ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3, 4
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
แข้งบุนเดสลีกา
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 29 Apr 2010
ตอบ: 7901
ที่อยู่: อยู่ในจินตนาการอยู่ในฝํนฉันข้างใน
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 11:42
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
ส่วนตัวเห็นด้วยว่าควรมีการคัดแยก แต่ไม่ต้องสร้างเพิ่มหรอกครับ

เพราะทุกวันนี้โรงเรียนชั้นนำก็คือ Elite school แล้ว

มันเหมาะสมมากที่ต้องคัดแยกครับ เราไม่ได้ต้องการอะไรแบบเหมือนกันหมด

ลองคิดนะ ถ้าคุณเรียนไวมาก เข้าใจบทเรียนไวมาก แต่ในห้องมีแต่คนช้าเป็นเต่า

มันทำให้คุณถูกกดการเรียนรู้ไว้ แทนที่ตัวเองจะไปเรียนบทเรียนใหม่ๆ หรืออะไรที่ลึกซึ้งขึ้น

ก็ไม่ต้องมารอเพื่อนในห้อง ซึ่งผมว่าทุเรศเลยแหละ เรามีหน้าที่ผลักดันขีดความสามารถ

เด็กให้ไปถึงขีดสุดที่เค้าต้องการมากกว่ามั้ย ถ้าเค้าไม่ต้องการเค้าก็จะทำให้เห้นเองผ่าน

ความสนใจในการเรียนที่ลด ผลการเรียนที่แย่ลง ตามธรรมชาติเลย

ส่วนพวกที่บอก คนเก่งเอาตัวรอดไม่ได้ เรียนอย่างเดียว ไม่ทนงาน เหอะๆ ฟังแล้ว

รู้สึกเหมือนเป็นการปลอบใจพวกที่ไม่เก่งเท่าชาวบ้านเค้ามากกว่า

ทุกสังคมมีหมดแหละครับ คนไม่สู้งาน คนขี้เกียจ ลองมาวัดเลยซิเป็น % จากทั้งหมด

ใครขี้เกียจกว่า ใครไม่สู้งานกว่า มันอยู่ที่นิสัยมากกว่าความเก่ง
3
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ลิขิตฟ้าหรือจะสู้มานะตน
ออฟไลน์
คอมเมนเตเตอร์
Status: ^_^
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 01 Dec 2005
ตอบ: 15022
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 11:52
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
ผมกลับเห็นด้วยกับการแยกเด็กว่ะ

เด็กที่เก่ง เวลาเรียน ผมบอกตรงๆ แม่งโคตรน่าเบื่อ เวลาครูในโรงเรียนรัฐสอน

สอนแบบ ซ้ำไปซ้ำมาเรื่องเดิมๆ กุเข้าใจตั้งแต่รอบแรกแล้ว เลยแม่งไม่ตั้งใจหนีไปเตะบอลแม่งเลย

ผมมีเพื่อนแบบนี้ 3-4 คน ในโรงเรียนประจำจังหวัด

ครูแม่ง ก็เบื่อผมกับแก๊งนี้จะเป็นจะตาย แต่แม่งทำอะไรไม่ได้ไง เวลามีไปแข่งโครงการ สอบแข่งนู่นนี่นั่น ก็ไอ้พวกนี้นี่แหละ ตัวยืน

สุดท้ายพวกแก๊งนี้ก็แยกย้ายไป มหิดลวิทย์ ไปเตรียม ไปทุน กพ. กันหมด

พอไปเรียนในโรงเรียนพวกนั้น เออ ค่อยสนุกกับการเรียนหน่อย

ไอ้ที่เป็นปัญหาของกระทรวงอ่ะ คือการทำให้เด็กที่อ่อนน่ะ ดีขึ้นได้ยังไง ไม่หนีไปเลว ไปแวนซ์ ยังไง อันนั้นก็ปัญหานึง

แต่ถ้าบอกว่ากระทรวงไม่ควรส่งเสิรมเด็กเก่งให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศ

ผมว่าแนวคิดพวกคุณมีปัญหาแล้วล่ะ

เด็กที่เก่ง ควรที่จะได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เก่งยิ่งขึ้นไป

ไม่ใช่ถูกปลูกฝังว่าต้องเท่าเทียมกันทุกอย่าง สุดท้ายเสียคนเก่งๆที่จะพัฒนาประเทศให้กับเรา ผมเห็นหลายๆคนได้ทุน กพ. มา สร้างสรรค์อะไรหลายๆอย่างให้ประเทศมากมาย

ถ้าคุณจะสนใจแต่ความเท่าเทียม มันก็เหมือนกับการล้างสมองคนอีกวิธีนั่นแหละ

แล้วก็ได้ข้าราชการห่วยๆ มา แล้วก็บ่นว่าทำไมประเทศแม่งไม่พัฒนา  


แต่ผมไม่เห็นด้วยกับการแยกเด็กนะ
ฟังอาจจะดูแปลก แต่เชื่อผม มันมีการวิจัยมาแล้ว

ข้อดีของการแยกเด็กคือ เด็กเก่ง เด็กเรียน จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เพราะรอบๆมีแต่คนเก่งๆ ครูตั้งใจสอน

แต่... ปัญหาคือ แล้วไอ้เด็กเรียนแย่ ไม่ตั้งใจเรียนมันจะไปอยู่ไหน? คำตอบคือ ไปกองรวมกัน พากันโดดเรียน พากันทำเรื่องไม่เหมาะสม เกเร อบายมุข ครูก็เอือม ไม่ตั้งใจสอน เพราะสอนมันไปก็เหนื่อย แถมไม่ได้อะไร สร้างชื่อเสียงก็ไม่ได้ คิดว่าเป็นภาระ

แล้วไอ้เด็กเก่งๆที่มามัดรวมกันล่ะ มันเก่งเจอเก่ง ที่1เจอที่1 ไม่เคยแพ้มาเจอกัน การแข่งขันมหศาล กดดันเครียด ครูๆฝากความหวังทั้งหมด แต่การแข่งขันมันต้องมีที่1ถึงที่สุดท้ายอยู่แล้ว แล้วลองนึกภาพเด็กที่เคยได้ที่1มาตลอด มันได้ที่โหล่ของห้องสิครับ ทั้งๆที่คะแนนมันอาจจะมากกว่าทั้งรร.ที่เหลือด้วยซ้ำ ก็เป็นบาดแผลจิตใจไปอีก

การเอาเด็กมาคละกัน แล้วจัดระบบที่เหมาะสม ช่วยกันเรียน ทำงานเป็นทีม เน้นคะแนน +การเข้าสังคม การคิดต่อยอด เน้นความถนัดและความสนใจของแต่ละคนเป็นหลัก จึงจะเป็นคำตอบครับ
 


ถ้าอย่างงั้นอเมริกาจะสร้างมหาวิทยาลัยอย่าง MIT Yale Harvard ไปทำไมครับ

การแข่งขันมันเรื่องปกติของโลกมนุษย์อยู่แล้ว

ไอ้พวกเด็กเรียนแย่ Mindset แย่ เอาไปอยู่ไหนเหรอ

ผมก็บอกไปแล้วว่ากระทรวงต้อง Focus เด็กทุกกลุ่ม

เพียงแค่ใครที่มันเจ๋งจริง เอาไปส่งเสริมให้มันเจ๋งจริงๆ ใครที่มีแนวโน้มจะออกนอกทาง กระทรวงก็ต้องดูแล ไม่ได้บอกให้ทิ้ง

การที่เด็กห่วยไปรวมกัน แล้วคุณบอกว่ามันจะ Induce ให้เสียไปด้วยกัน

ผมมองมุมกลับว่า ถ้าเอาเด็กเก่งไปรวมกับเด็กห่วย สุดท้ายเด็กเก่งกลายเป็นเด็กห่วยไปด้วย มันน่าเสียดายยิ่งกว่าอีก

ไอ้ที่มีปัญหาอ่ะ ผมว่าการแนะแนว กับการประเมินเด็กมากกว่าว่าเค้าเหมาะสมกับจุดใหน

เด็กเก่ง ไม่ต้องพูดถึงหรอก เค้าได้รับการแนะแนวในสายวิชาการมากพออยู่แล้ว

แต่เด็กที่อ่อน โรงเรียนประเทศไทยก็ดันทุรังดันพวกเค้าไปสายวิชาการให้ได้ ทั้งๆที่เค้าอาจจะสามารถเป็นแรงงานที่ดี สามารถเป็นช่างที่เก่ง ได้

แต่พวกเราไม่มีการแนะแนวทางให้พวกเค้า ดันพวกเค้าเข้าสายวิชาการ ต่อไปเรื่อยๆ พอเค้าไม่ไหว ก็ดันไปบอกว่าพวกเค้านี่แหละปัญหา

ผมว่าประเทศเราอ่ะ ดูแลเด็กที่อ่อนได้ห่วยแตกมากกว่า  



คุณมโน หรือ มีอ้างอิงครับ
ถ้ามโนเอง อาจจะลองดู ผลการศึกษาที่เค้าทำมาบ้างนะครับ
อันนี้ ref ผม
Akerlof, G.A., 1980. A theory of social custom, of which unemployment may be one consequence. The quarterly journal of economics, pp.749-775.
Murphy, R. and Weinhardt, F., 2013. Top of the class: The importance of rank position. Centre for the Economics of Education Discussion Paper, 1241.
Sacerdote, B., 2001. Peer Effects with Random Assignment: Results for Dartmouth Roommates. The Quarterly journal of economics, 116(2), pp.681-704.
ผลวิจัยแนะนำคละกันครับ

ถ้ามีอ้างอิง ของานวิจัยหน่อยครับ
เพราะเรื่องพวกนี้ถ้าเถียงกันแบบไม่มีevidence based มันคุยกันไม่จบครับ  


เอา Paper มาอ้าง แต่ไม่เข้าใจถึงวิธีการ Validate paper ผมว่าไม่น่าคุยต่อเลยครับ

การศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาวะแวดล้อมคนละแบบกัน ย่อมไม่สามารถนำมา Validate ได้ครับ

ปัญหาคือ โรงเรียนของประเทศเรา คุณภาพดีพอมั้ย ถ้าเทียบกับที่เอามาทำวิจัย

ผมตอบไม่ได้ เพราะผมไม่มี Access ถึง Full paper แต่ดูจากชื่อคนทำ น่าจะเป็นฝรั่ง

ถ้า Baseline ของ Sample ไม่เหมือนกับในงานวิจัย มันไม่ได้ใช้ได้เสมอไปครับ

อย่างที่ผมบอก คุณภาพของการแนะแนวของเรากับของเค้า มันต่างกันคนละโลก เด็กที่เก่งแบบตัว Top เอามาอยู่กับเด็กที่เป็นตัว Top ด้านสายกีฬางี้ มันก็ไม่ได้มั้ยครับ

ของเค้ามีการแยกที่ค่อนข้างชัดเจนว่าเด็กจะไปสายไหน สายวิชาการ สายศิลปะ สายกีฬา

แต่ของเราไม่มี เอาเด็กทุกคนเข้าบล็อกสายวิชาการหมด แล้วจะให้เอาเด็กของเราไปทำตาม Paper เค้า

ผมว่าเราผิดตั้งแต่แรกแล้วครับ
แก้ไขล่าสุดโดย Silence เมื่อ Mon Aug 19, 2019 11:53, ทั้งหมด 1 ครั้ง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
Never argue with an idiot. They will drag you down to their level and beat you with experience
ออนไลน์
นักบอล ดิวิชั่น 1
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 710
ที่อยู่: Thailand
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 11:57
[RE]กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
ผมกลับเห็นด้วยกับการแยกเด็กว่ะ

เด็กที่เก่ง เวลาเรียน ผมบอกตรงๆ แม่งโคตรน่าเบื่อ เวลาครูในโรงเรียนรัฐสอน

สอนแบบ ซ้ำไปซ้ำมาเรื่องเดิมๆ กุเข้าใจตั้งแต่รอบแรกแล้ว เลยแม่งไม่ตั้งใจหนีไปเตะบอลแม่งเลย

ผมมีเพื่อนแบบนี้ 3-4 คน ในโรงเรียนประจำจังหวัด

ครูแม่ง ก็เบื่อผมกับแก๊งนี้จะเป็นจะตาย แต่แม่งทำอะไรไม่ได้ไง เวลามีไปแข่งโครงการ สอบแข่งนู่นนี่นั่น ก็ไอ้พวกนี้นี่แหละ ตัวยืน

สุดท้ายพวกแก๊งนี้ก็แยกย้ายไป มหิดลวิทย์ ไปเตรียม ไปทุน กพ. กันหมด

พอไปเรียนในโรงเรียนพวกนั้น เออ ค่อยสนุกกับการเรียนหน่อย

ไอ้ที่เป็นปัญหาของกระทรวงอ่ะ คือการทำให้เด็กที่อ่อนน่ะ ดีขึ้นได้ยังไง ไม่หนีไปเลว ไปแวนซ์ ยังไง อันนั้นก็ปัญหานึง

แต่ถ้าบอกว่ากระทรวงไม่ควรส่งเสิรมเด็กเก่งให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศ

ผมว่าแนวคิดพวกคุณมีปัญหาแล้วล่ะ

เด็กที่เก่ง ควรที่จะได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เก่งยิ่งขึ้นไป

ไม่ใช่ถูกปลูกฝังว่าต้องเท่าเทียมกันทุกอย่าง สุดท้ายเสียคนเก่งๆที่จะพัฒนาประเทศให้กับเรา ผมเห็นหลายๆคนได้ทุน กพ. มา สร้างสรรค์อะไรหลายๆอย่างให้ประเทศมากมาย

ถ้าคุณจะสนใจแต่ความเท่าเทียม มันก็เหมือนกับการล้างสมองคนอีกวิธีนั่นแหละ

แล้วก็ได้ข้าราชการห่วยๆ มา แล้วก็บ่นว่าทำไมประเทศแม่งไม่พัฒนา  


แต่ผมไม่เห็นด้วยกับการแยกเด็กนะ
ฟังอาจจะดูแปลก แต่เชื่อผม มันมีการวิจัยมาแล้ว

ข้อดีของการแยกเด็กคือ เด็กเก่ง เด็กเรียน จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เพราะรอบๆมีแต่คนเก่งๆ ครูตั้งใจสอน

แต่... ปัญหาคือ แล้วไอ้เด็กเรียนแย่ ไม่ตั้งใจเรียนมันจะไปอยู่ไหน? คำตอบคือ ไปกองรวมกัน พากันโดดเรียน พากันทำเรื่องไม่เหมาะสม เกเร อบายมุข ครูก็เอือม ไม่ตั้งใจสอน เพราะสอนมันไปก็เหนื่อย แถมไม่ได้อะไร สร้างชื่อเสียงก็ไม่ได้ คิดว่าเป็นภาระ

แล้วไอ้เด็กเก่งๆที่มามัดรวมกันล่ะ มันเก่งเจอเก่ง ที่1เจอที่1 ไม่เคยแพ้มาเจอกัน การแข่งขันมหศาล กดดันเครียด ครูๆฝากความหวังทั้งหมด แต่การแข่งขันมันต้องมีที่1ถึงที่สุดท้ายอยู่แล้ว แล้วลองนึกภาพเด็กที่เคยได้ที่1มาตลอด มันได้ที่โหล่ของห้องสิครับ ทั้งๆที่คะแนนมันอาจจะมากกว่าทั้งรร.ที่เหลือด้วยซ้ำ ก็เป็นบาดแผลจิตใจไปอีก

การเอาเด็กมาคละกัน แล้วจัดระบบที่เหมาะสม ช่วยกันเรียน ทำงานเป็นทีม เน้นคะแนน +การเข้าสังคม การคิดต่อยอด เน้นความถนัดและความสนใจของแต่ละคนเป็นหลัก จึงจะเป็นคำตอบครับ
 


ถ้าอย่างงั้นอเมริกาจะสร้างมหาวิทยาลัยอย่าง MIT Yale Harvard ไปทำไมครับ

การแข่งขันมันเรื่องปกติของโลกมนุษย์อยู่แล้ว

ไอ้พวกเด็กเรียนแย่ Mindset แย่ เอาไปอยู่ไหนเหรอ

ผมก็บอกไปแล้วว่ากระทรวงต้อง Focus เด็กทุกกลุ่ม

เพียงแค่ใครที่มันเจ๋งจริง เอาไปส่งเสริมให้มันเจ๋งจริงๆ ใครที่มีแนวโน้มจะออกนอกทาง กระทรวงก็ต้องดูแล ไม่ได้บอกให้ทิ้ง

การที่เด็กห่วยไปรวมกัน แล้วคุณบอกว่ามันจะ Induce ให้เสียไปด้วยกัน

ผมมองมุมกลับว่า ถ้าเอาเด็กเก่งไปรวมกับเด็กห่วย สุดท้ายเด็กเก่งกลายเป็นเด็กห่วยไปด้วย มันน่าเสียดายยิ่งกว่าอีก

ไอ้ที่มีปัญหาอ่ะ ผมว่าการแนะแนว กับการประเมินเด็กมากกว่าว่าเค้าเหมาะสมกับจุดใหน

เด็กเก่ง ไม่ต้องพูดถึงหรอก เค้าได้รับการแนะแนวในสายวิชาการมากพออยู่แล้ว

แต่เด็กที่อ่อน โรงเรียนประเทศไทยก็ดันทุรังดันพวกเค้าไปสายวิชาการให้ได้ ทั้งๆที่เค้าอาจจะสามารถเป็นแรงงานที่ดี สามารถเป็นช่างที่เก่ง ได้

แต่พวกเราไม่มีการแนะแนวทางให้พวกเค้า ดันพวกเค้าเข้าสายวิชาการ ต่อไปเรื่อยๆ พอเค้าไม่ไหว ก็ดันไปบอกว่าพวกเค้านี่แหละปัญหา

ผมว่าประเทศเราอ่ะ ดูแลเด็กที่อ่อนได้ห่วยแตกมากกว่า  



คุณมโน หรือ มีอ้างอิงครับ
ถ้ามโนเอง อาจจะลองดู ผลการศึกษาที่เค้าทำมาบ้างนะครับ
อันนี้ ref ผม
Akerlof, G.A., 1980. A theory of social custom, of which unemployment may be one consequence. The quarterly journal of economics, pp.749-775.
Murphy, R. and Weinhardt, F., 2013. Top of the class: The importance of rank position. Centre for the Economics of Education Discussion Paper, 1241.
Sacerdote, B., 2001. Peer Effects with Random Assignment: Results for Dartmouth Roommates. The Quarterly journal of economics, 116(2), pp.681-704.
ผลวิจัยแนะนำคละกันครับ

ถ้ามีอ้างอิง ของานวิจัยหน่อยครับ
เพราะเรื่องพวกนี้ถ้าเถียงกันแบบไม่มีevidence based มันคุยกันไม่จบครับ  


เอา Paper มาอ้าง แต่ไม่เข้าใจถึงวิธีการ Validate paper ผมว่าไม่น่าคุยต่อเลยครับ

การศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาวะแวดล้อมคนละแบบกัน ย่อมไม่สามารถนำมา Validate ได้ครับ

ปัญหาคือ โรงเรียนของประเทศเรา คุณภาพดีพอมั้ย ถ้าเทียบกับที่เอามาทำวิจัย

ผมตอบไม่ได้ เพราะผมไม่มี Access ถึง Full paper แต่ดูจากชื่อคนทำ น่าจะเป็นฝรั่ง

ถ้า Baseline ของ Sample ไม่เหมือนกับในงานวิจัย มันไม่ได้ใช้ได้เสมอไปครับ

อย่างที่ผมบอก คุณภาพของการแนะแนวของเรากับของเค้า มันต่างกันคนละโลก เด็กที่เก่งแบบตัว Top เอามาอยู่กับเด็กที่เป็นตัว Top ด้านสายกีฬางี้ มันก็ไม่ได้มั้ยครับ

ของเค้ามีการแยกที่ค่อนข้างชัดเจนว่าเด็กจะไปสายไหน สายวิชาการ สายศิลปะ สายกีฬา

แต่ของเราไม่มี เอาเด็กทุกคนเข้าบล็อกสายวิชาการหมด แล้วจะให้เอาเด็กของเราไปทำตาม Paper เค้า

ผมว่าเราผิดตั้งแต่แรกแล้วครับ  
โอเคครับ
นี่คงเป็นปัญหาของการศึกษาไทยเช่นกัน
ความเห็น(level5)สำคัญกว่าหลักฐานเชิงประจักษ์(level4 at least)

ถ้าบอกว่างานวิจัยของเค้าใช้กับเราไม่ได้ ไม่เชื่อ แต่คิดว่าความเห็นของตัวเองมีน้ำหนักมากกว่าแล้วล่ะก็
ก็ตามนั้นเลยครับ

โพสต์บนแอป Soccersuck บน iOS
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
คอมเมนเตเตอร์
Status: ^_^
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 01 Dec 2005
ตอบ: 15022
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 12:02
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
ผมกลับเห็นด้วยกับการแยกเด็กว่ะ

เด็กที่เก่ง เวลาเรียน ผมบอกตรงๆ แม่งโคตรน่าเบื่อ เวลาครูในโรงเรียนรัฐสอน

สอนแบบ ซ้ำไปซ้ำมาเรื่องเดิมๆ กุเข้าใจตั้งแต่รอบแรกแล้ว เลยแม่งไม่ตั้งใจหนีไปเตะบอลแม่งเลย

ผมมีเพื่อนแบบนี้ 3-4 คน ในโรงเรียนประจำจังหวัด

ครูแม่ง ก็เบื่อผมกับแก๊งนี้จะเป็นจะตาย แต่แม่งทำอะไรไม่ได้ไง เวลามีไปแข่งโครงการ สอบแข่งนู่นนี่นั่น ก็ไอ้พวกนี้นี่แหละ ตัวยืน

สุดท้ายพวกแก๊งนี้ก็แยกย้ายไป มหิดลวิทย์ ไปเตรียม ไปทุน กพ. กันหมด

พอไปเรียนในโรงเรียนพวกนั้น เออ ค่อยสนุกกับการเรียนหน่อย

ไอ้ที่เป็นปัญหาของกระทรวงอ่ะ คือการทำให้เด็กที่อ่อนน่ะ ดีขึ้นได้ยังไง ไม่หนีไปเลว ไปแวนซ์ ยังไง อันนั้นก็ปัญหานึง

แต่ถ้าบอกว่ากระทรวงไม่ควรส่งเสิรมเด็กเก่งให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศ

ผมว่าแนวคิดพวกคุณมีปัญหาแล้วล่ะ

เด็กที่เก่ง ควรที่จะได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เก่งยิ่งขึ้นไป

ไม่ใช่ถูกปลูกฝังว่าต้องเท่าเทียมกันทุกอย่าง สุดท้ายเสียคนเก่งๆที่จะพัฒนาประเทศให้กับเรา ผมเห็นหลายๆคนได้ทุน กพ. มา สร้างสรรค์อะไรหลายๆอย่างให้ประเทศมากมาย

ถ้าคุณจะสนใจแต่ความเท่าเทียม มันก็เหมือนกับการล้างสมองคนอีกวิธีนั่นแหละ

แล้วก็ได้ข้าราชการห่วยๆ มา แล้วก็บ่นว่าทำไมประเทศแม่งไม่พัฒนา  


แต่ผมไม่เห็นด้วยกับการแยกเด็กนะ
ฟังอาจจะดูแปลก แต่เชื่อผม มันมีการวิจัยมาแล้ว

ข้อดีของการแยกเด็กคือ เด็กเก่ง เด็กเรียน จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เพราะรอบๆมีแต่คนเก่งๆ ครูตั้งใจสอน

แต่... ปัญหาคือ แล้วไอ้เด็กเรียนแย่ ไม่ตั้งใจเรียนมันจะไปอยู่ไหน? คำตอบคือ ไปกองรวมกัน พากันโดดเรียน พากันทำเรื่องไม่เหมาะสม เกเร อบายมุข ครูก็เอือม ไม่ตั้งใจสอน เพราะสอนมันไปก็เหนื่อย แถมไม่ได้อะไร สร้างชื่อเสียงก็ไม่ได้ คิดว่าเป็นภาระ

แล้วไอ้เด็กเก่งๆที่มามัดรวมกันล่ะ มันเก่งเจอเก่ง ที่1เจอที่1 ไม่เคยแพ้มาเจอกัน การแข่งขันมหศาล กดดันเครียด ครูๆฝากความหวังทั้งหมด แต่การแข่งขันมันต้องมีที่1ถึงที่สุดท้ายอยู่แล้ว แล้วลองนึกภาพเด็กที่เคยได้ที่1มาตลอด มันได้ที่โหล่ของห้องสิครับ ทั้งๆที่คะแนนมันอาจจะมากกว่าทั้งรร.ที่เหลือด้วยซ้ำ ก็เป็นบาดแผลจิตใจไปอีก

การเอาเด็กมาคละกัน แล้วจัดระบบที่เหมาะสม ช่วยกันเรียน ทำงานเป็นทีม เน้นคะแนน +การเข้าสังคม การคิดต่อยอด เน้นความถนัดและความสนใจของแต่ละคนเป็นหลัก จึงจะเป็นคำตอบครับ
 


ถ้าอย่างงั้นอเมริกาจะสร้างมหาวิทยาลัยอย่าง MIT Yale Harvard ไปทำไมครับ

การแข่งขันมันเรื่องปกติของโลกมนุษย์อยู่แล้ว

ไอ้พวกเด็กเรียนแย่ Mindset แย่ เอาไปอยู่ไหนเหรอ

ผมก็บอกไปแล้วว่ากระทรวงต้อง Focus เด็กทุกกลุ่ม

เพียงแค่ใครที่มันเจ๋งจริง เอาไปส่งเสริมให้มันเจ๋งจริงๆ ใครที่มีแนวโน้มจะออกนอกทาง กระทรวงก็ต้องดูแล ไม่ได้บอกให้ทิ้ง

การที่เด็กห่วยไปรวมกัน แล้วคุณบอกว่ามันจะ Induce ให้เสียไปด้วยกัน

ผมมองมุมกลับว่า ถ้าเอาเด็กเก่งไปรวมกับเด็กห่วย สุดท้ายเด็กเก่งกลายเป็นเด็กห่วยไปด้วย มันน่าเสียดายยิ่งกว่าอีก

ไอ้ที่มีปัญหาอ่ะ ผมว่าการแนะแนว กับการประเมินเด็กมากกว่าว่าเค้าเหมาะสมกับจุดใหน

เด็กเก่ง ไม่ต้องพูดถึงหรอก เค้าได้รับการแนะแนวในสายวิชาการมากพออยู่แล้ว

แต่เด็กที่อ่อน โรงเรียนประเทศไทยก็ดันทุรังดันพวกเค้าไปสายวิชาการให้ได้ ทั้งๆที่เค้าอาจจะสามารถเป็นแรงงานที่ดี สามารถเป็นช่างที่เก่ง ได้

แต่พวกเราไม่มีการแนะแนวทางให้พวกเค้า ดันพวกเค้าเข้าสายวิชาการ ต่อไปเรื่อยๆ พอเค้าไม่ไหว ก็ดันไปบอกว่าพวกเค้านี่แหละปัญหา

ผมว่าประเทศเราอ่ะ ดูแลเด็กที่อ่อนได้ห่วยแตกมากกว่า  



คุณมโน หรือ มีอ้างอิงครับ
ถ้ามโนเอง อาจจะลองดู ผลการศึกษาที่เค้าทำมาบ้างนะครับ
อันนี้ ref ผม
Akerlof, G.A., 1980. A theory of social custom, of which unemployment may be one consequence. The quarterly journal of economics, pp.749-775.
Murphy, R. and Weinhardt, F., 2013. Top of the class: The importance of rank position. Centre for the Economics of Education Discussion Paper, 1241.
Sacerdote, B., 2001. Peer Effects with Random Assignment: Results for Dartmouth Roommates. The Quarterly journal of economics, 116(2), pp.681-704.
ผลวิจัยแนะนำคละกันครับ

ถ้ามีอ้างอิง ของานวิจัยหน่อยครับ
เพราะเรื่องพวกนี้ถ้าเถียงกันแบบไม่มีevidence based มันคุยกันไม่จบครับ  


เอา Paper มาอ้าง แต่ไม่เข้าใจถึงวิธีการ Validate paper ผมว่าไม่น่าคุยต่อเลยครับ

การศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาวะแวดล้อมคนละแบบกัน ย่อมไม่สามารถนำมา Validate ได้ครับ

ปัญหาคือ โรงเรียนของประเทศเรา คุณภาพดีพอมั้ย ถ้าเทียบกับที่เอามาทำวิจัย

ผมตอบไม่ได้ เพราะผมไม่มี Access ถึง Full paper แต่ดูจากชื่อคนทำ น่าจะเป็นฝรั่ง

ถ้า Baseline ของ Sample ไม่เหมือนกับในงานวิจัย มันไม่ได้ใช้ได้เสมอไปครับ

อย่างที่ผมบอก คุณภาพของการแนะแนวของเรากับของเค้า มันต่างกันคนละโลก เด็กที่เก่งแบบตัว Top เอามาอยู่กับเด็กที่เป็นตัว Top ด้านสายกีฬางี้ มันก็ไม่ได้มั้ยครับ

ของเค้ามีการแยกที่ค่อนข้างชัดเจนว่าเด็กจะไปสายไหน สายวิชาการ สายศิลปะ สายกีฬา

แต่ของเราไม่มี เอาเด็กทุกคนเข้าบล็อกสายวิชาการหมด แล้วจะให้เอาเด็กของเราไปทำตาม Paper เค้า

ผมว่าเราผิดตั้งแต่แรกแล้วครับ  
โอเคครับ
นี่คงเป็นปัญหาของการศึกษาไทยเช่นกัน
ความเห็น(level5)สำคัญกว่าหลักฐานเชิงประจักษ์(level4 at least)

ถ้าบอกว่างานวิจัยของเค้าใช้กับเราไม่ได้ ไม่เชื่อ แต่คิดว่าความเห็นของตัวเองมีน้ำหนักมากกว่าแล้วล่ะก็
ก็ตามนั้นเลยครับ

 


ถ้า Validate paper ไม่เป็น ก็อย่าอ้าง paper เถอะครับ มันเป็นความมั่นใจแบบผิดๆ
แก้ไขล่าสุดโดย Silence เมื่อ Mon Aug 19, 2019 12:04, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
Never argue with an idiot. They will drag you down to their level and beat you with experience
ออนไลน์
นักบอล ดิวิชั่น 1
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Feb 2010
ตอบ: 13410
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 12:20
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
มันก็มีอยู่แล้วนะ เตรียมอุดมฯ มหิดลวิทยานุสรณ์ กำเนิดวิทย์ มศว.ปทุมวัน

ถ้ามีอีกคิดว่าเปลืองงบ แล้วก็ไปส่งเสริมให้มีการกวดวิชาทางอ้อมเพิ่มขึ้นเข้าไปอีก

ถ้าจะทำให้เป็นแนวคิดของเอกชนที่เค้าอยากทำขึ้นมาเองดีกว่า เหมือนกำเนิดวิทย์ ปัญญาภิวัฒน์ การจัดการก็มีคุณภาพมากกว่าราชการ เงินหลวงก็ไม่ต้องเสียสักบาท จบไปเค้าปลูกฝังเรื่องการทำงานให้อีก ไม่ใช่สนใจวิชาการจนกลายเป็นงานวิจัยขึ้นหิ้งไปหมด ใช้เชิงพาณิชย์ไม่ได้
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
evertonian
ออฟไลน์
คอมเมนเตเตอร์
Status: ^_^
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 01 Dec 2005
ตอบ: 15022
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 12:32
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
ผมกลับเห็นด้วยกับการแยกเด็กว่ะ

เด็กที่เก่ง เวลาเรียน ผมบอกตรงๆ แม่งโคตรน่าเบื่อ เวลาครูในโรงเรียนรัฐสอน

สอนแบบ ซ้ำไปซ้ำมาเรื่องเดิมๆ กุเข้าใจตั้งแต่รอบแรกแล้ว เลยแม่งไม่ตั้งใจหนีไปเตะบอลแม่งเลย

ผมมีเพื่อนแบบนี้ 3-4 คน ในโรงเรียนประจำจังหวัด

ครูแม่ง ก็เบื่อผมกับแก๊งนี้จะเป็นจะตาย แต่แม่งทำอะไรไม่ได้ไง เวลามีไปแข่งโครงการ สอบแข่งนู่นนี่นั่น ก็ไอ้พวกนี้นี่แหละ ตัวยืน

สุดท้ายพวกแก๊งนี้ก็แยกย้ายไป มหิดลวิทย์ ไปเตรียม ไปทุน กพ. กันหมด

พอไปเรียนในโรงเรียนพวกนั้น เออ ค่อยสนุกกับการเรียนหน่อย

ไอ้ที่เป็นปัญหาของกระทรวงอ่ะ คือการทำให้เด็กที่อ่อนน่ะ ดีขึ้นได้ยังไง ไม่หนีไปเลว ไปแวนซ์ ยังไง อันนั้นก็ปัญหานึง

แต่ถ้าบอกว่ากระทรวงไม่ควรส่งเสิรมเด็กเก่งให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศ

ผมว่าแนวคิดพวกคุณมีปัญหาแล้วล่ะ

เด็กที่เก่ง ควรที่จะได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เก่งยิ่งขึ้นไป

ไม่ใช่ถูกปลูกฝังว่าต้องเท่าเทียมกันทุกอย่าง สุดท้ายเสียคนเก่งๆที่จะพัฒนาประเทศให้กับเรา ผมเห็นหลายๆคนได้ทุน กพ. มา สร้างสรรค์อะไรหลายๆอย่างให้ประเทศมากมาย

ถ้าคุณจะสนใจแต่ความเท่าเทียม มันก็เหมือนกับการล้างสมองคนอีกวิธีนั่นแหละ

แล้วก็ได้ข้าราชการห่วยๆ มา แล้วก็บ่นว่าทำไมประเทศแม่งไม่พัฒนา  


แต่ผมไม่เห็นด้วยกับการแยกเด็กนะ
ฟังอาจจะดูแปลก แต่เชื่อผม มันมีการวิจัยมาแล้ว

ข้อดีของการแยกเด็กคือ เด็กเก่ง เด็กเรียน จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เพราะรอบๆมีแต่คนเก่งๆ ครูตั้งใจสอน

แต่... ปัญหาคือ แล้วไอ้เด็กเรียนแย่ ไม่ตั้งใจเรียนมันจะไปอยู่ไหน? คำตอบคือ ไปกองรวมกัน พากันโดดเรียน พากันทำเรื่องไม่เหมาะสม เกเร อบายมุข ครูก็เอือม ไม่ตั้งใจสอน เพราะสอนมันไปก็เหนื่อย แถมไม่ได้อะไร สร้างชื่อเสียงก็ไม่ได้ คิดว่าเป็นภาระ

แล้วไอ้เด็กเก่งๆที่มามัดรวมกันล่ะ มันเก่งเจอเก่ง ที่1เจอที่1 ไม่เคยแพ้มาเจอกัน การแข่งขันมหศาล กดดันเครียด ครูๆฝากความหวังทั้งหมด แต่การแข่งขันมันต้องมีที่1ถึงที่สุดท้ายอยู่แล้ว แล้วลองนึกภาพเด็กที่เคยได้ที่1มาตลอด มันได้ที่โหล่ของห้องสิครับ ทั้งๆที่คะแนนมันอาจจะมากกว่าทั้งรร.ที่เหลือด้วยซ้ำ ก็เป็นบาดแผลจิตใจไปอีก

การเอาเด็กมาคละกัน แล้วจัดระบบที่เหมาะสม ช่วยกันเรียน ทำงานเป็นทีม เน้นคะแนน +การเข้าสังคม การคิดต่อยอด เน้นความถนัดและความสนใจของแต่ละคนเป็นหลัก จึงจะเป็นคำตอบครับ
 


ถ้าอย่างงั้นอเมริกาจะสร้างมหาวิทยาลัยอย่าง MIT Yale Harvard ไปทำไมครับ

การแข่งขันมันเรื่องปกติของโลกมนุษย์อยู่แล้ว

ไอ้พวกเด็กเรียนแย่ Mindset แย่ เอาไปอยู่ไหนเหรอ

ผมก็บอกไปแล้วว่ากระทรวงต้อง Focus เด็กทุกกลุ่ม

เพียงแค่ใครที่มันเจ๋งจริง เอาไปส่งเสริมให้มันเจ๋งจริงๆ ใครที่มีแนวโน้มจะออกนอกทาง กระทรวงก็ต้องดูแล ไม่ได้บอกให้ทิ้ง

การที่เด็กห่วยไปรวมกัน แล้วคุณบอกว่ามันจะ Induce ให้เสียไปด้วยกัน

ผมมองมุมกลับว่า ถ้าเอาเด็กเก่งไปรวมกับเด็กห่วย สุดท้ายเด็กเก่งกลายเป็นเด็กห่วยไปด้วย มันน่าเสียดายยิ่งกว่าอีก

ไอ้ที่มีปัญหาอ่ะ ผมว่าการแนะแนว กับการประเมินเด็กมากกว่าว่าเค้าเหมาะสมกับจุดใหน

เด็กเก่ง ไม่ต้องพูดถึงหรอก เค้าได้รับการแนะแนวในสายวิชาการมากพออยู่แล้ว

แต่เด็กที่อ่อน โรงเรียนประเทศไทยก็ดันทุรังดันพวกเค้าไปสายวิชาการให้ได้ ทั้งๆที่เค้าอาจจะสามารถเป็นแรงงานที่ดี สามารถเป็นช่างที่เก่ง ได้

แต่พวกเราไม่มีการแนะแนวทางให้พวกเค้า ดันพวกเค้าเข้าสายวิชาการ ต่อไปเรื่อยๆ พอเค้าไม่ไหว ก็ดันไปบอกว่าพวกเค้านี่แหละปัญหา

ผมว่าประเทศเราอ่ะ ดูแลเด็กที่อ่อนได้ห่วยแตกมากกว่า  



คุณมโน หรือ มีอ้างอิงครับ
ถ้ามโนเอง อาจจะลองดู ผลการศึกษาที่เค้าทำมาบ้างนะครับ
อันนี้ ref ผม
Akerlof, G.A., 1980. A theory of social custom, of which unemployment may be one consequence. The quarterly journal of economics, pp.749-775.
Murphy, R. and Weinhardt, F., 2013. Top of the class: The importance of rank position. Centre for the Economics of Education Discussion Paper, 1241.
Sacerdote, B., 2001. Peer Effects with Random Assignment: Results for Dartmouth Roommates. The Quarterly journal of economics, 116(2), pp.681-704.
ผลวิจัยแนะนำคละกันครับ

ถ้ามีอ้างอิง ของานวิจัยหน่อยครับ
เพราะเรื่องพวกนี้ถ้าเถียงกันแบบไม่มีevidence based มันคุยกันไม่จบครับ  


เอา Paper มาอ้าง แต่ไม่เข้าใจถึงวิธีการ Validate paper ผมว่าไม่น่าคุยต่อเลยครับ

การศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาวะแวดล้อมคนละแบบกัน ย่อมไม่สามารถนำมา Validate ได้ครับ

ปัญหาคือ โรงเรียนของประเทศเรา คุณภาพดีพอมั้ย ถ้าเทียบกับที่เอามาทำวิจัย

ผมตอบไม่ได้ เพราะผมไม่มี Access ถึง Full paper แต่ดูจากชื่อคนทำ น่าจะเป็นฝรั่ง

ถ้า Baseline ของ Sample ไม่เหมือนกับในงานวิจัย มันไม่ได้ใช้ได้เสมอไปครับ

อย่างที่ผมบอก คุณภาพของการแนะแนวของเรากับของเค้า มันต่างกันคนละโลก เด็กที่เก่งแบบตัว Top เอามาอยู่กับเด็กที่เป็นตัว Top ด้านสายกีฬางี้ มันก็ไม่ได้มั้ยครับ

ของเค้ามีการแยกที่ค่อนข้างชัดเจนว่าเด็กจะไปสายไหน สายวิชาการ สายศิลปะ สายกีฬา

แต่ของเราไม่มี เอาเด็กทุกคนเข้าบล็อกสายวิชาการหมด แล้วจะให้เอาเด็กของเราไปทำตาม Paper เค้า

ผมว่าเราผิดตั้งแต่แรกแล้วครับ  
โอเคครับ
นี่คงเป็นปัญหาของการศึกษาไทยเช่นกัน
ความเห็น(level5)สำคัญกว่าหลักฐานเชิงประจักษ์(level4 at least)

ถ้าบอกว่างานวิจัยของเค้าใช้กับเราไม่ได้ ไม่เชื่อ แต่คิดว่าความเห็นของตัวเองมีน้ำหนักมากกว่าแล้วล่ะก็
ก็ตามนั้นเลยครับ

 


อยากให้แย้งตาม Paper ที่อ่านแบบที่พออ่านได้ใช่มั้ย

ได้

Paper แรก ไม่ได้พูดถึงการเรียนหรือโรงเรียนแม้แต่น้อย แต่พูดถึงทฤษฏีทางสังคม ซึ่งไม่ได้พูดอะไรเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วย ไม่รู้จะยกมาทำไม ไม่เกี่ยวกับประเด็นนี้เลย

Paper ที่สอง พูดเกี่ยวกับผลการสอบในโรงเรียนประถม เทียบกับมัธยม ที่บอกว่าไม่ได้มีความแตกต่างกันเลย

ถามจริงๆ มันเกี่ยวอะไรกับการแยกโรงเรียนเนี่ย มันแค่บอกว่าการสอบในโรงเรียนประถม ไม่ควรมีการจัดอันดับ 1 2 3 4 แค่นั้น

Paper ที่สาม ผมให้จบตั้งแต่อ่าน Abstract อ่ะ ทำในระดับ College ไม่รู้จะยกมาอ้างทำไมกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

อ่าน Paper จะเอามา Discuss ก็ Discuss ให้เป็นด้วย ไม่ใช่ยก Paper ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคำถามมาเต็มไปหมด

ที่ดูเกี่ยวก็คือ Paper ที่ 3

แต่ Population ที่เค้าศึกษา กับที่เรากำลังคุยกัน มันคนละเรื่องเลย

ตั้งแต่เค้าเอาระดับ College แต่ของเราเอาระดับนักเรียน

ตั้งแต่เค้าเอากลุ่มคนที่เค้าแยกแล้วว่าต้องการเรียน College กับนักเรียนไทย ที่คละกันทุกสาย ทั้งอาชีพ ทั้งวิชาการ

มันจะเอามาใช้ได้มั้ย คิดสิคิด

ที่คุณยกมาเหมือนกับเอา Paper ที่ทำเพื่อศึกษาการรักษาไข้หวัดคน ทั้งๆที่เราคุยกันเรื่องรักษามะเร็งในแมว อย่างไงอย่างงั้นอ่ะ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
Never argue with an idiot. They will drag you down to their level and beat you with experience
ออนไลน์
นักบอล ดิวิชั่น 1
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 710
ที่อยู่: Thailand
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 12:43
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
ผมกลับเห็นด้วยกับการแยกเด็กว่ะ

เด็กที่เก่ง เวลาเรียน ผมบอกตรงๆ แม่งโคตรน่าเบื่อ เวลาครูในโรงเรียนรัฐสอน

สอนแบบ ซ้ำไปซ้ำมาเรื่องเดิมๆ กุเข้าใจตั้งแต่รอบแรกแล้ว เลยแม่งไม่ตั้งใจหนีไปเตะบอลแม่งเลย

ผมมีเพื่อนแบบนี้ 3-4 คน ในโรงเรียนประจำจังหวัด

ครูแม่ง ก็เบื่อผมกับแก๊งนี้จะเป็นจะตาย แต่แม่งทำอะไรไม่ได้ไง เวลามีไปแข่งโครงการ สอบแข่งนู่นนี่นั่น ก็ไอ้พวกนี้นี่แหละ ตัวยืน

สุดท้ายพวกแก๊งนี้ก็แยกย้ายไป มหิดลวิทย์ ไปเตรียม ไปทุน กพ. กันหมด

พอไปเรียนในโรงเรียนพวกนั้น เออ ค่อยสนุกกับการเรียนหน่อย

ไอ้ที่เป็นปัญหาของกระทรวงอ่ะ คือการทำให้เด็กที่อ่อนน่ะ ดีขึ้นได้ยังไง ไม่หนีไปเลว ไปแวนซ์ ยังไง อันนั้นก็ปัญหานึง

แต่ถ้าบอกว่ากระทรวงไม่ควรส่งเสิรมเด็กเก่งให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศ

ผมว่าแนวคิดพวกคุณมีปัญหาแล้วล่ะ

เด็กที่เก่ง ควรที่จะได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เก่งยิ่งขึ้นไป

ไม่ใช่ถูกปลูกฝังว่าต้องเท่าเทียมกันทุกอย่าง สุดท้ายเสียคนเก่งๆที่จะพัฒนาประเทศให้กับเรา ผมเห็นหลายๆคนได้ทุน กพ. มา สร้างสรรค์อะไรหลายๆอย่างให้ประเทศมากมาย

ถ้าคุณจะสนใจแต่ความเท่าเทียม มันก็เหมือนกับการล้างสมองคนอีกวิธีนั่นแหละ

แล้วก็ได้ข้าราชการห่วยๆ มา แล้วก็บ่นว่าทำไมประเทศแม่งไม่พัฒนา  


แต่ผมไม่เห็นด้วยกับการแยกเด็กนะ
ฟังอาจจะดูแปลก แต่เชื่อผม มันมีการวิจัยมาแล้ว

ข้อดีของการแยกเด็กคือ เด็กเก่ง เด็กเรียน จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เพราะรอบๆมีแต่คนเก่งๆ ครูตั้งใจสอน

แต่... ปัญหาคือ แล้วไอ้เด็กเรียนแย่ ไม่ตั้งใจเรียนมันจะไปอยู่ไหน? คำตอบคือ ไปกองรวมกัน พากันโดดเรียน พากันทำเรื่องไม่เหมาะสม เกเร อบายมุข ครูก็เอือม ไม่ตั้งใจสอน เพราะสอนมันไปก็เหนื่อย แถมไม่ได้อะไร สร้างชื่อเสียงก็ไม่ได้ คิดว่าเป็นภาระ

แล้วไอ้เด็กเก่งๆที่มามัดรวมกันล่ะ มันเก่งเจอเก่ง ที่1เจอที่1 ไม่เคยแพ้มาเจอกัน การแข่งขันมหศาล กดดันเครียด ครูๆฝากความหวังทั้งหมด แต่การแข่งขันมันต้องมีที่1ถึงที่สุดท้ายอยู่แล้ว แล้วลองนึกภาพเด็กที่เคยได้ที่1มาตลอด มันได้ที่โหล่ของห้องสิครับ ทั้งๆที่คะแนนมันอาจจะมากกว่าทั้งรร.ที่เหลือด้วยซ้ำ ก็เป็นบาดแผลจิตใจไปอีก

การเอาเด็กมาคละกัน แล้วจัดระบบที่เหมาะสม ช่วยกันเรียน ทำงานเป็นทีม เน้นคะแนน +การเข้าสังคม การคิดต่อยอด เน้นความถนัดและความสนใจของแต่ละคนเป็นหลัก จึงจะเป็นคำตอบครับ
 


ถ้าอย่างงั้นอเมริกาจะสร้างมหาวิทยาลัยอย่าง MIT Yale Harvard ไปทำไมครับ

การแข่งขันมันเรื่องปกติของโลกมนุษย์อยู่แล้ว

ไอ้พวกเด็กเรียนแย่ Mindset แย่ เอาไปอยู่ไหนเหรอ

ผมก็บอกไปแล้วว่ากระทรวงต้อง Focus เด็กทุกกลุ่ม

เพียงแค่ใครที่มันเจ๋งจริง เอาไปส่งเสริมให้มันเจ๋งจริงๆ ใครที่มีแนวโน้มจะออกนอกทาง กระทรวงก็ต้องดูแล ไม่ได้บอกให้ทิ้ง

การที่เด็กห่วยไปรวมกัน แล้วคุณบอกว่ามันจะ Induce ให้เสียไปด้วยกัน

ผมมองมุมกลับว่า ถ้าเอาเด็กเก่งไปรวมกับเด็กห่วย สุดท้ายเด็กเก่งกลายเป็นเด็กห่วยไปด้วย มันน่าเสียดายยิ่งกว่าอีก

ไอ้ที่มีปัญหาอ่ะ ผมว่าการแนะแนว กับการประเมินเด็กมากกว่าว่าเค้าเหมาะสมกับจุดใหน

เด็กเก่ง ไม่ต้องพูดถึงหรอก เค้าได้รับการแนะแนวในสายวิชาการมากพออยู่แล้ว

แต่เด็กที่อ่อน โรงเรียนประเทศไทยก็ดันทุรังดันพวกเค้าไปสายวิชาการให้ได้ ทั้งๆที่เค้าอาจจะสามารถเป็นแรงงานที่ดี สามารถเป็นช่างที่เก่ง ได้

แต่พวกเราไม่มีการแนะแนวทางให้พวกเค้า ดันพวกเค้าเข้าสายวิชาการ ต่อไปเรื่อยๆ พอเค้าไม่ไหว ก็ดันไปบอกว่าพวกเค้านี่แหละปัญหา

ผมว่าประเทศเราอ่ะ ดูแลเด็กที่อ่อนได้ห่วยแตกมากกว่า  



คุณมโน หรือ มีอ้างอิงครับ
ถ้ามโนเอง อาจจะลองดู ผลการศึกษาที่เค้าทำมาบ้างนะครับ
อันนี้ ref ผม
Akerlof, G.A., 1980. A theory of social custom, of which unemployment may be one consequence. The quarterly journal of economics, pp.749-775.
Murphy, R. and Weinhardt, F., 2013. Top of the class: The importance of rank position. Centre for the Economics of Education Discussion Paper, 1241.
Sacerdote, B., 2001. Peer Effects with Random Assignment: Results for Dartmouth Roommates. The Quarterly journal of economics, 116(2), pp.681-704.
ผลวิจัยแนะนำคละกันครับ

ถ้ามีอ้างอิง ของานวิจัยหน่อยครับ
เพราะเรื่องพวกนี้ถ้าเถียงกันแบบไม่มีevidence based มันคุยกันไม่จบครับ  


เอา Paper มาอ้าง แต่ไม่เข้าใจถึงวิธีการ Validate paper ผมว่าไม่น่าคุยต่อเลยครับ

การศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาวะแวดล้อมคนละแบบกัน ย่อมไม่สามารถนำมา Validate ได้ครับ

ปัญหาคือ โรงเรียนของประเทศเรา คุณภาพดีพอมั้ย ถ้าเทียบกับที่เอามาทำวิจัย

ผมตอบไม่ได้ เพราะผมไม่มี Access ถึง Full paper แต่ดูจากชื่อคนทำ น่าจะเป็นฝรั่ง

ถ้า Baseline ของ Sample ไม่เหมือนกับในงานวิจัย มันไม่ได้ใช้ได้เสมอไปครับ

อย่างที่ผมบอก คุณภาพของการแนะแนวของเรากับของเค้า มันต่างกันคนละโลก เด็กที่เก่งแบบตัว Top เอามาอยู่กับเด็กที่เป็นตัว Top ด้านสายกีฬางี้ มันก็ไม่ได้มั้ยครับ

ของเค้ามีการแยกที่ค่อนข้างชัดเจนว่าเด็กจะไปสายไหน สายวิชาการ สายศิลปะ สายกีฬา

แต่ของเราไม่มี เอาเด็กทุกคนเข้าบล็อกสายวิชาการหมด แล้วจะให้เอาเด็กของเราไปทำตาม Paper เค้า

ผมว่าเราผิดตั้งแต่แรกแล้วครับ  
โอเคครับ
นี่คงเป็นปัญหาของการศึกษาไทยเช่นกัน
ความเห็น(level5)สำคัญกