณพูดแต่การขาดทุน แบกค่าใช้จ่าย ภาษี etc. อะไรจะพุดมาทำไมถ้าไม่ได้สนใจกำไรขาดทุน

ก็ไม่ต้องปญอ.คุยมาตั้งนานคับถ้าตอบข้อความนี้แต่แรก
เสียเวลาชีวิตจริงๆ555

ปล. ตกลงอยู่ในวงการสาธาป่ะคับถึงดิ้นจัง  


เดว ที่บอกขาดทุนเหมือนกันไม่ต้องคุย จะบ้าตาย


ขาดทุน 10บาทกับ 1000บาท บอกขาดทุนเหมือนกันได้มั๊ยวะเนี่ย


เผื่อไม่รุ้ตอนนี้รพรัฐของไทยเป็นแบบที่เอามาให้อ่านข้างล่างหมดเลย

แล้วรุ้หรือไม่ รพเอกชนตอนนี้กำลังโดนกว้านซื้อจากคนที่มีเงินเยอะ เพราะรุ้ว่าต่อไปรพรัฐจะแทบล้มหมดแน่นอน

ถามว่ามาจากวงในมั๊ย ก้พอรุ้เรื่องเยอะอยุ่ไม่งั้นไม่พิมออกมาได้เยอะขนาดนี้หรอก



ลองอ่าน อันนี้
Spoil


ขออนุญาตแสดงความคิดเห็น ในฐานะแพทย์ที่ทำงานอยู่ในรพ.ศูนย์ของรัฐบาลในภาคอีสานนะครับ

นโยบาย 30 บาท หรือ นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้น เป็นระบบที่ดีมากครับ ถือเป็นระบบสุขภาพในฝันเลยที่เดียว เอื้อประโยชน์ให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่มีมาตรฐานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย

ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างชัดเจนอยู่แล้ว ตรวจรักษาฟรี ผ่าตัดฟรี ค่ายาก็เกือบฟรี ถึงต้องจ่ายเพิ่มเติม ก็นับว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับเมื่อก่อน
ในฐานะแพทย์ที่ตรวจรักษาเอง ในหน้างานผมก็ชอบนะ ทำงานง่ายดีครับ ใครเข้ามาก็สั่งการรักษาได้เลย ไม่ต้องกังวลเรื่องเงิน เช็คสิทธิ์ 30 บาทผ่านปุ๊บก็เรียบร้อย

แล้วทำไมหมอส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับ 30 บาท?

เพราะประเทศไทยยังไม่พร้อมสำหรับระบบในฝันนี้ครับ และในระยะยาว มีโอกาสระบบรพ.รัฐจะเจ๊งกันหมดสูงครับ

เพราะ... การตรวจ การรักษา ต้องใช้เงิน รพ.ต้องมีค่าใช้จ่าย ค่ายา ค่าจ้างบุคลากร ค่าบำรุงพัสดุเก่า ค่าพัฒนาสร้างอะไรใหม่ๆ แต่เดิม รายได้ของรพ.รัฐ มาจากเงินสนับสนุนของรัฐบาลส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งโรงพยาบาลก็มีรายได้จากการเก็บค่ารักษาจากผู้ป่วย รพ.รัฐก็พออยู่ได้ ส่วนกำไรที่พอจะมี ก็นำมาใช้เป็นงบพัฒนา และก็ใช้ในการสงเคราะห์ผู้ป่วยที่ไม่สามารถจ่ายเงินเองได้ แต่ในเมื่อรัฐบาลออกนโยบายมาว่า ผู้รับบริการไม่ต้องจ่ายเงิน รายได้ของรพ.รัฐทั้งหมด ก็จะมาจากเงินที่รัฐบาล "บอกว่าจะจ่ายให้" ใช่ไหมครับ ในทางปฏิบัติก็คือ เวลามีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น ให้รพ.ออกไปก่อน แล้วค่อยส่งบิลไปคิดกับรัฐบาล (สปสช.) อีกทีหนึ่งครับ (ซึ่งเขาจะมีหลักการพิจารณาอีกที ว่าที่เราขอเบิกไปน่ะ มันสมควรจ่ายให้ไหม? ว่าแต่.... เงินมันใช้ไปแล้วอะครับ ถ้าท่านไม่จ่ายคืน รพ.ผมจะเอาที่ไหนมาใช้?)

มันเป็นการผลักภาระค่าใช้จ่ายจากภาระส่วนบุคคล ไปเป็นภาระของประเทศ

ติดตรงที่ว่าประเทศเราดันไม่มีตังก์จ่ายนี่สิครับ
ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศร่ำรวยเลย เรายังติดหนี้นู่นนี่นั่นอยู่อีกตั้งเยอะแยะ (แถมยังจะไปกู้เขาเพิ่มอีกแน่ะ)

จู่ๆก็มีรายจ่ายตรงนี้เพิ่มขึ้นมหาศาล รัฐบาลไม่มีทางมีตังก์จ่ายคืนให้รพ.ได้ครบ รพ.รัฐก็ติดตัวแดง ขาดทุนกันระนาวสิครับ
คราวนี้ต้องรัดเข็มขัดครับ ยาใหม่ๆ ดีไม่ดีไม่รู้ แต่ถ้ารัฐไม่อนุมัติก็จ่ายไม่ได้นะครับ (อย่าด่าหมอนะ)
คนไข้มาใช้บริการมากขึ้น งานหนักขึ้น(จริงๆนะ) แต่ค่าตอบแทนบุคลากรไม่เพิ่ม (โดนลดด้วยนะครับ T_T)
รัฐ"สั่ง" ให้พัฒนาคุณภาพการบริการ แต่ไม่สนใจคุณภาพชีวิตผู้ปฏิบัติงาน
แล้วคนทำงานที่ไหนจะอยากอยู่กับสถานพยาบาลของรัฐต่อครับ

ปัจจุบัน ระบบสาธารณสุขไทยต้องเรียกว่าอยู่กันแบบกระอักเลือดครับ
รัฐบาลยังคงต้องจ่ายค่าใช้จ่ายมหาศาลในการรักษาสัญญาต่อประชาชนที่ได้ให้ไปแล้ว และรพ.รัฐยังคงขาดทุน
แต่เริ่มไปแล้วย่อมไม่สามารถถอยกลับได้ และการเรียกเก็บภาษีเพิ่ม ยังไม่สามารถทำได้
ทางรอดก็คือการต้องยอมปรับลดมาตรฐานการรักษา? และการตัดสิทธิ์ต่างๆ ดังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน

ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือ 30 บาท หากจะให้ประสบความสำเร็จ ในระบบต้องเน้นการพัฒนาระบบสาธารณสุขมูลฐาน เน้นการป้องกันโรค การพัฒนาระบบอนามัยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่ายที่สุด ประชาชนต้องมีความรู้ในการดูแลตนเองที่ดี รักษาโรคแต่แรกเริ่มเพื่อลดค่าใช้จ่ายที่สูงในการรักษาโรคซับซ้อน ต้องทำส่วนนี้ให้สำเร็จก่อน จึงค่อยเริ่มใช้ระบบ
ส่วนด้านรัฐก็ต้องมีฐานรายได้ที่มั่นคงพอที่จะใช้ในค่าใช้จ่ายตรงนี้ นั่นคือต้องมีอัตราประชากรที่เสียภาษีที่มากถึงระดับหนึ่ง จึงจะใช้นโยบายนี้ได้อย่างได้ผลและไม่ขาดทุนในระยะยาว

ก่อนนั้นประเทศไทยกำลังพัฒนาไปในทิศทางนั้นแหละครับ แต่เรายังไปไม่ถึง เมื่อสาธารณสุขมูลฐานและประชาชนยังไม่พร้อม โรคซับซ้อนก็ยังมีมาก เงินที่รัฐต้องจ่ายจริงย่อมสูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ประมาณการ
ผมไม่เถียงเลยว่า ระบบ 30 บาท เป็นระบบที่ดีมาก มีข้อดีมากมายมหาศาล ผมจะมีความสุขมากถ้าไม่ติดตรงที่ว่า
มันก็มาคู่กับภาระอันหนักหน่วงเหมือนกัน ซึ่ง เราพร้อมจ่ายแล้วหรือ?
ประเทศที่รวยกว่าเรามากๆอย่างจีน เขายังไม่กล้าทำเลยครับ

มันให้ความรู้สึกเหมือนกับเราเป็นพนักงานกินเงินเดือนคนนึง แต่ดันไปถอยเฟอร์รารีมาขับ
รถดีไหม?... แรกๆดีครับ คนขับ(หมอ)สบาย คนนั่ง(ผู้รับบริการ)ก็ชอบไปถึงจุดหมายเร็วขึ้น เพื่อนรอบข้างชื่นชม
แต่ต่อมา เงินเริ่มไม่ค่อยพอ ไม่มีเงินบำรุงรักษา รถที่ควรจะดี ก็อาจไม่ดีเท่าที่ควร
แถมถ้าวันดีคืนร้าย หมุนเงินพลาดนิดเดียว ไม่มีเงินจ่ายค่าผ่อนรถ อาจถูกยึดรถคืน คราวนี้ละยิ้มเลยละครับ

ในความรู้สึกของผม นโยบาย 30 บาท ถูกเร่งประกาศใช้เร็วเกินไป ไม่ว่าจะเพื่อเรียกคะแนนเสียงทางการเมือง หรืออะไรก็แล้วแต่
เราดันทะลึ่งซื้อเฟอร์รารีมาแล้วครับ จะคืนก็ไม่ได้ แต่จะขับม้นได้ตลอดรอดฝั่งหรือไม่ยังไม่รู้
แน่นอนครับ คนที่ซื้อมันมา คนที่ประกาศใช้นโยบายย่อมเชื่อว่าเขา "เอาอยู่"
แต่คนในอย่างพวกผมย่อมรู้ดีว่าการเดิมพันนี้มันเสี่ยงมากๆๆๆๆแค่ไหน
ก็ได้แต่พยายามประคองกันไปแบบรากเลือด เหมือนที่ทำกันอยู่ทุกวันนี้
หากสำเร็จ ไทยเราจะเป็นหนึ่งในประเทศทีมีระบบบริการสุขภาพที่ดีที่สุดในโลก

นั่นคือหากเราไม่ถูกยึดรถ ล่มจม และล้มละลายไปเสียก่อนนะครับ
T_T  



Spoil
น่าจะบอกว่า...ระบบบัตรทองกำลังทำให้ระบบสุขภาพไทยล้มเหลวมากกว่าค่ะ

เราไม่ขอบอกว่าบัตรทองเป็นนโยบายที่ไม่ดี...เป็นนโยบายที่ดีค่ะ
แต่คนไทยยังไม่พี้อมกับระบบนี้

ระบบบัตรทอง มันจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อคนที่อยู่ในระบบรู้จักดูแลตัวเองค่ะ
กินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ เมาไม่ขับ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองในเบื้องตัน

...ที่นี้ลองย้อนกลับมามองคนไทยกันเองแล้ว...มีสักแค่ไหนกันคะที่สามารถทำได้ตามนั้น
สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ของคนไทย ไม่ใช่โรคติดเชื้อ...แต่เป็นโรคทำตัวเอง ที่เกิดจาการไม่ดูแลสุขภาพของตัวเอง

ระบบสุขภาพของไทยตอนนี้เป็นแบบซ่อมสุขภาพ...ทั้งๆที่มันควรจะเป็นสร้างสุขภาพค่ะ

ในเรื่องของเงิน...ของฟรีไม่มีค่า...คำพูดนี้คงจะไม่เกินไปนัก
พอคนเห็นว่าไปหาหมอได้ฟรีๆ ค่ายาก็ฟรี...ก็มีคนจำนวนไม่น้อยเลยที่ไม่สนใจดูแลสุขภาพตัวเองแล้วก็มาเข้ารับการรักษาที่โรงพยายาลเรื่อยๆ
จนรายจ่ายมันมากกว่ารายรับมากมาย ตอนนี้ก็มีโรงพยาบาลหลายๆแห่งที่ฐานะทางการเงินติดตัวแดง
ลูกจ้างตกเบิกแล้ว ตกเบิกอีก จนต้องไปกู้เงินมาใช้รายเดือนมีให้เห็นอยู่ทั่วไป

...ถามว่าเพราะอะไร...ก็บัตรทองนี่ล่ะค่ะ

...ลูกจ้างที่รู้ว่าไม่ได้เงินเดือน...ใครเขาจะอยู่คะ
...บริษัทยาที่รู้ว่าจะได้ค่ายา...ใครเขาจะขายยาให้คะ
...ไหนจะค่าเครื่องมือ...อุปกรณ์สารพัด...ของพวกนี้ไม่ได้ถูกเลยนะคะ
...ไม่ต้องพูดถึงเรื่องการพัฒนาเทคนิค วิธีการรักษาแบบใหม่ๆเลยค่ะ

พอบุคลการทยอยออก งานมันก็จะโหลดไปที่คนที่ยังอยู่
ต่อไปโรงพยาบาลรัฐถ้าไม่ใช่นักบุญผู้อุทิศตัว ทำงานเช้ายันเย็น ไม่ต้องกินข้าว เงินเดือนรอตกเบิกได้ไม่มีปัญหา ก็คงไม่มีใครอยู่หรอกค่ะ

พอสถานการณ์เป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ ที่นี้ก็จะถึงจุดที่ล้มเหลวของระบบสาธารณสุขเข้าจริงๆแล้วค่ะ
...โรงพยาบาลรัฐจะเหลือแต่เด็กใหม่ใช้ทุน หมอเก่าๆ ประสบการณ์มากๆ พยาบาล นักเทคนิคที่เชี่ยวๆ ก็ออกกันหมด
...ยาก็ไม่มี อุปกรณ์ก็ไม่มี...

สุดท้ายโรงพยาบาลเอกชนก็จะกลายเป็นที่พึ่งของประชาชน...แล้วค่ารักษาล่ะค่ะ
เงินไม่มี...ถ้าไม่ฉุกเฉินเค้าก็ไม่รักษาหรอกนะคะ...ธุรกิจ...คือ...ธุรกิจค่ะ

ฟังดูเลวร้ายมากเลยใช่ไหมค่ะ ดูไม่น่าเป็นไปได้เลยไหมคะ
แต่ถ้าปล่อยแบบนี้ต่อไป เป็นไปได้แน่ๆค่ะ แต่อาจจะเป็นสัก 20-30 ปีข้างหน้า  



Spoil
ปัญหาที่คุณเจ้าของกระทู้ว่ามานั้นจริงเลยทีเดียว
แต่ผลมันออกมาเห็นในขณะนี้ไม่ชัดเจน อีก 5-10 ปีข้างหน้าภาพการโหลดงาน และค่าบริการการรักษาจะชัดเจนยิ่งกว่านี้

ความต่างของค่ารักษาอีก 5 ปีข้างหน้าจะแพงขึ้นแบบคนไม่มีประกันจ่ายเองไม่ได้เลย
ถึงโครงการ 30 บาทจะทำให้ประชากรได้เข้าถึงการรักษามากขึ้น ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น
แต่ตอนนี้เงินในโครงการเป็นระบบเอาเงินอนาคตมาใช้ คือ รักษาไปก่อน(พยายามให้มีการรักษาในงบที่ต่ำสุดเท่าที่ทำได้)
แล้วเอายอดการรักษาไปเบิกกับรัฐ ในบางรายค่ายา 500 เบิกได้ 2000 บางราย 50000 เบิกได้ 2000
มันยากที่พยุงค่ารักษา ค่ายา ให้รพ.สามารถดำเนินการต่อไปได้ในอนาคต

เราอยากให้มีโครงการนี้นะ แต่มันจะทำได้นานแค่ไหน?
มองแบบความเป็นจริง ยาเป็นต้นทุน ค่าแรงบุคคลากรทางการแพทย์เป็นต้นทุน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเสื่อมสถานที่ อุปกรณ์เครื่องมือเป็นต้นทุน
และด้วยโครงการนี้ ทำให้มีร่ายจ่ายเพิ่มขึ้น สวนทางกับรายรับที่ต่ำลง
ถ้ารัฐบาลประเทศเรามีเงินอุดหนุนมันไปตลอด มันย่อมดีกับประชากร
แต่คำถาม? มันมีเงินเหรอ?
ตอนนี้งบก็ถูกตัดหั่นลดลงไป เพราะรัฐไม่มีงบอุดหนุน จ่ายเงินให้รพ.ล่าช้า แล้วรพ.จะเิอาทุนที่ไหนไปจ่ายค่ายาที่ต้องจ่ายให้ผู้ป่วย?
รพ.ต้องซื้อยาให้ถูกลง ต้องใช้ยาที่ผลิตในประเทศที่ราคาถูกกว่า ประสิทธิภาพน้อยกว่า
ยาที่จำเป็นต้องใช้ในการรักษาให้ดีที่สุด จ่ายไม่ได้เพราะอยู่นอกบัญชีที่นโยบายนี้จะจ่ายให้ได้
ในระยะแรกของโครงการเราไม่เห็นผล เพราะรพ.ที่เข้าโครงการยังพอมีทุนหมุนเวียน
แต่ตอนนี้ทุนมันหดลงไปเรื่อยๆ เพราะไม่มีงบมาช่วยเหลือ
รพ.ก็ออกจากโครงการไป ที่ฝืนอยู่ไปก็ต้องลดระดับการรักษา ด้วยการลดคุณภาพยา
(โอเค ถ้าโรคที่ผุ้ป่วยเป็นใช้ยาที่ประสิทธิภาพลดลงแล้วไม่เป็นไร ถือว่าผู้ป่วยโชคดีไป แต่ก็ใช่ว่าทุกคนจะโชคดีเท่ากันหมด)

อีกหน่อยโครงการนี้ก็คงหดลงไปเรื่อยๆ

โครงการนี้มันดีจริงๆ แต่ประเทศเราไม่มีงบประมาณมากพอจะทำให้มันดีกับประชาชนตลอดกาลค่ะ
มันจะดีในช่วง 10 ปีแรก หลังจากนั้นระบบบริการสาธารณสุขจะล่ม
หมอที่จะทำงานรพ.รัฐจะยิ่งหดตัวลง
พยาบาลยิ่งลำบากกว่า เพราะการตัดงบทำให้ไม่ไดรับการบรรจุเข้าทำงาน เงินเดือนจะต่ำกว่าที่ควร รวมไปถึงไม่ได้รับสวัสดิการ
บุคคลากรทางการแพทย์ก็คนนะคะ ทุกคนจะหนีเข้าสู่รพ.เอกชน
รพ.รัฐจะให้บริการต่ำลงเรื่อยๆ ทั้งในแง่คุณภาพและจำนวน เพราะขาดแคลนงบประมาณ
รพ.เอกชนจะให้บริการดีขึ้น และเก็บค่ารักษาแพงขึ้นเพราะเข้าสู่ระบบผูกขาด

ไม่ต้องตอบอะไรเราค่ะ มองตอนนี้กับ 10 ปีก่อน
แล้วรอผลอีก 10 ปีข้างหน้า
ยาหวานตอนนี้ แค่พยุงอาการ โรคไม่หายขาด อีก 10 ปีแสดงอาการตอนนั้นก็รักษาไม่ทันแล้ว

ทุกท่านที่ได้รับประโยชน์จากโครงการนี้เราดีใจด้วยจริงๆ แต่เสียดายแทนที่มันจะอยู่บริการในระดับนี้ได้อีกไม่นาน



 






Spoil
30 บาทมันอยู่ได้แหละครับ เพราะงบประมาณของ 30 บาทก็ประมาณ 2 แสนล้าน พอดิบพอดีกับงบสาธารณะสุข

มันก็อยู่ของมันไปได้เรื่อยๆแหละครับ เพียงแต่สาธารณสุขก็ไม่มีงบไปทำอย่างอื่น ไม่มีงบไปสร้างโรงพยาบาลเพิ่ม ซื้อเครื่องมือ ซ่อมแซมเครื่องมือ

ก็อยู่แบบนี้ไปเรื่อยๆก็ได้ครับ แต่อนาคตอย่ามาเรียกร้องว่า รพ รัฐ ทำไมมันห่างกับ รพ เอกชน ราวฟ้ากับเหวขนาดนี้ละกัน

เห็นเลขขาดทุน แต่ไม่มีใครคิดจะแก้ ปล่อยไปเรื่อยๆ เดี๋ยวก็เน่าเหมือนการบินไทย การรถไฟล่ะ  



ทั้งหมดคือตรงและจริงหมดเลย

รพรัฐไม่ได้พัฒนาอะไรมานานแล้ว คนเก่งย้ายออกอย่างเยอะ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน

เมื่อไหร่โดนบังคับให้ไม่พูดสิ่งที่ควรพูด ถือว่าเราตายไปแล้ว :D
ออฟไลน์
อบรมขอไลเซนส์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 25 Nov 2008
ตอบ: 25698
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 01:55
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
ตอบเหมือนเดิม จะมีก้ทำให้สุดโต่งน้อยลงกว่านี้ ปรับให้ลงมาไม่ว่าจะเป็น

A. เพิ่มขั้นต่ำเพื่อกรองให้คนเจ็บหนักหน่อยมาหา 500 1000 อะไรก้ว่าไป
B. ให้คนที่จ่ายภาษีมีโอกาสได้รักษาก่อนถ้าคิวว่างค่อยให้คงที่ไม่จ่ายภาษีได้คิวไป (ดูโหดหน่อยเพราะมันตรงข้ามกับที่ต้องการรักษาคนที่ไม่มีรายได้จริงๆ)
C. นึกไม่ออกเร็วๆตอนนี้แฮะ แต่หลักๆก้สเกลลงมา



ตอบเหมือนเดิม ถ้ามันดีจริงทุกประเทศมันทำไปแล้ว ไม่ดียังไง ได้ทั้งฐานความนิยมจากประชาชนตัวเองก้ไม่เสียอะไร มีแต่ได้กับได้

วิธีทำไม่มีไรซับซ้อนเลย จ่าย 1 ดอล รักษาทุกโรคที่เหลือรัฐบาลเอางบไปลงให้


ไม่ว่าประเทศไหนก้เริ่มต้นได้ภายใน1ปีอะ



อ้อเสริมอีกเรื่อง ใครนึกไม่ออกดีไม่ดียังไงนะ

ลองไปเล่นเกมสร้างเมืองทั้งหลายอะ (ถึงจะบอกว่ามันเป็นเกมก้เถอะ)

แล้วประเทศกำลังพัฒนาอะ ลองไปmax เรื่องโรงพยาบาล การรักษา ทุ่มภาษีไปให้สุดดู

ประชาชนhappy จัดๆอะ แต่ระยะยาว 30 50ปี ประเทศไม่ค่อยไปไหน


ลองไปเทียบกับเล่นปกติแล้วเล่นไม่max พวกพยายาม เจริญกว่าเยอะ


ถึงจะบอกว่าเป็นแค่ระบบเกมแต่มันมีสิ่งที่จริงกว่าเยอะเลย



แล้วก้อย่างที่บอกจะมีใครไม่ชอบ ประชาชนที่อังกฤษก้ชอบ ชอบสิของฟรีใครไม่ชอบ  


ผมเพิ่มข้อcให้ครับ คือ กระจายปชช.ไปกรองที่คลินิคก่อนส่งไปรพ. ยกเว้นกรณีอุบัติเหตุหรือฉุกเฉิน

อย่างที่ตอบไปเหมือนกันถ้าไม่ดีจริงคงไม่มี70กว่าประเทศทำ และยังใช้มาจนถึงปจบ.ในไทยก็20ปีละมั้ง ถ้ามีวิธีอื่นดีกว่าคงปรับเปลี่ยนไปใช้นานแล้วผ่านมากี่รัฐบาลก็เปลี่ยนไม่ได้

ใช่ครับเริ่มง่ายแต่การสร้างรายได้เพื่อมาทดแทน"สวัสดิการ"ของรัฐในรูปแบบภาษีอื่นๆ มันก็วัดความสามารถของรัฐบาลนั้นๆแหละคับ แต่แก้ตัวให้ว่าปัจจัยภายนอกอื่นๆก็ทำให้มีปัญหาเช่นกัน

จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป

จริงๆถ้าเทียบของจริง กระทรวงกลาโหมยังได้งบประมาณมากกว่ากระทรวงสาธารณสุขเลย
แถมๆๆๆๆ กระทรวงกลาโหมนี่ขาดทุนแน่นอนอยู่ละเพราะไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขเช่นกัน
ที่จะพูดคือต้องดูจุดประสงค์ของโครงการอ่ะคับ กระทรวงกลาโหมมีงบจ้างทหาร ซื้อเครื่องบินรบ เพื่อปกป้องอธิปไตยประเทศ จะไปคิดเรื่องการคุ้มทุนขาดทุนได้ยังไงเพราะไม่ได้สร้างมาเพื่อก่อรายได้

เช่นกันประกันสุขภาพถ้วนหน้าก็ไม่ได้ตั้งมาเพื่อหารายได้เข้าประเทศ แต่จุดประสงค์คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้ประชาชน

สรุปรวมคือ ถ้าตั้งเป้าจุดประสงค์ผิดแต่แรก คำตอบมันก็ผิดแหละคับ ถ้าจุดประสงค์คือสร้างสุขภาพที่ดี ให้ปชช.เข้าถึงการรักษา แต่ไปวัดผลที่กำไร มันก็ไม่ถูกต้องคับ

 


70 กว่าประเทศเค้าก้ไม่ได้ทำแบบเราครับ

ช่วงยกตัวอย่างหน่อย

มีประเทศไหนที่ จ่ายแค่ประมาณ 30 บาท แล้วรักษาฟรีหมด ให้กับทุกคนมั่ง

จาก 70 ประเทศที่ว่ามา ขอรายชื่อประเทศหน่อย

"จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป
"

ก้บอกแล้วว่าของไทยไม่มีกรองอะไรเลย ถ้าไม่มีกรองแล้วจัด30บาทได้ให้ทุกคน รักษาเต็มที่ แล้วถือว่าเป็นอันดับ1ทางด้านนี้ ไม่เรียกสุดโต่งแล้วเรียกอะไรครับ

ถ้าแบบนี้ยังไม่สุดโต่ง คงไม่มีประเทศไหนสุดโต่งแล้วนะ




ผมจะไม่คุยที่ประเด็นอื่นนะ แบบ กลาโหมได้เงินเยอะ คิงได้เงินเยอะ เพราะส่วนตัวก้เกลียดพวกนั้นที่ได้เงินเยอะเหมือนกัน


แต่คุยในประเด็นนี้แหละ  


เอางี้คับกลับมาจุดเดิมครับจุดเดียวเลยคือ..

โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่

ส่วนตัวผมพิมพ์ไปหลายรอบแล้วว่าสมควรปรับปรุงให้มันอยู่รอดทั้งตัวโครงการและงบประมาณที่ผลาญไป หรือยุบไปเลยก็ดีถ้า มันมีโครงการที่จุดประสงค์เดียวกันแล้วคุณภาพหรือผลลัพธ์ดีกว่านี้ อย่างที่คุณบอกว่าต้องมีตัวกรองนั้นก็ใช้เลยผมก็บอกอยู่ว่าเห็นด้วย100%

ส่วนประเทศไหนก็อังกฤษไงคับหรือประเทศอื่นในUKก็คล้ายๆกันครับ ไม่ต้องจ่ายซักบาท แต่ยกเว้นที่อังกฤษpescription9ปอนด์มั้ง กี่บาทอ่ะ 450บาทนี่ตีเรท50เลยนะ 9ปอนด์นี่ค่าแรงขั้นต่ำ1ชม.ก็ได้ละ กี่ปีละเกือบ10ปีละมั้งตอนผมเคยพาเพื่อนไปหาหมอ จริงๆเด็กต่ำกว่า18 หรือคนแก่เกิน60 หรือนักเรียนก็ฟรีนะ อย่างตอนผมเรียนไปหาก็ฟรี

คำถามสั้นๆอันนี้คุณอยู่ในระบบสาธารณสุขป่ะครับอยากทราบ? ถ้าอย่างนั้นผมจะได้ไม่แปลกใจ  




โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่
- ถึงบอกไงมันไม่มีประเทศไหนให้ฟรีแบบเราเยอะขนาดนี้ อาจจะยกเว้นอังกฤษกับศรีลังกา
แล้วยังไงถึงบอกมันสุดโต่ง ก้มันดันไปสุดเพดานแล้ว ดันไม่ได้มากกว่านี้แล้ว เพราะมันดันบุคลากรไปสุดทางให้คนรักษาเต็มmaxที่จะรับได้แล้ว อธิบายให้ฟังแล้วไง เราดูแลดีสุดในโลกแล้ว อันดับ1ยังไม่สุดโต่งอีกหรอ




ถึงบอกไง ถ้าโครงการมันดี มันต้องมีประเทศเลียนแบบเต็มไปหมดแล้ว แล้วทำไมมันไม่มี นายบอกมี 70ประเทศ ผมก้บอกมันไม่มีหรอก 70ประเทศอะที่ทำแบบเรา

รักษาฟรี(30บาทเรียกว่าฟรีละกัน)



อะไรที่มันดีอะ แล้วมันก๊อปแบบโคตรง่ายเลยโครงการแบบนี้ แล้วมีแต่ผลประโยชกับคนออกกฏหมายด้วยซ้ำได้คะแนนนิยมแบบโคตรบาน วิธีการไม่มีไรเลย เอางบกระจายไปลงแค่นั้นเอง ทำไมมันถึงไม่มีประเทศไหนทำไง


แล้วสุดท้ายคุณก้เห็นด้วยว่ามันต้องมีระบบคัดกรองที่ดีกว่านี้เยอะๆเลย

คุณบอกต้องให้คนไข้ไปคลีนิคก่อนคือคัดกรอง คลีนีคบ้านเรานี่ก้คิวล้นๆแล้ว

ถ้าจับคนตรงนี้ไปต่อมันก้คือกรณีเดียวกันอะ คลีนิคเอกชนไม่ค่อยอยากรับ

แล้วจุดประสงค์หลักของอันนี้ไม่ใช่คัดกรองคนก่อนนะ แต่เป็นทำยังไงให้รัฐไม่แบกค่าใช้จ่ายเยอะขนาดนี้ต่างหาก



อันนี้ผมไม่มีpaperนะ แต่พูดจากการวิเคราะห์ล้วนๆ คุณไปเทียบกับอังกฤษอะ

เคยอธิบายไปแล้วไงในมุมกว้างอะ อังกฤษแบกน้อยกว่าของไทยเยอะ

1. คนในประเทศจ่ายภาษีเยอะกว่าของไทย (ไม่ใช่จำนวนเงินนะ แต่เป็นจำนวน%คนที่เค้าจัดเก็บได้)
มันเลยไม่ใช่แบบ ภาษีคนแค่ 10 ล้านคนไปแบก 70-80ล้านคน

ของอังกฤษ 56 ล้าน สมมติ เก็บได้ครึ่งนึง 30ล้านคน มันก้ไปช่วยแบกได้เยอะ

2. ที่บอกว่าการแพทย์มันไม่เหมือนอาหารการกิน ไม่ใช่แบบ อังกฤษอาหารมื้อละ 300 มาไทย 50บาท
เป็นมะเร็ง เป็นต่อมลูกหมากโต สมมติรักษา 5แสน ที่ไทย ไปอังกฤษมันก้ประมาณเดียวกัน 6แสนไรงี้
แต่เงินที่เค้าเก็บได้จากภาษีต่อหัวนี่มากกว่าคนไทยน่าจะ ต่ำๆ 3เท่านะ อันนี้ขั้นต่ำสุด



สรุปจากข้อ 1+2 อังกฤษหรือประเทศที่เจริญแล้วเค้าเอาเงินมา ถมลงตรงนี้ได้เยอะจากภาษีที่เค้าเก็บได้เยอะ
(ยังอ่วมหนัก) ของไทยละ




หรือจะบอกว่ามีประเทศอื่นนอกจากอังกฤษ ขอรายชื่อประเทศก้ได้ครับ ถ้ามันดีจริง ฟรีมันดีจริง มันต้องมีให้หาอ่านได้อยุ่แล้วประเทศไหนทำอะ แล้วถ้ามันไม่มีทำก้มันไม่ดีแค่นั้นเอง  


https://en.m.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_with_universal_health_care#:~:text=Countries%20with%20universal%20healthcare%20include,Ukraine%2C%20and%20the%20United%20Kingdom.

อันนี้listคับ สีเขียวเข้ม free and universal healthcare ไปนับเองนะคงอ่านออกแหละ


ส่วนอันนี้ที่คุณตอบว่า
- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย


งั้นผมสรุปเลยว่า จบตั้งแต่คำตอบนี้แล้วคับเพราะที่คุณพิมพ์ที่เหลือมาทั้งหมดคุณพูดแต่การขาดทุน แบกค่าใช้จ่าย ภาษี etc. อะไรจะพุดมาทำไมถ้าไม่ได้สนใจกำไรขาดทุน

ก็ไม่ต้องปญอ.คุยมาตั้งนานคับถ้าตอบข้อความนี้แต่แรก
เสียเวลาชีวิตจริงๆ555

ปล. ตกลงอยู่ในวงการสาธาป่ะคับถึงดิ้นจัง  


เดว ที่บอกขาดทุนเหมือนกันไม่ต้องคุย จะบ้าตาย


ขาดทุน 10บาทกับ 1000บาท บอกขาดทุนเหมือนกันได้มั๊ยวะเนี่ย


เผื่อไม่รุ้ตอนนี้รพรัฐของไทยเป็นแบบที่เอามาให้อ่านข้างล่างหมดเลย

แล้วรุ้หรือไม่ รพเอกชนตอนนี้กำลังโดนกว้านซื้อจากคนที่มีเงินเยอะ เพราะรุ้ว่าต่อไปรพรัฐจะแทบล้มหมดแน่นอน

ถามว่ามาจากวงในมั๊ย ก้พอรุ้เรื่องเยอะอยุ่ไม่งั้นไม่พิมออกมาได้เยอะขนาดนี้หรอก



ลองอ่าน อันนี้
Spoil


ขออนุญาตแสดงความคิดเห็น ในฐานะแพทย์ที่ทำงานอยู่ในรพ.ศูนย์ของรัฐบาลในภาคอีสานนะครับ

นโยบาย 30 บาท หรือ นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้น เป็นระบบที่ดีมากครับ ถือเป็นระบบสุขภาพในฝันเลยที่เดียว เอื้อประโยชน์ให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่มีมาตรฐานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย

ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างชัดเจนอยู่แล้ว ตรวจรักษาฟรี ผ่าตัดฟรี ค่ายาก็เกือบฟรี ถึงต้องจ่ายเพิ่มเติม ก็นับว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับเมื่อก่อน
ในฐานะแพทย์ที่ตรวจรักษาเอง ในหน้างานผมก็ชอบนะ ทำงานง่ายดีครับ ใครเข้ามาก็สั่งการรักษาได้เลย ไม่ต้องกังวลเรื่องเงิน เช็คสิทธิ์ 30 บาทผ่านปุ๊บก็เรียบร้อย

แล้วทำไมหมอส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับ 30 บาท?

เพราะประเทศไทยยังไม่พร้อมสำหรับระบบในฝันนี้ครับ และในระยะยาว มีโอกาสระบบรพ.รัฐจะเจ๊งกันหมดสูงครับ

เพราะ... การตรวจ การรักษา ต้องใช้เงิน รพ.ต้องมีค่าใช้จ่าย ค่ายา ค่าจ้างบุคลากร ค่าบำรุงพัสดุเก่า ค่าพัฒนาสร้างอะไรใหม่ๆ แต่เดิม รายได้ของรพ.รัฐ มาจากเงินสนับสนุนของรัฐบาลส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งโรงพยาบาลก็มีรายได้จากการเก็บค่ารักษาจากผู้ป่วย รพ.รัฐก็พออยู่ได้ ส่วนกำไรที่พอจะมี ก็นำมาใช้เป็นงบพัฒนา และก็ใช้ในการสงเคราะห์ผู้ป่วยที่ไม่สามารถจ่ายเงินเองได้ แต่ในเมื่อรัฐบาลออกนโยบายมาว่า ผู้รับบริการไม่ต้องจ่ายเงิน รายได้ของรพ.รัฐทั้งหมด ก็จะมาจากเงินที่รัฐบาล "บอกว่าจะจ่ายให้" ใช่ไหมครับ ในทางปฏิบัติก็คือ เวลามีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น ให้รพ.ออกไปก่อน แล้วค่อยส่งบิลไปคิดกับรัฐบาล (สปสช.) อีกทีหนึ่งครับ (ซึ่งเขาจะมีหลักการพิจารณาอีกที ว่าที่เราขอเบิกไปน่ะ มันสมควรจ่ายให้ไหม? ว่าแต่.... เงินมันใช้ไปแล้วอะครับ ถ้าท่านไม่จ่ายคืน รพ.ผมจะเอาที่ไหนมาใช้?)

มันเป็นการผลักภาระค่าใช้จ่ายจากภาระส่วนบุคคล ไปเป็นภาระของประเทศ

ติดตรงที่ว่าประเทศเราดันไม่มีตังก์จ่ายนี่สิครับ
ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศร่ำรวยเลย เรายังติดหนี้นู่นนี่นั่นอยู่อีกตั้งเยอะแยะ (แถมยังจะไปกู้เขาเพิ่มอีกแน่ะ)

จู่ๆก็มีรายจ่ายตรงนี้เพิ่มขึ้นมหาศาล รัฐบาลไม่มีทางมีตังก์จ่ายคืนให้รพ.ได้ครบ รพ.รัฐก็ติดตัวแดง ขาดทุนกันระนาวสิครับ
คราวนี้ต้องรัดเข็มขัดครับ ยาใหม่ๆ ดีไม่ดีไม่รู้ แต่ถ้ารัฐไม่อนุมัติก็จ่ายไม่ได้นะครับ (อย่าด่าหมอนะ)
คนไข้มาใช้บริการมากขึ้น งานหนักขึ้น(จริงๆนะ) แต่ค่าตอบแทนบุคลากรไม่เพิ่ม (โดนลดด้วยนะครับ T_T)
รัฐ"สั่ง" ให้พัฒนาคุณภาพการบริการ แต่ไม่สนใจคุณภาพชีวิตผู้ปฏิบัติงาน
แล้วคนทำงานที่ไหนจะอยากอยู่กับสถานพยาบาลของรัฐต่อครับ

ปัจจุบัน ระบบสาธารณสุขไทยต้องเรียกว่าอยู่กันแบบกระอักเลือดครับ
รัฐบาลยังคงต้องจ่ายค่าใช้จ่ายมหาศาลในการรักษาสัญญาต่อประชาชนที่ได้ให้ไปแล้ว และรพ.รัฐยังคงขาดทุน
แต่เริ่มไปแล้วย่อมไม่สามารถถอยกลับได้ และการเรียกเก็บภาษีเพิ่ม ยังไม่สามารถทำได้
ทางรอดก็คือการต้องยอมปรับลดมาตรฐานการรักษา? และการตัดสิทธิ์ต่างๆ ดังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน

ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือ 30 บาท หากจะให้ประสบความสำเร็จ ในระบบต้องเน้นการพัฒนาระบบสาธารณสุขมูลฐาน เน้นการป้องกันโรค การพัฒนาระบบอนามัยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่ายที่สุด ประชาชนต้องมีความรู้ในการดูแลตนเองที่ดี รักษาโรคแต่แรกเริ่มเพื่อลดค่าใช้จ่ายที่สูงในการรักษาโรคซับซ้อน ต้องทำส่วนนี้ให้สำเร็จก่อน จึงค่อยเริ่มใช้ระบบ
ส่วนด้านรัฐก็ต้องมีฐานรายได้ที่มั่นคงพอที่จะใช้ในค่าใช้จ่ายตรงนี้ นั่นคือต้องมีอัตราประชากรที่เสียภาษีที่มากถึงระดับหนึ่ง จึงจะใช้นโยบายนี้ได้อย่างได้ผลและไม่ขาดทุนในระยะยาว

ก่อนนั้นประเทศไทยกำลังพัฒนาไปในทิศทางนั้นแหละครับ แต่เรายังไปไม่ถึง เมื่อสาธารณสุขมูลฐานและประชาชนยังไม่พร้อม โรคซับซ้อนก็ยังมีมาก เงินที่รัฐต้องจ่ายจริงย่อมสูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ประมาณการ
ผมไม่เถียงเลยว่า ระบบ 30 บาท เป็นระบบที่ดีมาก มีข้อดีมากมายมหาศาล ผมจะมีความสุขมากถ้าไม่ติดตรงที่ว่า
มันก็มาคู่กับภาระอันหนักหน่วงเหมือนกัน ซึ่ง เราพร้อมจ่ายแล้วหรือ?
ประเทศที่รวยกว่าเรามากๆอย่างจีน เขายังไม่กล้าทำเลยครับ

มันให้ความรู้สึกเหมือนกับเราเป็นพนักงานกินเงินเดือนคนนึง แต่ดันไปถอยเฟอร์รารีมาขับ
รถดีไหม?... แรกๆดีครับ คนขับ(หมอ)สบาย คนนั่ง(ผู้รับบริการ)ก็ชอบไปถึงจุดหมายเร็วขึ้น เพื่อนรอบข้างชื่นชม
แต่ต่อมา เงินเริ่มไม่ค่อยพอ ไม่มีเงินบำรุงรักษา รถที่ควรจะดี ก็อาจไม่ดีเท่าที่ควร
แถมถ้าวันดีคืนร้าย หมุนเงินพลาดนิดเดียว ไม่มีเงินจ่ายค่าผ่อนรถ อาจถูกยึดรถคืน คราวนี้ละยิ้มเลยละครับ

ในความรู้สึกของผม นโยบาย 30 บาท ถูกเร่งประกาศใช้เร็วเกินไป ไม่ว่าจะเพื่อเรียกคะแนนเสียงทางการเมือง หรืออะไรก็แล้วแต่
เราดันทะลึ่งซื้อเฟอร์รารีมาแล้วครับ จะคืนก็ไม่ได้ แต่จะขับม้นได้ตลอดรอดฝั่งหรือไม่ยังไม่รู้
แน่นอนครับ คนที่ซื้อมันมา คนที่ประกาศใช้นโยบายย่อมเชื่อว่าเขา "เอาอยู่"
แต่คนในอย่างพวกผมย่อมรู้ดีว่าการเดิมพันนี้มันเสี่ยงมากๆๆๆๆแค่ไหน
ก็ได้แต่พยายามประคองกันไปแบบรากเลือด เหมือนที่ทำกันอยู่ทุกวันนี้
หากสำเร็จ ไทยเราจะเป็นหนึ่งในประเทศทีมีระบบบริการสุขภาพที่ดีที่สุดในโลก

นั่นคือหากเราไม่ถูกยึดรถ ล่มจม และล้มละลายไปเสียก่อนนะครับ
T_T  



Spoil
น่าจะบอกว่า...ระบบบัตรทองกำลังทำให้ระบบสุขภาพไทยล้มเหลวมากกว่าค่ะ

เราไม่ขอบอกว่าบัตรทองเป็นนโยบายที่ไม่ดี...เป็นนโยบายที่ดีค่ะ
แต่คนไทยยังไม่พี้อมกับระบบนี้

ระบบบัตรทอง มันจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อคนที่อยู่ในระบบรู้จักดูแลตัวเองค่ะ
กินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ เมาไม่ขับ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองในเบื้องตัน

...ที่นี้ลองย้อนกลับมามองคนไทยกันเองแล้ว...มีสักแค่ไหนกันคะที่สามารถทำได้ตามนั้น
สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ของคนไทย ไม่ใช่โรคติดเชื้อ...แต่เป็นโรคทำตัวเอง ที่เกิดจาการไม่ดูแลสุขภาพของตัวเอง

ระบบสุขภาพของไทยตอนนี้เป็นแบบซ่อมสุขภาพ...ทั้งๆที่มันควรจะเป็นสร้างสุขภาพค่ะ

ในเรื่องของเงิน...ของฟรีไม่มีค่า...คำพูดนี้คงจะไม่เกินไปนัก
พอคนเห็นว่าไปหาหมอได้ฟรีๆ ค่ายาก็ฟรี...ก็มีคนจำนวนไม่น้อยเลยที่ไม่สนใจดูแลสุขภาพตัวเองแล้วก็มาเข้ารับการรักษาที่โรงพยายาลเรื่อยๆ
จนรายจ่ายมันมากกว่ารายรับมากมาย ตอนนี้ก็มีโรงพยาบาลหลายๆแห่งที่ฐานะทางการเงินติดตัวแดง
ลูกจ้างตกเบิกแล้ว ตกเบิกอีก จนต้องไปกู้เงินมาใช้รายเดือนมีให้เห็นอยู่ทั่วไป

...ถามว่าเพราะอะไร...ก็บัตรทองนี่ล่ะค่ะ

...ลูกจ้างที่รู้ว่าไม่ได้เงินเดือน...ใครเขาจะอยู่คะ
...บริษัทยาที่รู้ว่าจะได้ค่ายา...ใครเขาจะขายยาให้คะ
...ไหนจะค่าเครื่องมือ...อุปกรณ์สารพัด...ของพวกนี้ไม่ได้ถูกเลยนะคะ
...ไม่ต้องพูดถึงเรื่องการพัฒนาเทคนิค วิธีการรักษาแบบใหม่ๆเลยค่ะ

พอบุคลการทยอยออก งานมันก็จะโหลดไปที่คนที่ยังอยู่
ต่อไปโรงพยาบาลรัฐถ้าไม่ใช่นักบุญผู้อุทิศตัว ทำงานเช้ายันเย็น ไม่ต้องกินข้าว เงินเดือนรอตกเบิกได้ไม่มีปัญหา ก็คงไม่มีใครอยู่หรอกค่ะ

พอสถานการณ์เป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ ที่นี้ก็จะถึงจุดที่ล้มเหลวของระบบสาธารณสุขเข้าจริงๆแล้วค่ะ
...โรงพยาบาลรัฐจะเหลือแต่เด็กใหม่ใช้ทุน หมอเก่าๆ ประสบการณ์มากๆ พยาบาล นักเทคนิคที่เชี่ยวๆ ก็ออกกันหมด
...ยาก็ไม่มี อุปกรณ์ก็ไม่มี...

สุดท้ายโรงพยาบาลเอกชนก็จะกลายเป็นที่พึ่งของประชาชน...แล้วค่ารักษาล่ะค่ะ
เงินไม่มี...ถ้าไม่ฉุกเฉินเค้าก็ไม่รักษาหรอกนะคะ...ธุรกิจ...คือ...ธุรกิจค่ะ

ฟังดูเลวร้ายมากเลยใช่ไหมค่ะ ดูไม่น่าเป็นไปได้เลยไหมคะ
แต่ถ้าปล่อยแบบนี้ต่อไป เป็นไปได้แน่ๆค่ะ แต่อาจจะเป็นสัก 20-30 ปีข้างหน้า  



Spoil
ปัญหาที่คุณเจ้าของกระทู้ว่ามานั้นจริงเลยทีเดียว
แต่ผลมันออกมาเห็นในขณะนี้ไม่ชัดเจน อีก 5-10 ปีข้างหน้าภาพการโหลดงาน และค่าบริการการรักษาจะชัดเจนยิ่งกว่านี้

ความต่างของค่ารักษาอีก 5 ปีข้างหน้าจะแพงขึ้นแบบคนไม่มีประกันจ่ายเองไม่ได้เลย
ถึงโครงการ 30 บาทจะทำให้ประชากรได้เข้าถึงการรักษามากขึ้น ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น
แต่ตอนนี้เงินในโครงการเป็นระบบเอาเงินอนาคตมาใช้ คือ รักษาไปก่อน(พยายามให้มีการรักษาในงบที่ต่ำสุดเท่าที่ทำได้)
แล้วเอายอดการรักษาไปเบิกกับรัฐ ในบางรายค่ายา 500 เบิกได้ 2000 บางราย 50000 เบิกได้ 2000
มันยากที่พยุงค่ารักษา ค่ายา ให้รพ.สามารถดำเนินการต่อไปได้ในอนาคต

เราอยากให้มีโครงการนี้นะ แต่มันจะทำได้นานแค่ไหน?
มองแบบความเป็นจริง ยาเป็นต้นทุน ค่าแรงบุคคลากรทางการแพทย์เป็นต้นทุน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเสื่อมสถานที่ อุปกรณ์เครื่องมือเป็นต้นทุน
และด้วยโครงการนี้ ทำให้มีร่ายจ่ายเพิ่มขึ้น สวนทางกับรายรับที่ต่ำลง
ถ้ารัฐบาลประเทศเรามีเงินอุดหนุนมันไปตลอด มันย่อมดีกับประชากร
แต่คำถาม? มันมีเงินเหรอ?
ตอนนี้งบก็ถูกตัดหั่นลดลงไป เพราะรัฐไม่มีงบอุดหนุน จ่ายเงินให้รพ.ล่าช้า แล้วรพ.จะเิอาทุนที่ไหนไปจ่ายค่ายาที่ต้องจ่ายให้ผู้ป่วย?
รพ.ต้องซื้อยาให้ถูกลง ต้องใช้ยาที่ผลิตในประเทศที่ราคาถูกกว่า ประสิทธิภาพน้อยกว่า
ยาที่จำเป็นต้องใช้ในการรักษาให้ดีที่สุด จ่ายไม่ได้เพราะอยู่นอกบัญชีที่นโยบายนี้จะจ่ายให้ได้
ในระยะแรกของโครงการเราไม่เห็นผล เพราะรพ.ที่เข้าโครงการยังพอมีทุนหมุนเวียน
แต่ตอนนี้ทุนมันหดลงไปเรื่อยๆ เพราะไม่มีงบมาช่วยเหลือ
รพ.ก็ออกจากโครงการไป ที่ฝืนอยู่ไปก็ต้องลดระดับการรักษา ด้วยการลดคุณภาพยา
(โอเค ถ้าโรคที่ผุ้ป่วยเป็นใช้ยาที่ประสิทธิภาพลดลงแล้วไม่เป็นไร ถือว่าผู้ป่วยโชคดีไป แต่ก็ใช่ว่าทุกคนจะโชคดีเท่ากันหมด)

อีกหน่อยโครงการนี้ก็คงหดลงไปเรื่อยๆ

โครงการนี้มันดีจริงๆ แต่ประเทศเราไม่มีงบประมาณมากพอจะทำให้มันดีกับประชาชนตลอดกาลค่ะ
มันจะดีในช่วง 10 ปีแรก หลังจากนั้นระบบบริการสาธารณสุขจะล่ม
หมอที่จะทำงานรพ.รัฐจะยิ่งหดตัวลง
พยาบาลยิ่งลำบากกว่า เพราะการตัดงบทำให้ไม่ไดรับการบรรจุเข้าทำงาน เงินเดือนจะต่ำกว่าที่ควร รวมไปถึงไม่ได้รับสวัสดิการ
บุคคลากรทางการแพทย์ก็คนนะคะ ทุกคนจะหนีเข้าสู่รพ.เอกชน
รพ.รัฐจะให้บริการต่ำลงเรื่อยๆ ทั้งในแง่คุณภาพและจำนวน เพราะขาดแคลนงบประมาณ
รพ.เอกชนจะให้บริการดีขึ้น และเก็บค่ารักษาแพงขึ้นเพราะเข้าสู่ระบบผูกขาด

ไม่ต้องตอบอะไรเราค่ะ มองตอนนี้กับ 10 ปีก่อน
แล้วรอผลอีก 10 ปีข้างหน้า
ยาหวานตอนนี้ แค่พยุงอาการ โรคไม่หายขาด อีก 10 ปีแสดงอาการตอนนั้นก็รักษาไม่ทันแล้ว

ทุกท่านที่ได้รับประโยชน์จากโครงการนี้เราดีใจด้วยจริงๆ แต่เสียดายแทนที่มันจะอยู่บริการในระดับนี้ได้อีกไม่นาน



 






Spoil
30 บาทมันอยู่ได้แหละครับ เพราะงบประมาณของ 30 บาทก็ประมาณ 2 แสนล้าน พอดิบพอดีกับงบสาธารณะสุข

มันก็อยู่ของมันไปได้เรื่อยๆแหละครับ เพียงแต่สาธารณสุขก็ไม่มีงบไปทำอย่างอื่น ไม่มีงบไปสร้างโรงพยาบาลเพิ่ม ซื้อเครื่องมือ ซ่อมแซมเครื่องมือ

ก็อยู่แบบนี้ไปเรื่อยๆก็ได้ครับ แต่อนาคตอย่ามาเรียกร้องว่า รพ รัฐ ทำไมมันห่างกับ รพ เอกชน ราวฟ้ากับเหวขนาดนี้ละกัน

เห็นเลขขาดทุน แต่ไม่มีใครคิดจะแก้ ปล่อยไปเรื่อยๆ เดี๋ยวก็เน่าเหมือนการบินไทย การรถไฟล่ะ  



ทั้งหมดคือตรงและจริงหมดเลย

รพรัฐไม่ได้พัฒนาอะไรมานานแล้ว คนเก่งย้ายออกอย่างเยอะ  


อยากจะอุทานว่าอะไรครับเนี่ยยยย!

ผมพิมพ์ตอนไหนนะว่าขาดทุน100 1000เหมือนกันอะไรของคุณมาจากไหนเนี่ย555

คุณพิมพ์ว่า
- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

ผมเลยตอบว่า ถ้ารู้จุดประสงค์โครงการตั้งแต่แรกว่ามันคือสวัสดิการรัฐอย่างนึงว่าไม่มีกำไรขาดทุนอยู่แล้ว แล้วจะปญอ.มาพูดเรื่องการขาดทุน ค่าใช้จ่ายนู้นนี่อะไรทำไมตั้งนานละค๊าบบบ

แล้วตกลงก็มีประเทศที่ใช้universal healthcareใช่มั๊ยคับเห็นถามหา ไม่ใช่ไทยประเทศเดียวแบบที่คุณเข้าใจเนอะ ผมตอบคำถามครบหมดมั๊ยนะ??จะได้ไปนอนละ

ส่วนในspoilบอกตรงๆอ่านผ่านๆเพราะง่วงละแต่ก็เหมือนเดิมพูดแต่เรื่องกำไรขาดทุน อะไรแบบที่คุณบอกผมถามทำไมปญอ. ผมก็ไม่พูดเรื่องกำไรขาดทุนละเสียเวลา เพราะไม่ใช่เป้าหมายของโครงการ

ปล. ผมก็ไม่ได้พิศวาสโครงการนี้ มีไม่มีผมก็ไม่ได้ดิ้นหรือเดือนร้อนอะไรจะยกเลิกไปก็ได้คับถ้ามันมีประโยชน์กับปชช.โดยรวมมากกว่าการมีโครงการนี้อยู่ภาษีต้องใข้ให้คุ้มค่าถ้าstudyแล้วต้องปรับปรุงก็ปรับ ต้องยกเลิกก็ยกเลิกง่ายๆไม่ต้องดิ้นเยอะ ผมก็รอดูรัฐบาลไหนกล้ายกเลิกอยู่เหมือนกัน


0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ซุปตาร์ยูโร
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 27 Mar 2020
ตอบ: 20423
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 02:01
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
ตอบเหมือนเดิม จะมีก้ทำให้สุดโต่งน้อยลงกว่านี้ ปรับให้ลงมาไม่ว่าจะเป็น

A. เพิ่มขั้นต่ำเพื่อกรองให้คนเจ็บหนักหน่อยมาหา 500 1000 อะไรก้ว่าไป
B. ให้คนที่จ่ายภาษีมีโอกาสได้รักษาก่อนถ้าคิวว่างค่อยให้คงที่ไม่จ่ายภาษีได้คิวไป (ดูโหดหน่อยเพราะมันตรงข้ามกับที่ต้องการรักษาคนที่ไม่มีรายได้จริงๆ)
C. นึกไม่ออกเร็วๆตอนนี้แฮะ แต่หลักๆก้สเกลลงมา



ตอบเหมือนเดิม ถ้ามันดีจริงทุกประเทศมันทำไปแล้ว ไม่ดียังไง ได้ทั้งฐานความนิยมจากประชาชนตัวเองก้ไม่เสียอะไร มีแต่ได้กับได้

วิธีทำไม่มีไรซับซ้อนเลย จ่าย 1 ดอล รักษาทุกโรคที่เหลือรัฐบาลเอางบไปลงให้


ไม่ว่าประเทศไหนก้เริ่มต้นได้ภายใน1ปีอะ



อ้อเสริมอีกเรื่อง ใครนึกไม่ออกดีไม่ดียังไงนะ

ลองไปเล่นเกมสร้างเมืองทั้งหลายอะ (ถึงจะบอกว่ามันเป็นเกมก้เถอะ)

แล้วประเทศกำลังพัฒนาอะ ลองไปmax เรื่องโรงพยาบาล การรักษา ทุ่มภาษีไปให้สุดดู

ประชาชนhappy จัดๆอะ แต่ระยะยาว 30 50ปี ประเทศไม่ค่อยไปไหน


ลองไปเทียบกับเล่นปกติแล้วเล่นไม่max พวกพยายาม เจริญกว่าเยอะ


ถึงจะบอกว่าเป็นแค่ระบบเกมแต่มันมีสิ่งที่จริงกว่าเยอะเลย



แล้วก้อย่างที่บอกจะมีใครไม่ชอบ ประชาชนที่อังกฤษก้ชอบ ชอบสิของฟรีใครไม่ชอบ  


ผมเพิ่มข้อcให้ครับ คือ กระจายปชช.ไปกรองที่คลินิคก่อนส่งไปรพ. ยกเว้นกรณีอุบัติเหตุหรือฉุกเฉิน

อย่างที่ตอบไปเหมือนกันถ้าไม่ดีจริงคงไม่มี70กว่าประเทศทำ และยังใช้มาจนถึงปจบ.ในไทยก็20ปีละมั้ง ถ้ามีวิธีอื่นดีกว่าคงปรับเปลี่ยนไปใช้นานแล้วผ่านมากี่รัฐบาลก็เปลี่ยนไม่ได้

ใช่ครับเริ่มง่ายแต่การสร้างรายได้เพื่อมาทดแทน"สวัสดิการ"ของรัฐในรูปแบบภาษีอื่นๆ มันก็วัดความสามารถของรัฐบาลนั้นๆแหละคับ แต่แก้ตัวให้ว่าปัจจัยภายนอกอื่นๆก็ทำให้มีปัญหาเช่นกัน

จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป

จริงๆถ้าเทียบของจริง กระทรวงกลาโหมยังได้งบประมาณมากกว่ากระทรวงสาธารณสุขเลย
แถมๆๆๆๆ กระทรวงกลาโหมนี่ขาดทุนแน่นอนอยู่ละเพราะไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขเช่นกัน
ที่จะพูดคือต้องดูจุดประสงค์ของโครงการอ่ะคับ กระทรวงกลาโหมมีงบจ้างทหาร ซื้อเครื่องบินรบ เพื่อปกป้องอธิปไตยประเทศ จะไปคิดเรื่องการคุ้มทุนขาดทุนได้ยังไงเพราะไม่ได้สร้างมาเพื่อก่อรายได้

เช่นกันประกันสุขภาพถ้วนหน้าก็ไม่ได้ตั้งมาเพื่อหารายได้เข้าประเทศ แต่จุดประสงค์คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้ประชาชน

สรุปรวมคือ ถ้าตั้งเป้าจุดประสงค์ผิดแต่แรก คำตอบมันก็ผิดแหละคับ ถ้าจุดประสงค์คือสร้างสุขภาพที่ดี ให้ปชช.เข้าถึงการรักษา แต่ไปวัดผลที่กำไร มันก็ไม่ถูกต้องคับ

 


70 กว่าประเทศเค้าก้ไม่ได้ทำแบบเราครับ

ช่วงยกตัวอย่างหน่อย

มีประเทศไหนที่ จ่ายแค่ประมาณ 30 บาท แล้วรักษาฟรีหมด ให้กับทุกคนมั่ง

จาก 70 ประเทศที่ว่ามา ขอรายชื่อประเทศหน่อย

"จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป
"

ก้บอกแล้วว่าของไทยไม่มีกรองอะไรเลย ถ้าไม่มีกรองแล้วจัด30บาทได้ให้ทุกคน รักษาเต็มที่ แล้วถือว่าเป็นอันดับ1ทางด้านนี้ ไม่เรียกสุดโต่งแล้วเรียกอะไรครับ

ถ้าแบบนี้ยังไม่สุดโต่ง คงไม่มีประเทศไหนสุดโต่งแล้วนะ




ผมจะไม่คุยที่ประเด็นอื่นนะ แบบ กลาโหมได้เงินเยอะ คิงได้เงินเยอะ เพราะส่วนตัวก้เกลียดพวกนั้นที่ได้เงินเยอะเหมือนกัน


แต่คุยในประเด็นนี้แหละ  


เอางี้คับกลับมาจุดเดิมครับจุดเดียวเลยคือ..

โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่

ส่วนตัวผมพิมพ์ไปหลายรอบแล้วว่าสมควรปรับปรุงให้มันอยู่รอดทั้งตัวโครงการและงบประมาณที่ผลาญไป หรือยุบไปเลยก็ดีถ้า มันมีโครงการที่จุดประสงค์เดียวกันแล้วคุณภาพหรือผลลัพธ์ดีกว่านี้ อย่างที่คุณบอกว่าต้องมีตัวกรองนั้นก็ใช้เลยผมก็บอกอยู่ว่าเห็นด้วย100%

ส่วนประเทศไหนก็อังกฤษไงคับหรือประเทศอื่นในUKก็คล้ายๆกันครับ ไม่ต้องจ่ายซักบาท แต่ยกเว้นที่อังกฤษpescription9ปอนด์มั้ง กี่บาทอ่ะ 450บาทนี่ตีเรท50เลยนะ 9ปอนด์นี่ค่าแรงขั้นต่ำ1ชม.ก็ได้ละ กี่ปีละเกือบ10ปีละมั้งตอนผมเคยพาเพื่อนไปหาหมอ จริงๆเด็กต่ำกว่า18 หรือคนแก่เกิน60 หรือนักเรียนก็ฟรีนะ อย่างตอนผมเรียนไปหาก็ฟรี

คำถามสั้นๆอันนี้คุณอยู่ในระบบสาธารณสุขป่ะครับอยากทราบ? ถ้าอย่างนั้นผมจะได้ไม่แปลกใจ  




โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่
- ถึงบอกไงมันไม่มีประเทศไหนให้ฟรีแบบเราเยอะขนาดนี้ อาจจะยกเว้นอังกฤษกับศรีลังกา
แล้วยังไงถึงบอกมันสุดโต่ง ก้มันดันไปสุดเพดานแล้ว ดันไม่ได้มากกว่านี้แล้ว เพราะมันดันบุคลากรไปสุดทางให้คนรักษาเต็มmaxที่จะรับได้แล้ว อธิบายให้ฟังแล้วไง เราดูแลดีสุดในโลกแล้ว อันดับ1ยังไม่สุดโต่งอีกหรอ




ถึงบอกไง ถ้าโครงการมันดี มันต้องมีประเทศเลียนแบบเต็มไปหมดแล้ว แล้วทำไมมันไม่มี นายบอกมี 70ประเทศ ผมก้บอกมันไม่มีหรอก 70ประเทศอะที่ทำแบบเรา

รักษาฟรี(30บาทเรียกว่าฟรีละกัน)



อะไรที่มันดีอะ แล้วมันก๊อปแบบโคตรง่ายเลยโครงการแบบนี้ แล้วมีแต่ผลประโยชกับคนออกกฏหมายด้วยซ้ำได้คะแนนนิยมแบบโคตรบาน วิธีการไม่มีไรเลย เอางบกระจายไปลงแค่นั้นเอง ทำไมมันถึงไม่มีประเทศไหนทำไง


แล้วสุดท้ายคุณก้เห็นด้วยว่ามันต้องมีระบบคัดกรองที่ดีกว่านี้เยอะๆเลย

คุณบอกต้องให้คนไข้ไปคลีนิคก่อนคือคัดกรอง คลีนีคบ้านเรานี่ก้คิวล้นๆแล้ว

ถ้าจับคนตรงนี้ไปต่อมันก้คือกรณีเดียวกันอะ คลีนิคเอกชนไม่ค่อยอยากรับ

แล้วจุดประสงค์หลักของอันนี้ไม่ใช่คัดกรองคนก่อนนะ แต่เป็นทำยังไงให้รัฐไม่แบกค่าใช้จ่ายเยอะขนาดนี้ต่างหาก



อันนี้ผมไม่มีpaperนะ แต่พูดจากการวิเคราะห์ล้วนๆ คุณไปเทียบกับอังกฤษอะ

เคยอธิบายไปแล้วไงในมุมกว้างอะ อังกฤษแบกน้อยกว่าของไทยเยอะ

1. คนในประเทศจ่ายภาษีเยอะกว่าของไทย (ไม่ใช่จำนวนเงินนะ แต่เป็นจำนวน%คนที่เค้าจัดเก็บได้)
มันเลยไม่ใช่แบบ ภาษีคนแค่ 10 ล้านคนไปแบก 70-80ล้านคน

ของอังกฤษ 56 ล้าน สมมติ เก็บได้ครึ่งนึง 30ล้านคน มันก้ไปช่วยแบกได้เยอะ

2. ที่บอกว่าการแพทย์มันไม่เหมือนอาหารการกิน ไม่ใช่แบบ อังกฤษอาหารมื้อละ 300 มาไทย 50บาท
เป็นมะเร็ง เป็นต่อมลูกหมากโต สมมติรักษา 5แสน ที่ไทย ไปอังกฤษมันก้ประมาณเดียวกัน 6แสนไรงี้
แต่เงินที่เค้าเก็บได้จากภาษีต่อหัวนี่มากกว่าคนไทยน่าจะ ต่ำๆ 3เท่านะ อันนี้ขั้นต่ำสุด



สรุปจากข้อ 1+2 อังกฤษหรือประเทศที่เจริญแล้วเค้าเอาเงินมา ถมลงตรงนี้ได้เยอะจากภาษีที่เค้าเก็บได้เยอะ
(ยังอ่วมหนัก) ของไทยละ




หรือจะบอกว่ามีประเทศอื่นนอกจากอังกฤษ ขอรายชื่อประเทศก้ได้ครับ ถ้ามันดีจริง ฟรีมันดีจริง มันต้องมีให้หาอ่านได้อยุ่แล้วประเทศไหนทำอะ แล้วถ้ามันไม่มีทำก้มันไม่ดีแค่นั้นเอง  


https://en.m.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_with_universal_health_care#:~:text=Countries%20with%20universal%20healthcare%20include,Ukraine%2C%20and%20the%20United%20Kingdom.

อันนี้listคับ สีเขียวเข้ม free and universal healthcare ไปนับเองนะคงอ่านออกแหละ


ส่วนอันนี้ที่คุณตอบว่า
- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย


งั้นผมสรุปเลยว่า จบตั้งแต่คำตอบนี้แล้วคับเพราะที่คุณพิมพ์ที่เหลือมาทั้งหมดคุณพูดแต่การขาดทุน แบกค่าใช้จ่าย ภาษี etc. อะไรจะพุดมาทำไมถ้าไม่ได้สนใจกำไรขาดทุน

ก็ไม่ต้องปญอ.คุยมาตั้งนานคับถ้าตอบข้อความนี้แต่แรก
เสียเวลาชีวิตจริงๆ555

ปล. ตกลงอยู่ในวงการสาธาป่ะคับถึงดิ้นจัง  


เดว ที่บอกขาดทุนเหมือนกันไม่ต้องคุย จะบ้าตาย


ขาดทุน 10บาทกับ 1000บาท บอกขาดทุนเหมือนกันได้มั๊ยวะเนี่ย


เผื่อไม่รุ้ตอนนี้รพรัฐของไทยเป็นแบบที่เอามาให้อ่านข้างล่างหมดเลย

แล้วรุ้หรือไม่ รพเอกชนตอนนี้กำลังโดนกว้านซื้อจากคนที่มีเงินเยอะ เพราะรุ้ว่าต่อไปรพรัฐจะแทบล้มหมดแน่นอน

ถามว่ามาจากวงในมั๊ย ก้พอรุ้เรื่องเยอะอยุ่ไม่งั้นไม่พิมออกมาได้เยอะขนาดนี้หรอก



ลองอ่าน อันนี้
Spoil


ขออนุญาตแสดงความคิดเห็น ในฐานะแพทย์ที่ทำงานอยู่ในรพ.ศูนย์ของรัฐบาลในภาคอีสานนะครับ

นโยบาย 30 บาท หรือ นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้น เป็นระบบที่ดีมากครับ ถือเป็นระบบสุขภาพในฝันเลยที่เดียว เอื้อประโยชน์ให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่มีมาตรฐานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย

ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างชัดเจนอยู่แล้ว ตรวจรักษาฟรี ผ่าตัดฟรี ค่ายาก็เกือบฟรี ถึงต้องจ่ายเพิ่มเติม ก็นับว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับเมื่อก่อน
ในฐานะแพทย์ที่ตรวจรักษาเอง ในหน้างานผมก็ชอบนะ ทำงานง่ายดีครับ ใครเข้ามาก็สั่งการรักษาได้เลย ไม่ต้องกังวลเรื่องเงิน เช็คสิทธิ์ 30 บาทผ่านปุ๊บก็เรียบร้อย

แล้วทำไมหมอส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับ 30 บาท?

เพราะประเทศไทยยังไม่พร้อมสำหรับระบบในฝันนี้ครับ และในระยะยาว มีโอกาสระบบรพ.รัฐจะเจ๊งกันหมดสูงครับ

เพราะ... การตรวจ การรักษา ต้องใช้เงิน รพ.ต้องมีค่าใช้จ่าย ค่ายา ค่าจ้างบุคลากร ค่าบำรุงพัสดุเก่า ค่าพัฒนาสร้างอะไรใหม่ๆ แต่เดิม รายได้ของรพ.รัฐ มาจากเงินสนับสนุนของรัฐบาลส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งโรงพยาบาลก็มีรายได้จากการเก็บค่ารักษาจากผู้ป่วย รพ.รัฐก็พออยู่ได้ ส่วนกำไรที่พอจะมี ก็นำมาใช้เป็นงบพัฒนา และก็ใช้ในการสงเคราะห์ผู้ป่วยที่ไม่สามารถจ่ายเงินเองได้ แต่ในเมื่อรัฐบาลออกนโยบายมาว่า ผู้รับบริการไม่ต้องจ่ายเงิน รายได้ของรพ.รัฐทั้งหมด ก็จะมาจากเงินที่รัฐบาล "บอกว่าจะจ่ายให้" ใช่ไหมครับ ในทางปฏิบัติก็คือ เวลามีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น ให้รพ.ออกไปก่อน แล้วค่อยส่งบิลไปคิดกับรัฐบาล (สปสช.) อีกทีหนึ่งครับ (ซึ่งเขาจะมีหลักการพิจารณาอีกที ว่าที่เราขอเบิกไปน่ะ มันสมควรจ่ายให้ไหม? ว่าแต่.... เงินมันใช้ไปแล้วอะครับ ถ้าท่านไม่จ่ายคืน รพ.ผมจะเอาที่ไหนมาใช้?)

มันเป็นการผลักภาระค่าใช้จ่ายจากภาระส่วนบุคคล ไปเป็นภาระของประเทศ

ติดตรงที่ว่าประเทศเราดันไม่มีตังก์จ่ายนี่สิครับ
ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศร่ำรวยเลย เรายังติดหนี้นู่นนี่นั่นอยู่อีกตั้งเยอะแยะ (แถมยังจะไปกู้เขาเพิ่มอีกแน่ะ)

จู่ๆก็มีรายจ่ายตรงนี้เพิ่มขึ้นมหาศาล รัฐบาลไม่มีทางมีตังก์จ่ายคืนให้รพ.ได้ครบ รพ.รัฐก็ติดตัวแดง ขาดทุนกันระนาวสิครับ
คราวนี้ต้องรัดเข็มขัดครับ ยาใหม่ๆ ดีไม่ดีไม่รู้ แต่ถ้ารัฐไม่อนุมัติก็จ่ายไม่ได้นะครับ (อย่าด่าหมอนะ)
คนไข้มาใช้บริการมากขึ้น งานหนักขึ้น(จริงๆนะ) แต่ค่าตอบแทนบุคลากรไม่เพิ่ม (โดนลดด้วยนะครับ T_T)
รัฐ"สั่ง" ให้พัฒนาคุณภาพการบริการ แต่ไม่สนใจคุณภาพชีวิตผู้ปฏิบัติงาน
แล้วคนทำงานที่ไหนจะอยากอยู่กับสถานพยาบาลของรัฐต่อครับ

ปัจจุบัน ระบบสาธารณสุขไทยต้องเรียกว่าอยู่กันแบบกระอักเลือดครับ
รัฐบาลยังคงต้องจ่ายค่าใช้จ่ายมหาศาลในการรักษาสัญญาต่อประชาชนที่ได้ให้ไปแล้ว และรพ.รัฐยังคงขาดทุน
แต่เริ่มไปแล้วย่อมไม่สามารถถอยกลับได้ และการเรียกเก็บภาษีเพิ่ม ยังไม่สามารถทำได้
ทางรอดก็คือการต้องยอมปรับลดมาตรฐานการรักษา? และการตัดสิทธิ์ต่างๆ ดังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน

ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือ 30 บาท หากจะให้ประสบความสำเร็จ ในระบบต้องเน้นการพัฒนาระบบสาธารณสุขมูลฐาน เน้นการป้องกันโรค การพัฒนาระบบอนามัยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่ายที่สุด ประชาชนต้องมีความรู้ในการดูแลตนเองที่ดี รักษาโรคแต่แรกเริ่มเพื่อลดค่าใช้จ่ายที่สูงในการรักษาโรคซับซ้อน ต้องทำส่วนนี้ให้สำเร็จก่อน จึงค่อยเริ่มใช้ระบบ
ส่วนด้านรัฐก็ต้องมีฐานรายได้ที่มั่นคงพอที่จะใช้ในค่าใช้จ่ายตรงนี้ นั่นคือต้องมีอัตราประชากรที่เสียภาษีที่มากถึงระดับหนึ่ง จึงจะใช้นโยบายนี้ได้อย่างได้ผลและไม่ขาดทุนในระยะยาว

ก่อนนั้นประเทศไทยกำลังพัฒนาไปในทิศทางนั้นแหละครับ แต่เรายังไปไม่ถึง เมื่อสาธารณสุขมูลฐานและประชาชนยังไม่พร้อม โรคซับซ้อนก็ยังมีมาก เงินที่รัฐต้องจ่ายจริงย่อมสูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ประมาณการ
ผมไม่เถียงเลยว่า ระบบ 30 บาท เป็นระบบที่ดีมาก มีข้อดีมากมายมหาศาล ผมจะมีความสุขมากถ้าไม่ติดตรงที่ว่า
มันก็มาคู่กับภาระอันหนักหน่วงเหมือนกัน ซึ่ง เราพร้อมจ่ายแล้วหรือ?
ประเทศที่รวยกว่าเรามากๆอย่างจีน เขายังไม่กล้าทำเลยครับ

มันให้ความรู้สึกเหมือนกับเราเป็นพนักงานกินเงินเดือนคนนึง แต่ดันไปถอยเฟอร์รารีมาขับ
รถดีไหม?... แรกๆดีครับ คนขับ(หมอ)สบาย คนนั่ง(ผู้รับบริการ)ก็ชอบไปถึงจุดหมายเร็วขึ้น เพื่อนรอบข้างชื่นชม
แต่ต่อมา เงินเริ่มไม่ค่อยพอ ไม่มีเงินบำรุงรักษา รถที่ควรจะดี ก็อาจไม่ดีเท่าที่ควร
แถมถ้าวันดีคืนร้าย หมุนเงินพลาดนิดเดียว ไม่มีเงินจ่ายค่าผ่อนรถ อาจถูกยึดรถคืน คราวนี้ละยิ้มเลยละครับ

ในความรู้สึกของผม นโยบาย 30 บาท ถูกเร่งประกาศใช้เร็วเกินไป ไม่ว่าจะเพื่อเรียกคะแนนเสียงทางการเมือง หรืออะไรก็แล้วแต่
เราดันทะลึ่งซื้อเฟอร์รารีมาแล้วครับ จะคืนก็ไม่ได้ แต่จะขับม้นได้ตลอดรอดฝั่งหรือไม่ยังไม่รู้
แน่นอนครับ คนที่ซื้อมันมา คนที่ประกาศใช้นโยบายย่อมเชื่อว่าเขา "เอาอยู่"
แต่คนในอย่างพวกผมย่อมรู้ดีว่าการเดิมพันนี้มันเสี่ยงมากๆๆๆๆแค่ไหน
ก็ได้แต่พยายามประคองกันไปแบบรากเลือด เหมือนที่ทำกันอยู่ทุกวันนี้
หากสำเร็จ ไทยเราจะเป็นหนึ่งในประเทศทีมีระบบบริการสุขภาพที่ดีที่สุดในโลก

นั่นคือหากเราไม่ถูกยึดรถ ล่มจม และล้มละลายไปเสียก่อนนะครับ
T_T  



Spoil
น่าจะบอกว่า...ระบบบัตรทองกำลังทำให้ระบบสุขภาพไทยล้มเหลวมากกว่าค่ะ

เราไม่ขอบอกว่าบัตรทองเป็นนโยบายที่ไม่ดี...เป็นนโยบายที่ดีค่ะ
แต่คนไทยยังไม่พี้อมกับระบบนี้

ระบบบัตรทอง มันจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อคนที่อยู่ในระบบรู้จักดูแลตัวเองค่ะ
กินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ เมาไม่ขับ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองในเบื้องตัน

...ที่นี้ลองย้อนกลับมามองคนไทยกันเองแล้ว...มีสักแค่ไหนกันคะที่สามารถทำได้ตามนั้น
สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ของคนไทย ไม่ใช่โรคติดเชื้อ...แต่เป็นโรคทำตัวเอง ที่เกิดจาการไม่ดูแลสุขภาพของตัวเอง

ระบบสุขภาพของไทยตอนนี้เป็นแบบซ่อมสุขภาพ...ทั้งๆที่มันควรจะเป็นสร้างสุขภาพค่ะ

ในเรื่องของเงิน...ของฟรีไม่มีค่า...คำพูดนี้คงจะไม่เกินไปนัก
พอคนเห็นว่าไปหาหมอได้ฟรีๆ ค่ายาก็ฟรี...ก็มีคนจำนวนไม่น้อยเลยที่ไม่สนใจดูแลสุขภาพตัวเองแล้วก็มาเข้ารับการรักษาที่โรงพยายาลเรื่อยๆ
จนรายจ่ายมันมากกว่ารายรับมากมาย ตอนนี้ก็มีโรงพยาบาลหลายๆแห่งที่ฐานะทางการเงินติดตัวแดง
ลูกจ้างตกเบิกแล้ว ตกเบิกอีก จนต้องไปกู้เงินมาใช้รายเดือนมีให้เห็นอยู่ทั่วไป

...ถามว่าเพราะอะไร...ก็บัตรทองนี่ล่ะค่ะ

...ลูกจ้างที่รู้ว่าไม่ได้เงินเดือน...ใครเขาจะอยู่คะ
...บริษัทยาที่รู้ว่าจะได้ค่ายา...ใครเขาจะขายยาให้คะ
...ไหนจะค่าเครื่องมือ...อุปกรณ์สารพัด...ของพวกนี้ไม่ได้ถูกเลยนะคะ
...ไม่ต้องพูดถึงเรื่องการพัฒนาเทคนิค วิธีการรักษาแบบใหม่ๆเลยค่ะ

พอบุคลการทยอยออก งานมันก็จะโหลดไปที่คนที่ยังอยู่
ต่อไปโรงพยาบาลรัฐถ้าไม่ใช่นักบุญผู้อุทิศตัว ทำงานเช้ายันเย็น ไม่ต้องกินข้าว เงินเดือนรอตกเบิกได้ไม่มีปัญหา ก็คงไม่มีใครอยู่หรอกค่ะ

พอสถานการณ์เป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ ที่นี้ก็จะถึงจุดที่ล้มเหลวของระบบสาธารณสุขเข้าจริงๆแล้วค่ะ
...โรงพยาบาลรัฐจะเหลือแต่เด็กใหม่ใช้ทุน หมอเก่าๆ ประสบการณ์มากๆ พยาบาล นักเทคนิคที่เชี่ยวๆ ก็ออกกันหมด
...ยาก็ไม่มี อุปกรณ์ก็ไม่มี...

สุดท้ายโรงพยาบาลเอกชนก็จะกลายเป็นที่พึ่งของประชาชน...แล้วค่ารักษาล่ะค่ะ
เงินไม่มี...ถ้าไม่ฉุกเฉินเค้าก็ไม่รักษาหรอกนะคะ...ธุรกิจ...คือ...ธุรกิจค่ะ

ฟังดูเลวร้ายมากเลยใช่ไหมค่ะ ดูไม่น่าเป็นไปได้เลยไหมคะ
แต่ถ้าปล่อยแบบนี้ต่อไป เป็นไปได้แน่ๆค่ะ แต่อาจจะเป็นสัก 20-30 ปีข้างหน้า  



Spoil
ปัญหาที่คุณเจ้าของกระทู้ว่ามานั้นจริงเลยทีเดียว
แต่ผลมันออกมาเห็นในขณะนี้ไม่ชัดเจน อีก 5-10 ปีข้างหน้าภาพการโหลดงาน และค่าบริการการรักษาจะชัดเจนยิ่งกว่านี้

ความต่างของค่ารักษาอีก 5 ปีข้างหน้าจะแพงขึ้นแบบคนไม่มีประกันจ่ายเองไม่ได้เลย
ถึงโครงการ 30 บาทจะทำให้ประชากรได้เข้าถึงการรักษามากขึ้น ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น
แต่ตอนนี้เงินในโครงการเป็นระบบเอาเงินอนาคตมาใช้ คือ รักษาไปก่อน(พยายามให้มีการรักษาในงบที่ต่ำสุดเท่าที่ทำได้)
แล้วเอายอดการรักษาไปเบิกกับรัฐ ในบางรายค่ายา 500 เบิกได้ 2000 บางราย 50000 เบิกได้ 2000
มันยากที่พยุงค่ารักษา ค่ายา ให้รพ.สามารถดำเนินการต่อไปได้ในอนาคต

เราอยากให้มีโครงการนี้นะ แต่มันจะทำได้นานแค่ไหน?
มองแบบความเป็นจริง ยาเป็นต้นทุน ค่าแรงบุคคลากรทางการแพทย์เป็นต้นทุน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเสื่อมสถานที่ อุปกรณ์เครื่องมือเป็นต้นทุน
และด้วยโครงการนี้ ทำให้มีร่ายจ่ายเพิ่มขึ้น สวนทางกับรายรับที่ต่ำลง
ถ้ารัฐบาลประเทศเรามีเงินอุดหนุนมันไปตลอด มันย่อมดีกับประชากร
แต่คำถาม? มันมีเงินเหรอ?
ตอนนี้งบก็ถูกตัดหั่นลดลงไป เพราะรัฐไม่มีงบอุดหนุน จ่ายเงินให้รพ.ล่าช้า แล้วรพ.จะเิอาทุนที่ไหนไปจ่ายค่ายาที่ต้องจ่ายให้ผู้ป่วย?
รพ.ต้องซื้อยาให้ถูกลง ต้องใช้ยาที่ผลิตในประเทศที่ราคาถูกกว่า ประสิทธิภาพน้อยกว่า
ยาที่จำเป็นต้องใช้ในการรักษาให้ดีที่สุด จ่ายไม่ได้เพราะอยู่นอกบัญชีที่นโยบายนี้จะจ่ายให้ได้
ในระยะแรกของโครงการเราไม่เห็นผล เพราะรพ.ที่เข้าโครงการยังพอมีทุนหมุนเวียน
แต่ตอนนี้ทุนมันหดลงไปเรื่อยๆ เพราะไม่มีงบมาช่วยเหลือ
รพ.ก็ออกจากโครงการไป ที่ฝืนอยู่ไปก็ต้องลดระดับการรักษา ด้วยการลดคุณภาพยา
(โอเค ถ้าโรคที่ผุ้ป่วยเป็นใช้ยาที่ประสิทธิภาพลดลงแล้วไม่เป็นไร ถือว่าผู้ป่วยโชคดีไป แต่ก็ใช่ว่าทุกคนจะโชคดีเท่ากันหมด)

อีกหน่อยโครงการนี้ก็คงหดลงไปเรื่อยๆ

โครงการนี้มันดีจริงๆ แต่ประเทศเราไม่มีงบประมาณมากพอจะทำให้มันดีกับประชาชนตลอดกาลค่ะ
มันจะดีในช่วง 10 ปีแรก หลังจากนั้นระบบบริการสาธารณสุขจะล่ม
หมอที่จะทำงานรพ.รัฐจะยิ่งหดตัวลง
พยาบาลยิ่งลำบากกว่า เพราะการตัดงบทำให้ไม่ไดรับการบรรจุเข้าทำงาน เงินเดือนจะต่ำกว่าที่ควร รวมไปถึงไม่ได้รับสวัสดิการ
บุคคลากรทางการแพทย์ก็คนนะคะ ทุกคนจะหนีเข้าสู่รพ.เอกชน
รพ.รัฐจะให้บริการต่ำลงเรื่อยๆ ทั้งในแง่คุณภาพและจำนวน เพราะขาดแคลนงบประมาณ
รพ.เอกชนจะให้บริการดีขึ้น และเก็บค่ารักษาแพงขึ้นเพราะเข้าสู่ระบบผูกขาด

ไม่ต้องตอบอะไรเราค่ะ มองตอนนี้กับ 10 ปีก่อน
แล้วรอผลอีก 10 ปีข้างหน้า
ยาหวานตอนนี้ แค่พยุงอาการ โรคไม่หายขาด อีก 10 ปีแสดงอาการตอนนั้นก็รักษาไม่ทันแล้ว

ทุกท่านที่ได้รับประโยชน์จากโครงการนี้เราดีใจด้วยจริงๆ แต่เสียดายแทนที่มันจะอยู่บริการในระดับนี้ได้อีกไม่นาน



 






Spoil
30 บาทมันอยู่ได้แหละครับ เพราะงบประมาณของ 30 บาทก็ประมาณ 2 แสนล้าน พอดิบพอดีกับงบสาธารณะสุข

มันก็อยู่ของมันไปได้เรื่อยๆแหละครับ เพียงแต่สาธารณสุขก็ไม่มีงบไปทำอย่างอื่น ไม่มีงบไปสร้างโรงพยาบาลเพิ่ม ซื้อเครื่องมือ ซ่อมแซมเครื่องมือ

ก็อยู่แบบนี้ไปเรื่อยๆก็ได้ครับ แต่อนาคตอย่ามาเรียกร้องว่า รพ รัฐ ทำไมมันห่างกับ รพ เอกชน ราวฟ้ากับเหวขนาดนี้ละกัน

เห็นเลขขาดทุน แต่ไม่มีใครคิดจะแก้ ปล่อยไปเรื่อยๆ เดี๋ยวก็เน่าเหมือนการบินไทย การรถไฟล่ะ  



ทั้งหมดคือตรงและจริงหมดเลย

รพรัฐไม่ได้พัฒนาอะไรมานานแล้ว คนเก่งย้ายออกอย่างเยอะ  


อยากจะอุทานว่าอะไรครับเนี่ยยยย!

ผมพิมพ์ตอนไหนนะว่าขาดทุน100 1000เหมือนกันอะไรของคุณมาจากไหนเนี่ย555

คุณพิมพ์ว่า
- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

ผมเลยตอบว่า ถ้ารู้จุดประสงค์โครงการตั้งแต่แรกว่ามันคือสวัสดิการรัฐอย่างนึงว่าไม่มีกำไรขาดทุนอยู่แล้ว แล้วจะปญอ.มาพูดเรื่องการขาดทุน ค่าใช้จ่ายนู้นนี่อะไรทำไมตั้งนานละค๊าบบบ

แล้วตกลงก็มีประเทศที่ใช้universal healthcareใช่มั๊ยคับเห็นถามหา ไม่ใช่ไทยประเทศเดียวแบบที่คุณเข้าใจเนอะ ผมตอบคำถามครบหมดมั๊ยนะ??จะได้ไปนอนละ

ส่วนในspoilบอกตรงๆอ่านผ่านๆเพราะง่วงละแต่ก็เหมือนเดิมพูดแต่เรื่องกำไรขาดทุน อะไรแบบที่คุณบอกผมถามทำไมปญอ. ผมก็ไม่พูดเรื่องกำไรขาดทุนละเสียเวลา เพราะไม่ใช่เป้าหมายของโครงการ

ปล. ผมก็ไม่ได้พิศวาสโครงการนี้ มีไม่มีผมก็ไม่ได้ดิ้นหรือเดือนร้อนอะไรจะยกเลิกไปก็ได้คับถ้ามันมีประโยชน์กับปชช.โดยรวมมากกว่าการมีโครงการนี้อยู่ภาษีต้องใข้ให้คุ้มค่าถ้าstudyแล้วต้องปรับปรุงก็ปรับ ต้องยกเลิกก็ยกเลิกง่ายๆไม่ต้องดิ้นเยอะ ผมก็รอดูรัฐบาลไหนกล้ายกเลิกอยู่เหมือนกัน


 



งั้นผมสรุปเลยว่า จบตั้งแต่คำตอบนี้แล้วคับเพราะที่คุณพิมพ์ที่เหลือมาทั้งหมดคุณพูดแต่การขาดทุน แบกค่าใช้จ่าย ภาษี etc. อะไรจะพุดมาทำไมถ้าไม่ได้สนใจกำไรขาดทุน


แล้วผมไปบอกแต่แรกตอนไหนว่าผมไม่สนกำไรขาดทุน ผมสนว้อย


แล้วไอลิสรายชื่อเนี่ย ผมนั่งไล่อ่านดู แรนด้อมประเทศที่มันไม่ใช่แบบบรากหญ้าต่ำกว่าเรา หรือแบบสูงสุดๆแบบ finland sweden พวกรายได้สูงต่อหัว


ไปอ่านเงื่อนไขมา ไม่ง่ายแบบของไทยแน่นอน นายได้ลองอ่านเองรึยัง ส่วนใหญ่จะเป็นหักรายได้ต่อหัวแล้วทำประกันสุขภาพแบบค่อนข้างบังคับของแต่ละคนไปแต่แรกแล้ว


ส่วนที่บอกกำไรขาดทุนไม่ใช่เป้าหมาย แต่มันทำให้โครงสร้างของไอนโยบายนี้ไปต่อได้หรือไม่ได้ กระทบอะไรมั่งในอนาคต กระทบอะไรมั่งตอนนี้

ซึ่งทั้งหมดนั่น เอามาให้อ่านหมดแล้วในสปอย ได้อ่านมั่งยัง


ทำไมต้องมานั่งอธิบายอะไรให้คนที่ไม่พยายามเข้าใจอะไร มาเข้าใจด้วยวะเนี่ย

เอาเปนว่าสรุปเลยละกัน

30บาทตอนนี้ไม่ดี อยากให้ดีทำเหมือนประเทศที่ส่งลิสมาให้ส่วนใหญ่อะ คือต้องมีfilter หรือมีการcopay เยอะกว่านี้

ทำยังไงก้ได้ให้รพไม่โหลดหนักขนาดนี้


ถามว่าโหลดแล้วแย่ยังไง ไปนั่งไล่อ่านในสปอยคนที่พิมอธิบายให้ฟังเยอะแยะแล้วไม่ดีในระยะยาวยังไง



ไม่ต้องquote แล้วนะ ถ้าอยากเข้าใจก้ไปอ่านที่ผมพิมมาทั้งหมดแบบไม่มีอคติ อ่านในspoil คนที่พูดถึง

แล้วจะรุ้ว่ามันมีข้อเสียระยะยาวยังไง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน

เมื่อไหร่โดนบังคับให้ไม่พูดสิ่งที่ควรพูด ถือว่าเราตายไปแล้ว :D
ออนไลน์
ดาวเตะพรีเมียร์ลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 30 Jan 2010
ตอบ: 7217
ที่อยู่: ทรานซิลเวเนีย
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 02:02
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
ประชาชนได้ประโยชน์จริง อันนี้ไม่เถียงแน่นอนครับ
แต่แบกภาระประเทศมากไปไหม อันนี้ผมคลางแคลงใจนะ
ถึงจะชอบนโยบายนี้ แต่ถ้าลงรายละเอียด ก็ไม่ค่อยมั่นใจนัก

ถึงจะชอบทักษิณไม่น้อย แต่ก็คิดว่านี่คือนโยบายหาเสียง ประชานิยมนะครับ
อย่างแรก ชาวบ้านจำนวนมาก ใช้สิทธินี้เยอะเกินไป และไม่ต่ำกว่า 70-80% ใช้สิทธินี้ทั้งๆที่ไม่จำเป็น
คนกลัวตายเข้าใจได้ แต่หลายครั้ง ไม่มีเหตุจำเป็นต้องมาหาหมอด้วยซ้ำ แต่ขอใช้สิทธิเต็มพิกัด
ลองไปถามหมอที่อยู่ในพื้นที่ก็ได้ โดยเฉพาะต่างจังหวัด และโดยเฉพาะไปอีกที่เป็นพื้นที่รองๆ

นิสัยชาวบ้านคือ เล็กน้อย ขอหาหมอไว้ก่อน และขอใช้สิทธิจนถึงที่สุด
จำนวนมากๆเลย จะใช้สิทธิให้สุด ต้องการการรักษาขั้นเทพ ทั้งๆที่ไม่อยากจ่ายมาก
จนหมอจำนวนไม่น้อยเอือมระอา กับพฤติกรรมที่เมิงไม่ได้เป็นอะไรเลย แต่ก็มาหาอยู่นั่นแหละ

คนจำเป็นต้องใช้จริงๆ ก็มีไม่น้อยเช่นกัน แต่พอผสมกันมั่วไปหมด หมออยู่หน้างานก็รู้อะไรใช่ไม่ใช่
ซึ่งหมอก็คนพอเจอไปบ่อยๆ ก็ท้อเหมือนกัน

โดยสรุปผมว่า นโยบายดี แต่เร็วเกินไปที่จะใช้กับสังคมไทย ณ ตอนนี้

ถ้าคนมีจิตสำนึกที่ดี มันคงเป็นนโยบายที่ดีมากๆ
แต่ก็ยอมรับเถอะครับ ว่าสังคมไทยโดยรวมๆ มันไม่ได้ดีขนาดนั้น
โครงการนี้ถ้าพอรู้จัก ลองไปถามหมอหน้างานดูก็ได้ครับว่ามันเป็นไง

สุดท้าย ผมว่าควรเอาเงินไปพัฒนาการศึกษา เอาไปพัฒนาความรู้ พัฒนาจิตสำนึกของผู้คนก่อนน่าจะดีกว่า
เอาให้รู้ว่าอะไรควรไม่ควร ในกรณีนี้คือ ไม่ใช่พอมีสิทธิก็จะเอาให้เต็มเหนี่ยว

เงินที่ใช้ไปก็ไม่ใช่น้อยๆนะครับ ถามว่าดีไหม ผมว่ามันก็ดีครับ
แต่ดีโดยคอนเซปคือ 100 แต่ได้จริงๆ แค่ 10-20 อีก 80-90 ก็ทิ้งน้ำ เพราะคนเห็นแก่ตัวยังมีมาก

ผมเลยคิดว่า มันเร็วเกินไป เอาเงินหลักๆ ไปพัฒนาส่วนอื่นน่าจะเหมาะสมกว่า
หรือไม่ก็หาวิธีปรับเกณฑ์ให้มันสมเหตุสมผล ใช้ให้เหมาะสม น่าจะดีกว่าที่ทำๆมาครับ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ก.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 24 Apr 2007
ตอบ: 11687
ที่อยู่: UNDER TABLE
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 02:08
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
-เพิ่มจาก 30 เป็น 100 ก็ได้เพื่อไม่ให้ขาดทุนเยอะ
-ปรับขึ้นเงินเดือนข้าราชการให้เท่ากัน แล้วรักษาให้เหมือนห้างร้านประชาชนทั่วไป
-จ่ายเงินเดือนบุคลากรทางการแพทย์ให้ตรงตามเวลา ได้ก็จะดีครับ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
รูปไม่หล่อ แถมจน แต่ก้อเลือกนะ



ออฟไลน์
อบรมขอไลเซนส์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 25 Nov 2008
ตอบ: 25698
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 02:08
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
a.Raptor v.10 พิมพ์ว่า:
ตอบเหมือนเดิม จะมีก้ทำให้สุดโต่งน้อยลงกว่านี้ ปรับให้ลงมาไม่ว่าจะเป็น

A. เพิ่มขั้นต่ำเพื่อกรองให้คนเจ็บหนักหน่อยมาหา 500 1000 อะไรก้ว่าไป
B. ให้คนที่จ่ายภาษีมีโอกาสได้รักษาก่อนถ้าคิวว่างค่อยให้คงที่ไม่จ่ายภาษีได้คิวไป (ดูโหดหน่อยเพราะมันตรงข้ามกับที่ต้องการรักษาคนที่ไม่มีรายได้จริงๆ)
C. นึกไม่ออกเร็วๆตอนนี้แฮะ แต่หลักๆก้สเกลลงมา



ตอบเหมือนเดิม ถ้ามันดีจริงทุกประเทศมันทำไปแล้ว ไม่ดียังไง ได้ทั้งฐานความนิยมจากประชาชนตัวเองก้ไม่เสียอะไร มีแต่ได้กับได้

วิธีทำไม่มีไรซับซ้อนเลย จ่าย 1 ดอล รักษาทุกโรคที่เหลือรัฐบาลเอางบไปลงให้


ไม่ว่าประเทศไหนก้เริ่มต้นได้ภายใน1ปีอะ



อ้อเสริมอีกเรื่อง ใครนึกไม่ออกดีไม่ดียังไงนะ

ลองไปเล่นเกมสร้างเมืองทั้งหลายอะ (ถึงจะบอกว่ามันเป็นเกมก้เถอะ)

แล้วประเทศกำลังพัฒนาอะ ลองไปmax เรื่องโรงพยาบาล การรักษา ทุ่มภาษีไปให้สุดดู

ประชาชนhappy จัดๆอะ แต่ระยะยาว 30 50ปี ประเทศไม่ค่อยไปไหน


ลองไปเทียบกับเล่นปกติแล้วเล่นไม่max พวกพยายาม เจริญกว่าเยอะ


ถึงจะบอกว่าเป็นแค่ระบบเกมแต่มันมีสิ่งที่จริงกว่าเยอะเลย



แล้วก้อย่างที่บอกจะมีใครไม่ชอบ ประชาชนที่อังกฤษก้ชอบ ชอบสิของฟรีใครไม่ชอบ  


ผมเพิ่มข้อcให้ครับ คือ กระจายปชช.ไปกรองที่คลินิคก่อนส่งไปรพ. ยกเว้นกรณีอุบัติเหตุหรือฉุกเฉิน

อย่างที่ตอบไปเหมือนกันถ้าไม่ดีจริงคงไม่มี70กว่าประเทศทำ และยังใช้มาจนถึงปจบ.ในไทยก็20ปีละมั้ง ถ้ามีวิธีอื่นดีกว่าคงปรับเปลี่ยนไปใช้นานแล้วผ่านมากี่รัฐบาลก็เปลี่ยนไม่ได้

ใช่ครับเริ่มง่ายแต่การสร้างรายได้เพื่อมาทดแทน"สวัสดิการ"ของรัฐในรูปแบบภาษีอื่นๆ มันก็วัดความสามารถของรัฐบาลนั้นๆแหละคับ แต่แก้ตัวให้ว่าปัจจัยภายนอกอื่นๆก็ทำให้มีปัญหาเช่นกัน

จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป

จริงๆถ้าเทียบของจริง กระทรวงกลาโหมยังได้งบประมาณมากกว่ากระทรวงสาธารณสุขเลย
แถมๆๆๆๆ กระทรวงกลาโหมนี่ขาดทุนแน่นอนอยู่ละเพราะไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขเช่นกัน
ที่จะพูดคือต้องดูจุดประสงค์ของโครงการอ่ะคับ กระทรวงกลาโหมมีงบจ้างทหาร ซื้อเครื่องบินรบ เพื่อปกป้องอธิปไตยประเทศ จะไปคิดเรื่องการคุ้มทุนขาดทุนได้ยังไงเพราะไม่ได้สร้างมาเพื่อก่อรายได้

เช่นกันประกันสุขภาพถ้วนหน้าก็ไม่ได้ตั้งมาเพื่อหารายได้เข้าประเทศ แต่จุดประสงค์คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้ประชาชน

สรุปรวมคือ ถ้าตั้งเป้าจุดประสงค์ผิดแต่แรก คำตอบมันก็ผิดแหละคับ ถ้าจุดประสงค์คือสร้างสุขภาพที่ดี ให้ปชช.เข้าถึงการรักษา แต่ไปวัดผลที่กำไร มันก็ไม่ถูกต้องคับ

 


70 กว่าประเทศเค้าก้ไม่ได้ทำแบบเราครับ

ช่วงยกตัวอย่างหน่อย

มีประเทศไหนที่ จ่ายแค่ประมาณ 30 บาท แล้วรักษาฟรีหมด ให้กับทุกคนมั่ง

จาก 70 ประเทศที่ว่ามา ขอรายชื่อประเทศหน่อย

"จริงถ้าเทียบการสร้างเมืองการทุ่มอะไรอย่างเดียวยังไงเกมก็พังอยุ่ดีครับ เช่นไปลงที่ระบบคมนาคมแบบmax ประชาชนก็มีความสุข เดินทางฟรี ถนนเรียบกริ๊บ แต่ระยะยาวก็ไม่ไปไหนอยู่ดีแหละ เพราะมัน"สุดโต่ง"เกินไป
"

ก้บอกแล้วว่าของไทยไม่มีกรองอะไรเลย ถ้าไม่มีกรองแล้วจัด30บาทได้ให้ทุกคน รักษาเต็มที่ แล้วถือว่าเป็นอันดับ1ทางด้านนี้ ไม่เรียกสุดโต่งแล้วเรียกอะไรครับ

ถ้าแบบนี้ยังไม่สุดโต่ง คงไม่มีประเทศไหนสุดโต่งแล้วนะ




ผมจะไม่คุยที่ประเด็นอื่นนะ แบบ กลาโหมได้เงินเยอะ คิงได้เงินเยอะ เพราะส่วนตัวก้เกลียดพวกนั้นที่ได้เงินเยอะเหมือนกัน


แต่คุยในประเด็นนี้แหละ  


เอางี้คับกลับมาจุดเดิมครับจุดเดียวเลยคือ..

โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่

ส่วนตัวผมพิมพ์ไปหลายรอบแล้วว่าสมควรปรับปรุงให้มันอยู่รอดทั้งตัวโครงการและงบประมาณที่ผลาญไป หรือยุบไปเลยก็ดีถ้า มันมีโครงการที่จุดประสงค์เดียวกันแล้วคุณภาพหรือผลลัพธ์ดีกว่านี้ อย่างที่คุณบอกว่าต้องมีตัวกรองนั้นก็ใช้เลยผมก็บอกอยู่ว่าเห็นด้วย100%

ส่วนประเทศไหนก็อังกฤษไงคับหรือประเทศอื่นในUKก็คล้ายๆกันครับ ไม่ต้องจ่ายซักบาท แต่ยกเว้นที่อังกฤษpescription9ปอนด์มั้ง กี่บาทอ่ะ 450บาทนี่ตีเรท50เลยนะ 9ปอนด์นี่ค่าแรงขั้นต่ำ1ชม.ก็ได้ละ กี่ปีละเกือบ10ปีละมั้งตอนผมเคยพาเพื่อนไปหาหมอ จริงๆเด็กต่ำกว่า18 หรือคนแก่เกิน60 หรือนักเรียนก็ฟรีนะ อย่างตอนผมเรียนไปหาก็ฟรี

คำถามสั้นๆอันนี้คุณอยู่ในระบบสาธารณสุขป่ะครับอยากทราบ? ถ้าอย่างนั้นผมจะได้ไม่แปลกใจ  




โครงการนี้สร้างมาเพื่อก่อรายได้มั๊ยคับถึงคิดถึงการขาดทุนหรือกำไรเป็นตัวเงิน?

- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

แล้วอย่างที่บอกครับว่างบประมาณที่ทุ่มไปมันไม่ได้maxแบบที่คุณยกตัวอย่างแบบสุดโต่งมาไงคับ มันกี่%ของงบทั้งหมด มันกี่%ต่อGDP? นี่แหละที่ผมบอกอยู่
- ถึงบอกไงมันไม่มีประเทศไหนให้ฟรีแบบเราเยอะขนาดนี้ อาจจะยกเว้นอังกฤษกับศรีลังกา
แล้วยังไงถึงบอกมันสุดโต่ง ก้มันดันไปสุดเพดานแล้ว ดันไม่ได้มากกว่านี้แล้ว เพราะมันดันบุคลากรไปสุดทางให้คนรักษาเต็มmaxที่จะรับได้แล้ว อธิบายให้ฟังแล้วไง เราดูแลดีสุดในโลกแล้ว อันดับ1ยังไม่สุดโต่งอีกหรอ




ถึงบอกไง ถ้าโครงการมันดี มันต้องมีประเทศเลียนแบบเต็มไปหมดแล้ว แล้วทำไมมันไม่มี นายบอกมี 70ประเทศ ผมก้บอกมันไม่มีหรอก 70ประเทศอะที่ทำแบบเรา

รักษาฟรี(30บาทเรียกว่าฟรีละกัน)



อะไรที่มันดีอะ แล้วมันก๊อปแบบโคตรง่ายเลยโครงการแบบนี้ แล้วมีแต่ผลประโยชกับคนออกกฏหมายด้วยซ้ำได้คะแนนนิยมแบบโคตรบาน วิธีการไม่มีไรเลย เอางบกระจายไปลงแค่นั้นเอง ทำไมมันถึงไม่มีประเทศไหนทำไง


แล้วสุดท้ายคุณก้เห็นด้วยว่ามันต้องมีระบบคัดกรองที่ดีกว่านี้เยอะๆเลย

คุณบอกต้องให้คนไข้ไปคลีนิคก่อนคือคัดกรอง คลีนีคบ้านเรานี่ก้คิวล้นๆแล้ว

ถ้าจับคนตรงนี้ไปต่อมันก้คือกรณีเดียวกันอะ คลีนิคเอกชนไม่ค่อยอยากรับ

แล้วจุดประสงค์หลักของอันนี้ไม่ใช่คัดกรองคนก่อนนะ แต่เป็นทำยังไงให้รัฐไม่แบกค่าใช้จ่ายเยอะขนาดนี้ต่างหาก



อันนี้ผมไม่มีpaperนะ แต่พูดจากการวิเคราะห์ล้วนๆ คุณไปเทียบกับอังกฤษอะ

เคยอธิบายไปแล้วไงในมุมกว้างอะ อังกฤษแบกน้อยกว่าของไทยเยอะ

1. คนในประเทศจ่ายภาษีเยอะกว่าของไทย (ไม่ใช่จำนวนเงินนะ แต่เป็นจำนวน%คนที่เค้าจัดเก็บได้)
มันเลยไม่ใช่แบบ ภาษีคนแค่ 10 ล้านคนไปแบก 70-80ล้านคน

ของอังกฤษ 56 ล้าน สมมติ เก็บได้ครึ่งนึง 30ล้านคน มันก้ไปช่วยแบกได้เยอะ

2. ที่บอกว่าการแพทย์มันไม่เหมือนอาหารการกิน ไม่ใช่แบบ อังกฤษอาหารมื้อละ 300 มาไทย 50บาท
เป็นมะเร็ง เป็นต่อมลูกหมากโต สมมติรักษา 5แสน ที่ไทย ไปอังกฤษมันก้ประมาณเดียวกัน 6แสนไรงี้
แต่เงินที่เค้าเก็บได้จากภาษีต่อหัวนี่มากกว่าคนไทยน่าจะ ต่ำๆ 3เท่านะ อันนี้ขั้นต่ำสุด



สรุปจากข้อ 1+2 อังกฤษหรือประเทศที่เจริญแล้วเค้าเอาเงินมา ถมลงตรงนี้ได้เยอะจากภาษีที่เค้าเก็บได้เยอะ
(ยังอ่วมหนัก) ของไทยละ




หรือจะบอกว่ามีประเทศอื่นนอกจากอังกฤษ ขอรายชื่อประเทศก้ได้ครับ ถ้ามันดีจริง ฟรีมันดีจริง มันต้องมีให้หาอ่านได้อยุ่แล้วประเทศไหนทำอะ แล้วถ้ามันไม่มีทำก้มันไม่ดีแค่นั้นเอง  


https://en.m.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_with_universal_health_care#:~:text=Countries%20with%20universal%20healthcare%20include,Ukraine%2C%20and%20the%20United%20Kingdom.

อันนี้listคับ สีเขียวเข้ม free and universal healthcare ไปนับเองนะคงอ่านออกแหละ


ส่วนอันนี้ที่คุณตอบว่า
- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย


งั้นผมสรุปเลยว่า จบตั้งแต่คำตอบนี้แล้วคับเพราะที่คุณพิมพ์ที่เหลือมาทั้งหมดคุณพูดแต่การขาดทุน แบกค่าใช้จ่าย ภาษี etc. อะไรจะพุดมาทำไมถ้าไม่ได้สนใจกำไรขาดทุน

ก็ไม่ต้องปญอ.คุยมาตั้งนานคับถ้าตอบข้อความนี้แต่แรก
เสียเวลาชีวิตจริงๆ555

ปล. ตกลงอยู่ในวงการสาธาป่ะคับถึงดิ้นจัง  


เดว ที่บอกขาดทุนเหมือนกันไม่ต้องคุย จะบ้าตาย


ขาดทุน 10บาทกับ 1000บาท บอกขาดทุนเหมือนกันได้มั๊ยวะเนี่ย


เผื่อไม่รุ้ตอนนี้รพรัฐของไทยเป็นแบบที่เอามาให้อ่านข้างล่างหมดเลย

แล้วรุ้หรือไม่ รพเอกชนตอนนี้กำลังโดนกว้านซื้อจากคนที่มีเงินเยอะ เพราะรุ้ว่าต่อไปรพรัฐจะแทบล้มหมดแน่นอน

ถามว่ามาจากวงในมั๊ย ก้พอรุ้เรื่องเยอะอยุ่ไม่งั้นไม่พิมออกมาได้เยอะขนาดนี้หรอก



ลองอ่าน อันนี้
Spoil


ขออนุญาตแสดงความคิดเห็น ในฐานะแพทย์ที่ทำงานอยู่ในรพ.ศูนย์ของรัฐบาลในภาคอีสานนะครับ

นโยบาย 30 บาท หรือ นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้น เป็นระบบที่ดีมากครับ ถือเป็นระบบสุขภาพในฝันเลยที่เดียว เอื้อประโยชน์ให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่มีมาตรฐานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย

ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างชัดเจนอยู่แล้ว ตรวจรักษาฟรี ผ่าตัดฟรี ค่ายาก็เกือบฟรี ถึงต้องจ่ายเพิ่มเติม ก็นับว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับเมื่อก่อน
ในฐานะแพทย์ที่ตรวจรักษาเอง ในหน้างานผมก็ชอบนะ ทำงานง่ายดีครับ ใครเข้ามาก็สั่งการรักษาได้เลย ไม่ต้องกังวลเรื่องเงิน เช็คสิทธิ์ 30 บาทผ่านปุ๊บก็เรียบร้อย

แล้วทำไมหมอส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับ 30 บาท?

เพราะประเทศไทยยังไม่พร้อมสำหรับระบบในฝันนี้ครับ และในระยะยาว มีโอกาสระบบรพ.รัฐจะเจ๊งกันหมดสูงครับ

เพราะ... การตรวจ การรักษา ต้องใช้เงิน รพ.ต้องมีค่าใช้จ่าย ค่ายา ค่าจ้างบุคลากร ค่าบำรุงพัสดุเก่า ค่าพัฒนาสร้างอะไรใหม่ๆ แต่เดิม รายได้ของรพ.รัฐ มาจากเงินสนับสนุนของรัฐบาลส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งโรงพยาบาลก็มีรายได้จากการเก็บค่ารักษาจากผู้ป่วย รพ.รัฐก็พออยู่ได้ ส่วนกำไรที่พอจะมี ก็นำมาใช้เป็นงบพัฒนา และก็ใช้ในการสงเคราะห์ผู้ป่วยที่ไม่สามารถจ่ายเงินเองได้ แต่ในเมื่อรัฐบาลออกนโยบายมาว่า ผู้รับบริการไม่ต้องจ่ายเงิน รายได้ของรพ.รัฐทั้งหมด ก็จะมาจากเงินที่รัฐบาล "บอกว่าจะจ่ายให้" ใช่ไหมครับ ในทางปฏิบัติก็คือ เวลามีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น ให้รพ.ออกไปก่อน แล้วค่อยส่งบิลไปคิดกับรัฐบาล (สปสช.) อีกทีหนึ่งครับ (ซึ่งเขาจะมีหลักการพิจารณาอีกที ว่าที่เราขอเบิกไปน่ะ มันสมควรจ่ายให้ไหม? ว่าแต่.... เงินมันใช้ไปแล้วอะครับ ถ้าท่านไม่จ่ายคืน รพ.ผมจะเอาที่ไหนมาใช้?)

มันเป็นการผลักภาระค่าใช้จ่ายจากภาระส่วนบุคคล ไปเป็นภาระของประเทศ

ติดตรงที่ว่าประเทศเราดันไม่มีตังก์จ่ายนี่สิครับ
ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศร่ำรวยเลย เรายังติดหนี้นู่นนี่นั่นอยู่อีกตั้งเยอะแยะ (แถมยังจะไปกู้เขาเพิ่มอีกแน่ะ)

จู่ๆก็มีรายจ่ายตรงนี้เพิ่มขึ้นมหาศาล รัฐบาลไม่มีทางมีตังก์จ่ายคืนให้รพ.ได้ครบ รพ.รัฐก็ติดตัวแดง ขาดทุนกันระนาวสิครับ
คราวนี้ต้องรัดเข็มขัดครับ ยาใหม่ๆ ดีไม่ดีไม่รู้ แต่ถ้ารัฐไม่อนุมัติก็จ่ายไม่ได้นะครับ (อย่าด่าหมอนะ)
คนไข้มาใช้บริการมากขึ้น งานหนักขึ้น(จริงๆนะ) แต่ค่าตอบแทนบุคลากรไม่เพิ่ม (โดนลดด้วยนะครับ T_T)
รัฐ"สั่ง" ให้พัฒนาคุณภาพการบริการ แต่ไม่สนใจคุณภาพชีวิตผู้ปฏิบัติงาน
แล้วคนทำงานที่ไหนจะอยากอยู่กับสถานพยาบาลของรัฐต่อครับ

ปัจจุบัน ระบบสาธารณสุขไทยต้องเรียกว่าอยู่กันแบบกระอักเลือดครับ
รัฐบาลยังคงต้องจ่ายค่าใช้จ่ายมหาศาลในการรักษาสัญญาต่อประชาชนที่ได้ให้ไปแล้ว และรพ.รัฐยังคงขาดทุน
แต่เริ่มไปแล้วย่อมไม่สามารถถอยกลับได้ และการเรียกเก็บภาษีเพิ่ม ยังไม่สามารถทำได้
ทางรอดก็คือการต้องยอมปรับลดมาตรฐานการรักษา? และการตัดสิทธิ์ต่างๆ ดังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน

ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือ 30 บาท หากจะให้ประสบความสำเร็จ ในระบบต้องเน้นการพัฒนาระบบสาธารณสุขมูลฐาน เน้นการป้องกันโรค การพัฒนาระบบอนามัยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่ายที่สุด ประชาชนต้องมีความรู้ในการดูแลตนเองที่ดี รักษาโรคแต่แรกเริ่มเพื่อลดค่าใช้จ่ายที่สูงในการรักษาโรคซับซ้อน ต้องทำส่วนนี้ให้สำเร็จก่อน จึงค่อยเริ่มใช้ระบบ
ส่วนด้านรัฐก็ต้องมีฐานรายได้ที่มั่นคงพอที่จะใช้ในค่าใช้จ่ายตรงนี้ นั่นคือต้องมีอัตราประชากรที่เสียภาษีที่มากถึงระดับหนึ่ง จึงจะใช้นโยบายนี้ได้อย่างได้ผลและไม่ขาดทุนในระยะยาว

ก่อนนั้นประเทศไทยกำลังพัฒนาไปในทิศทางนั้นแหละครับ แต่เรายังไปไม่ถึง เมื่อสาธารณสุขมูลฐานและประชาชนยังไม่พร้อม โรคซับซ้อนก็ยังมีมาก เงินที่รัฐต้องจ่ายจริงย่อมสูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ประมาณการ
ผมไม่เถียงเลยว่า ระบบ 30 บาท เป็นระบบที่ดีมาก มีข้อดีมากมายมหาศาล ผมจะมีความสุขมากถ้าไม่ติดตรงที่ว่า
มันก็มาคู่กับภาระอันหนักหน่วงเหมือนกัน ซึ่ง เราพร้อมจ่ายแล้วหรือ?
ประเทศที่รวยกว่าเรามากๆอย่างจีน เขายังไม่กล้าทำเลยครับ

มันให้ความรู้สึกเหมือนกับเราเป็นพนักงานกินเงินเดือนคนนึง แต่ดันไปถอยเฟอร์รารีมาขับ
รถดีไหม?... แรกๆดีครับ คนขับ(หมอ)สบาย คนนั่ง(ผู้รับบริการ)ก็ชอบไปถึงจุดหมายเร็วขึ้น เพื่อนรอบข้างชื่นชม
แต่ต่อมา เงินเริ่มไม่ค่อยพอ ไม่มีเงินบำรุงรักษา รถที่ควรจะดี ก็อาจไม่ดีเท่าที่ควร
แถมถ้าวันดีคืนร้าย หมุนเงินพลาดนิดเดียว ไม่มีเงินจ่ายค่าผ่อนรถ อาจถูกยึดรถคืน คราวนี้ละยิ้มเลยละครับ

ในความรู้สึกของผม นโยบาย 30 บาท ถูกเร่งประกาศใช้เร็วเกินไป ไม่ว่าจะเพื่อเรียกคะแนนเสียงทางการเมือง หรืออะไรก็แล้วแต่
เราดันทะลึ่งซื้อเฟอร์รารีมาแล้วครับ จะคืนก็ไม่ได้ แต่จะขับม้นได้ตลอดรอดฝั่งหรือไม่ยังไม่รู้
แน่นอนครับ คนที่ซื้อมันมา คนที่ประกาศใช้นโยบายย่อมเชื่อว่าเขา "เอาอยู่"
แต่คนในอย่างพวกผมย่อมรู้ดีว่าการเดิมพันนี้มันเสี่ยงมากๆๆๆๆแค่ไหน
ก็ได้แต่พยายามประคองกันไปแบบรากเลือด เหมือนที่ทำกันอยู่ทุกวันนี้
หากสำเร็จ ไทยเราจะเป็นหนึ่งในประเทศทีมีระบบบริการสุขภาพที่ดีที่สุดในโลก

นั่นคือหากเราไม่ถูกยึดรถ ล่มจม และล้มละลายไปเสียก่อนนะครับ
T_T  



Spoil
น่าจะบอกว่า...ระบบบัตรทองกำลังทำให้ระบบสุขภาพไทยล้มเหลวมากกว่าค่ะ

เราไม่ขอบอกว่าบัตรทองเป็นนโยบายที่ไม่ดี...เป็นนโยบายที่ดีค่ะ
แต่คนไทยยังไม่พี้อมกับระบบนี้

ระบบบัตรทอง มันจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อคนที่อยู่ในระบบรู้จักดูแลตัวเองค่ะ
กินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ เมาไม่ขับ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองในเบื้องตัน

...ที่นี้ลองย้อนกลับมามองคนไทยกันเองแล้ว...มีสักแค่ไหนกันคะที่สามารถทำได้ตามนั้น
สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ของคนไทย ไม่ใช่โรคติดเชื้อ...แต่เป็นโรคทำตัวเอง ที่เกิดจาการไม่ดูแลสุขภาพของตัวเอง

ระบบสุขภาพของไทยตอนนี้เป็นแบบซ่อมสุขภาพ...ทั้งๆที่มันควรจะเป็นสร้างสุขภาพค่ะ

ในเรื่องของเงิน...ของฟรีไม่มีค่า...คำพูดนี้คงจะไม่เกินไปนัก
พอคนเห็นว่าไปหาหมอได้ฟรีๆ ค่ายาก็ฟรี...ก็มีคนจำนวนไม่น้อยเลยที่ไม่สนใจดูแลสุขภาพตัวเองแล้วก็มาเข้ารับการรักษาที่โรงพยายาลเรื่อยๆ
จนรายจ่ายมันมากกว่ารายรับมากมาย ตอนนี้ก็มีโรงพยาบาลหลายๆแห่งที่ฐานะทางการเงินติดตัวแดง
ลูกจ้างตกเบิกแล้ว ตกเบิกอีก จนต้องไปกู้เงินมาใช้รายเดือนมีให้เห็นอยู่ทั่วไป

...ถามว่าเพราะอะไร...ก็บัตรทองนี่ล่ะค่ะ

...ลูกจ้างที่รู้ว่าไม่ได้เงินเดือน...ใครเขาจะอยู่คะ
...บริษัทยาที่รู้ว่าจะได้ค่ายา...ใครเขาจะขายยาให้คะ
...ไหนจะค่าเครื่องมือ...อุปกรณ์สารพัด...ของพวกนี้ไม่ได้ถูกเลยนะคะ
...ไม่ต้องพูดถึงเรื่องการพัฒนาเทคนิค วิธีการรักษาแบบใหม่ๆเลยค่ะ

พอบุคลการทยอยออก งานมันก็จะโหลดไปที่คนที่ยังอยู่
ต่อไปโรงพยาบาลรัฐถ้าไม่ใช่นักบุญผู้อุทิศตัว ทำงานเช้ายันเย็น ไม่ต้องกินข้าว เงินเดือนรอตกเบิกได้ไม่มีปัญหา ก็คงไม่มีใครอยู่หรอกค่ะ

พอสถานการณ์เป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ ที่นี้ก็จะถึงจุดที่ล้มเหลวของระบบสาธารณสุขเข้าจริงๆแล้วค่ะ
...โรงพยาบาลรัฐจะเหลือแต่เด็กใหม่ใช้ทุน หมอเก่าๆ ประสบการณ์มากๆ พยาบาล นักเทคนิคที่เชี่ยวๆ ก็ออกกันหมด
...ยาก็ไม่มี อุปกรณ์ก็ไม่มี...

สุดท้ายโรงพยาบาลเอกชนก็จะกลายเป็นที่พึ่งของประชาชน...แล้วค่ารักษาล่ะค่ะ
เงินไม่มี...ถ้าไม่ฉุกเฉินเค้าก็ไม่รักษาหรอกนะคะ...ธุรกิจ...คือ...ธุรกิจค่ะ

ฟังดูเลวร้ายมากเลยใช่ไหมค่ะ ดูไม่น่าเป็นไปได้เลยไหมคะ
แต่ถ้าปล่อยแบบนี้ต่อไป เป็นไปได้แน่ๆค่ะ แต่อาจจะเป็นสัก 20-30 ปีข้างหน้า  



Spoil
ปัญหาที่คุณเจ้าของกระทู้ว่ามานั้นจริงเลยทีเดียว
แต่ผลมันออกมาเห็นในขณะนี้ไม่ชัดเจน อีก 5-10 ปีข้างหน้าภาพการโหลดงาน และค่าบริการการรักษาจะชัดเจนยิ่งกว่านี้

ความต่างของค่ารักษาอีก 5 ปีข้างหน้าจะแพงขึ้นแบบคนไม่มีประกันจ่ายเองไม่ได้เลย
ถึงโครงการ 30 บาทจะทำให้ประชากรได้เข้าถึงการรักษามากขึ้น ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น
แต่ตอนนี้เงินในโครงการเป็นระบบเอาเงินอนาคตมาใช้ คือ รักษาไปก่อน(พยายามให้มีการรักษาในงบที่ต่ำสุดเท่าที่ทำได้)
แล้วเอายอดการรักษาไปเบิกกับรัฐ ในบางรายค่ายา 500 เบิกได้ 2000 บางราย 50000 เบิกได้ 2000
มันยากที่พยุงค่ารักษา ค่ายา ให้รพ.สามารถดำเนินการต่อไปได้ในอนาคต

เราอยากให้มีโครงการนี้นะ แต่มันจะทำได้นานแค่ไหน?
มองแบบความเป็นจริง ยาเป็นต้นทุน ค่าแรงบุคคลากรทางการแพทย์เป็นต้นทุน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเสื่อมสถานที่ อุปกรณ์เครื่องมือเป็นต้นทุน
และด้วยโครงการนี้ ทำให้มีร่ายจ่ายเพิ่มขึ้น สวนทางกับรายรับที่ต่ำลง
ถ้ารัฐบาลประเทศเรามีเงินอุดหนุนมันไปตลอด มันย่อมดีกับประชากร
แต่คำถาม? มันมีเงินเหรอ?
ตอนนี้งบก็ถูกตัดหั่นลดลงไป เพราะรัฐไม่มีงบอุดหนุน จ่ายเงินให้รพ.ล่าช้า แล้วรพ.จะเิอาทุนที่ไหนไปจ่ายค่ายาที่ต้องจ่ายให้ผู้ป่วย?
รพ.ต้องซื้อยาให้ถูกลง ต้องใช้ยาที่ผลิตในประเทศที่ราคาถูกกว่า ประสิทธิภาพน้อยกว่า
ยาที่จำเป็นต้องใช้ในการรักษาให้ดีที่สุด จ่ายไม่ได้เพราะอยู่นอกบัญชีที่นโยบายนี้จะจ่ายให้ได้
ในระยะแรกของโครงการเราไม่เห็นผล เพราะรพ.ที่เข้าโครงการยังพอมีทุนหมุนเวียน
แต่ตอนนี้ทุนมันหดลงไปเรื่อยๆ เพราะไม่มีงบมาช่วยเหลือ
รพ.ก็ออกจากโครงการไป ที่ฝืนอยู่ไปก็ต้องลดระดับการรักษา ด้วยการลดคุณภาพยา
(โอเค ถ้าโรคที่ผุ้ป่วยเป็นใช้ยาที่ประสิทธิภาพลดลงแล้วไม่เป็นไร ถือว่าผู้ป่วยโชคดีไป แต่ก็ใช่ว่าทุกคนจะโชคดีเท่ากันหมด)

อีกหน่อยโครงการนี้ก็คงหดลงไปเรื่อยๆ

โครงการนี้มันดีจริงๆ แต่ประเทศเราไม่มีงบประมาณมากพอจะทำให้มันดีกับประชาชนตลอดกาลค่ะ
มันจะดีในช่วง 10 ปีแรก หลังจากนั้นระบบบริการสาธารณสุขจะล่ม
หมอที่จะทำงานรพ.รัฐจะยิ่งหดตัวลง
พยาบาลยิ่งลำบากกว่า เพราะการตัดงบทำให้ไม่ไดรับการบรรจุเข้าทำงาน เงินเดือนจะต่ำกว่าที่ควร รวมไปถึงไม่ได้รับสวัสดิการ
บุคคลากรทางการแพทย์ก็คนนะคะ ทุกคนจะหนีเข้าสู่รพ.เอกชน
รพ.รัฐจะให้บริการต่ำลงเรื่อยๆ ทั้งในแง่คุณภาพและจำนวน เพราะขาดแคลนงบประมาณ
รพ.เอกชนจะให้บริการดีขึ้น และเก็บค่ารักษาแพงขึ้นเพราะเข้าสู่ระบบผูกขาด

ไม่ต้องตอบอะไรเราค่ะ มองตอนนี้กับ 10 ปีก่อน
แล้วรอผลอีก 10 ปีข้างหน้า
ยาหวานตอนนี้ แค่พยุงอาการ โรคไม่หายขาด อีก 10 ปีแสดงอาการตอนนั้นก็รักษาไม่ทันแล้ว

ทุกท่านที่ได้รับประโยชน์จากโครงการนี้เราดีใจด้วยจริงๆ แต่เสียดายแทนที่มันจะอยู่บริการในระดับนี้ได้อีกไม่นาน



 






Spoil
30 บาทมันอยู่ได้แหละครับ เพราะงบประมาณของ 30 บาทก็ประมาณ 2 แสนล้าน พอดิบพอดีกับงบสาธารณะสุข

มันก็อยู่ของมันไปได้เรื่อยๆแหละครับ เพียงแต่สาธารณสุขก็ไม่มีงบไปทำอย่างอื่น ไม่มีงบไปสร้างโรงพยาบาลเพิ่ม ซื้อเครื่องมือ ซ่อมแซมเครื่องมือ

ก็อยู่แบบนี้ไปเรื่อยๆก็ได้ครับ แต่อนาคตอย่ามาเรียกร้องว่า รพ รัฐ ทำไมมันห่างกับ รพ เอกชน ราวฟ้ากับเหวขนาดนี้ละกัน

เห็นเลขขาดทุน แต่ไม่มีใครคิดจะแก้ ปล่อยไปเรื่อยๆ เดี๋ยวก็เน่าเหมือนการบินไทย การรถไฟล่ะ  



ทั้งหมดคือตรงและจริงหมดเลย

รพรัฐไม่ได้พัฒนาอะไรมานานแล้ว คนเก่งย้ายออกอย่างเยอะ  


อยากจะอุทานว่าอะไรครับเนี่ยยยย!

ผมพิมพ์ตอนไหนนะว่าขาดทุน100 1000เหมือนกันอะไรของคุณมาจากไหนเนี่ย555

คุณพิมพ์ว่า
- กำไรขาดทุนไม่มีอยุ่แล้วโครงการแบบนี้ อย่ามาถามปญอเลย

ผมเลยตอบว่า ถ้ารู้จุดประสงค์โครงการตั้งแต่แรกว่ามันคือสวัสดิการรัฐอย่างนึงว่าไม่มีกำไรขาดทุนอยู่แล้ว แล้วจะปญอ.มาพูดเรื่องการขาดทุน ค่าใช้จ่ายนู้นนี่อะไรทำไมตั้งนานละค๊าบบบ

แล้วตกลงก็มีประเทศที่ใช้universal healthcareใช่มั๊ยคับเห็นถามหา ไม่ใช่ไทยประเทศเดียวแบบที่คุณเข้าใจเนอะ ผมตอบคำถามครบหมดมั๊ยนะ??จะได้ไปนอนละ

ส่วนในspoilบอกตรงๆอ่านผ่านๆเพราะง่วงละแต่ก็เหมือนเดิมพูดแต่เรื่องกำไรขาดทุน อะไรแบบที่คุณบอกผมถามทำไมปญอ. ผมก็ไม่พูดเรื่องกำไรขาดทุนละเสียเวลา เพราะไม่ใช่เป้าหมายของโครงการ

ปล. ผมก็ไม่ได้พิศวาสโครงการนี้ มีไม่มีผมก็ไม่ได้ดิ้นหรือเดือนร้อนอะไรจะยกเลิกไปก็ได้คับถ้ามันมีประโยชน์กับปชช.โดยรวมมากกว่าการมีโครงการนี้อยู่ภาษีต้องใข้ให้คุ้มค่าถ้าstudyแล้วต้องปรับปรุงก็ปรับ ต้องยกเลิกก็ยกเลิกง่ายๆไม่ต้องดิ้นเยอะ ผมก็รอดูรัฐบาลไหนกล้ายกเลิกอยู่เหมือนกัน


 



งั้นผมสรุปเลยว่า จบตั้งแต่คำตอบนี้แล้วคับเพราะที่คุณพิมพ์ที่เหลือมาทั้งหมดคุณพูดแต่การขาดทุน แบกค่าใช้จ่าย ภาษี etc. อะไรจะพุดมาทำไมถ้าไม่ได้สนใจกำไรขาดทุน


แล้วผมไปบอกแต่แรกตอนไหนว่าผมไม่สนกำไรขาดทุน ผมสนว้อย


แล้วไอลิสรายชื่อเนี่ย ผมนั่งไล่อ่านดู แรนด้อมประเทศที่มันไม่ใช่แบบบรากหญ้าต่ำกว่าเรา หรือแบบสูงสุดๆแบบ finland sweden พวกรายได้สูงต่อหัว


ไปอ่านเงื่อนไขมา ไม่ง่ายแบบของไทยแน่นอน นายได้ลองอ่านเองรึยัง ส่วนใหญ่จะเป็นหักรายได้ต่อหัวแล้วทำประกันสุขภาพแบบค่อนข้างบังคับของแต่ละคนไปแต่แรกแล้ว


ส่วนที่บอกกำไรขาดทุนไม่ใช่เป้าหมาย แต่มันทำให้โครงสร้างของไอนโยบายนี้ไปต่อได้หรือไม่ได้ กระทบอะไรมั่งในอนาคต กระทบอะไรมั่งตอนนี้

ซึ่งทั้งหมดนั่น เอามาให้อ่านหมดแล้วในสปอย ได้อ่านมั่งยัง


ทำไมต้องมานั่งอธิบายอะไรให้คนที่ไม่พยายามเข้าใจอะไร มาเข้าใจด้วยวะเนี่ย

เอาเปนว่าสรุปเลยละกัน

30บาทตอนนี้ไม่ดี อยากให้ดีทำเหมือนประเทศที่ส่งลิสมาให้ส่วนใหญ่อะ คือต้องมีfilter หรือมีการcopay เยอะกว่านี้

ทำยังไงก้ได้ให้รพไม่โหลดหนักขนาดนี้


ถามว่าโหลดแล้วแย่ยังไง ไปนั่งไล่อ่านในสปอยคนที่พิมอธิบายให้ฟังเยอะแยะแล้วไม่ดีในระยะยาวยังไง



ไม่ต้องquote แล้วนะ ถ้าอยากเข้าใจก้ไปอ่านที่ผมพิมมาทั้งหมดแบบไม่มีอคติ อ่านในspoil คนที่พูดถึง

แล้วจะรุ้ว่ามันมีข้อเสียระยะยาวยังไง
 


ไอ้ที่คุณสรุปมามันก็คือสิ่งที่ผมบอกว่าเห็นด้วยไง ผมพิมพ์มา2กระทู้ละก็ไม่เข้าใจว่าไม่เข้าใจจริงๆหรือไมาพยายามเข้าใจกันแน่ มีอะไรที่ผมแย้งคุณมั่งในการให้กรองให้ปรับปรุง หรือแม้กระทั้งยกเลิกแม่งไปเลย ผมก็บอกเออถ้าstudyแล้รวสมควรยกเลิกก็ยกเลิกไปดิ เข้าใจอะไรยากจังวะใครกันแน่อคติ ขนาดผมบอกเห็นด้วยยังไม่พยายามเข้าใจงงเหมือนกันอะไรวะเนี่ย5555

ส่วนไอ้รายชื่อประเทศเนี่ยคุณถามว่ามีมั๊ย ผมก็ตอบว่ามีไง จริงๆก็ตอบไปแต่แรกละว่าUKก็มาเถียงว่าEngland อ่ะงั้นพูดแค่Englandก็ไม่จบอีกงง คือประเทศที่ด้อยกว่าหรือเท่าเราละมีอะไรหรือยังไงอันนี้คุณไปไล่ศึกษาเองอ่ะ เพราะผมแค่มาตอบคำถามคุณว่ามีมั๊ย ผมก็ตอบให้ละว่ามีแค่นั้นแหละ

งงใจ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
อบรมขอไลเซนส์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 25 Nov 2008
ตอบ: 25698
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 02:31
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
devildog พิมพ์ว่า:
ประชาชนได้ประโยชน์จริง อันนี้ไม่เถียงแน่นอนครับ
แต่แบกภาระประเทศมากไปไหม อันนี้ผมคลางแคลงใจนะ
ถึงจะชอบนโยบายนี้ แต่ถ้าลงรายละเอียด ก็ไม่ค่อยมั่นใจนัก

ถึงจะชอบทักษิณไม่น้อย แต่ก็คิดว่านี่คือนโยบายหาเสียง ประชานิยมนะครับ
อย่างแรก ชาวบ้านจำนวนมาก ใช้สิทธินี้เยอะเกินไป และไม่ต่ำกว่า 70-80% ใช้สิทธินี้ทั้งๆที่ไม่จำเป็น
คนกลัวตายเข้าใจได้ แต่หลายครั้ง ไม่มีเหตุจำเป็นต้องมาหาหมอด้วยซ้ำ แต่ขอใช้สิทธิเต็มพิกัด
ลองไปถามหมอที่อยู่ในพื้นที่ก็ได้ โดยเฉพาะต่างจังหวัด และโดยเฉพาะไปอีกที่เป็นพื้นที่รองๆ

นิสัยชาวบ้านคือ เล็กน้อย ขอหาหมอไว้ก่อน และขอใช้สิทธิจนถึงที่สุด
จำนวนมากๆเลย จะใช้สิทธิให้สุด ต้องการการรักษาขั้นเทพ ทั้งๆที่ไม่อยากจ่ายมาก
จนหมอจำนวนไม่น้อยเอือมระอา กับพฤติกรรมที่เมิงไม่ได้เป็นอะไรเลย แต่ก็มาหาอยู่นั่นแหละ

คนจำเป็นต้องใช้จริงๆ ก็มีไม่น้อยเช่นกัน แต่พอผสมกันมั่วไปหมด หมออยู่หน้างานก็รู้อะไรใช่ไม่ใช่
ซึ่งหมอก็คนพอเจอไปบ่อยๆ ก็ท้อเหมือนกัน

โดยสรุปผมว่า นโยบายดี แต่เร็วเกินไปที่จะใช้กับสังคมไทย ณ ตอนนี้

ถ้าคนมีจิตสำนึกที่ดี มันคงเป็นนโยบายที่ดีมากๆ
แต่ก็ยอมรับเถอะครับ ว่าสังคมไทยโดยรวมๆ มันไม่ได้ดีขนาดนั้น
โครงการนี้ถ้าพอรู้จัก ลองไปถามหมอหน้างานดูก็ได้ครับว่ามันเป็นไง

สุดท้าย ผมว่าควรเอาเงินไปพัฒนาการศึกษา เอาไปพัฒนาความรู้ พัฒนาจิตสำนึกของผู้คนก่อนน่าจะดีกว่า
เอาให้รู้ว่าอะไรควรไม่ควร ในกรณีนี้คือ ไม่ใช่พอมีสิทธิก็จะเอาให้เต็มเหนี่ยว

เงินที่ใช้ไปก็ไม่ใช่น้อยๆนะครับ ถามว่าดีไหม ผมว่ามันก็ดีครับ
แต่ดีโดยคอนเซปคือ 100 แต่ได้จริงๆ แค่ 10-20 อีก 80-90 ก็ทิ้งน้ำ เพราะคนเห็นแก่ตัวยังมีมาก

ผมเลยคิดว่า มันเร็วเกินไป เอาเงินหลักๆ ไปพัฒนาส่วนอื่นน่าจะเหมาะสมกว่า
หรือไม่ก็หาวิธีปรับเกณฑ์ให้มันสมเหตุสมผล ใช้ให้เหมาะสม น่าจะดีกว่าที่ทำๆมาครับ  

โดยรวมแล้วเห็นด้วยครับว่าควรต้องปรับปรุง

แต่ส่วนนึงผมมองว่าถ้าสุขภาพปชช.ไม่ดี ปัญหาอื่นๆก็ตามมาเป็นเงาตามตัวเหมือนกันคับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
นักบอลลีกภูมิภาค
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 3670
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 06:06
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
รำคาญการเถียงแบบไร้เหตุผล เอารายงานไปอ่านเถอะ เก่าแล้ว แต่มีมุมมองที่น่าสนใจ มีอ้างอิงสถิติ ไม่ใช่พูดลอยๆ
https://hss.moph.go.th/fileupload_doc_slider/2016-12-08--463.pdf

สรุปสั้นมาก - 30บาทช่วยลดค่าใช้จ่ายครัวเรือน

ส่วนโครงการต้องปรับปรุงมั้ย มองว่าอะไรที่เป็นราชการควรปรับปรุงอยู่แล้ว
การปรับ process ให้ไม่ซับซ้อน แต่มีประสิทธิภาพกว่าเดิมก็ถือว่าเป็นการลดค่าใช้จากการดำเนินงาน (operation cost) แล้ว

ส่วนเรื่องทำให้ไม่ขาดทุน (หรือกำไรนั่นแหล่ะ) อันนี้ตลกจริง
ลองคิดตามง่ายๆ ขอยกเคสนึง สมมติว่าการไฟฟ้าขายไฟให้คนไทยขาดทุนหนัก การไฟฟ้าจะทำยังไงไม่ให้ขาดทุน
-ลดต้นทุน
-หารายได้เพิ่ม
ซึ่งการลดต้นทุนถือเป็นเรื่องทั่วไปเลยสำหรับองค์กร ตรงไหนมีงบไม่สำคัญก็ตัดทิ้ง
แต่ตลกตรงที่ว่ามีหลายคนให้ไม่ขาดทุน คำถามคือถ้าการไฟฟ้าจะไม่ขาดทุนต้องทำยังไง?
หนึ่งในนั้นก็มี ขายไฟฟ้าเพิ่ม (ซึ่งตอนนี้ก็ผลิตไม่ค่อยพออยู่แล้ว) กับเพิ่มราคาไฟฟ้า แล้วถ้าเพิ่มราคาไฟฟ้าจริงๆ ใครรับภาระตรงนี้??
คำตอบคือทุกคนที่ใช้ไฟฟ้า (ประชาชนเกือบทั้งประเทศ)
กลายเป็นว่าเราอยากให้รัฐมีกำไร แต่เรากลับต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มซะงั้น แย่จัง

ทีนี้ลองมองในมุม 30 บาท เราจะทำยังไงไม่ให้ขาดทุน
ลดต้นทุน เช่น ลดค่าดำเนินการ ลดจำนวนคนไข้ (แทบจะเป็นไปไม่ได้) ฯลฯ
หารายได้เพิ่ม เช่น เก็บค่าบริการกับคนไข้ต่างๆเพิ่ม (แต่ประชาชนรับภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มนะ)

ส่วนเรื่องประเทศไทยไม่พร้อมสำหรับ... อ้างอิงจากตรรกะ/คำพูดแฟนเพจท็อปนิวส์ว่าประเทศไทยไม่พร้อมมีประชาธิปไตย ถ้ายังงี้ประเทศไทยก็ไม่ต้องมีประชาธิปไตยมั้ย??
ถ้าบอกว่าไม่พร้อมเลยไม่ทำ ยังงั้นก็ไม่ต้องทำอะไรแล้ว รถไฟความเร็วสูงก็ไม่ต้องมี ไปทำทางลูกรังดีกว่า

ส่วนเรื่องนิสัยชาวบ้านเล็กน้อยขอไปหาหมอก่อน ไม่ค่อยเจอนะ ปกติเจอแต่คนไม่กล้าไปหาหมอเพราะกลัวเสียตัง เสียเวลาทำงาน สุดท้ายเรื้อรัง อาการหนัก เสียตังเยอะกว่าเดิมอีก แทนที่จะรักษาแต่เนิ่นๆ

แล้วจริงๆก็ไม่คิดว่าจะมีใครอยู่ๆก็อยากป่วยเพื่อใช้สิทธิ์หรอก อารมณ์แบบซื้อประกันชีวิตมาแต่อยากใช้ให้คุ้ม เลยพยายามทำให้ป่วย พวกสายประกันเขาเรียกว่า moral hazard หรือเปล่าหว่าอันนี้
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะเทศบาล
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 15 Dec 2009
ตอบ: 2616
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 07:35
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
ควรมีนะ โครงการรักษาทุกโรค แต่ควรปรับปรุงทัศนคติการรักษามากกว่า

ไม่รู้ว่าเพราะงบมีจำกัดหรือเปล่า ไป รพ.รัฐนี่เหมือนรักษาแบบไม่ละเอียด พยายามตรวจให้น้อย คาดเดาสันนิษฐาน(ในแง่ดี)ให้เยอะ

ยกตัวอย่าง เอาคนรอบตัวผมนี่แหละ 2-3 คน ปวดท้องเหมือนกัน ไปหาหมอ รพ.รัฐ กันคนละ 2-3 เดือน 4-5 ครั้ง ก็ไม่หาย หมอไม่ทำอะไรเลย แค่ฟังแล้วจ่ายยา ดีหน่อยก็ได้ x-ray แล้วไม่จบ ไปจบที่ รพ.เอกชนกันหมด คนแรกเป็นตับอ่อนอักเสบ คนสองเป็นนิ่ว คนสามมะเร็ง(ตายแล้ว)

มันกลายเป็นมีโครงการรักษาทุกโรคก็เหมือนไม่มี เพราะไม่กล้าสั่งตรวจ จนอาการมันค่อนข้างหนัก คนไข้รอไม่ไหวต้องดิ้นรนไปตรวจเอกชน รอบข้างผมเป็นแบบนี้เยอะ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบจ.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 01 Sep 2017
ตอบ: 2509
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 08:44
[RE: 30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)]
ลองลดงบทหารไหม ลดลงทหารที่ตอนนนี้แทบไม่ได้ทำอะไร เอามาสมทบ30บาทใหม
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status: Music
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 01 Apr 2010
ตอบ: 1245
ที่อยู่: พระอาทิตย์
โพสเมื่อ: Sat Oct 16, 2021 10:22
[RE]30บาทรักษาทุกโรค (ต่อ)
มันเป็นหน้าที่รัฐ จะอ้างอะไรก็มันก็หน้าที่รัฐที่ต้องมีสวัสดิการให้ประชาชน
หรือจะให้คนมาวิ่งขอเงินให้รัฐ
โพสต์บนแอป Soccersuck บน iOS
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน


ไปหน้าที่ 1, 2, 3, 4
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel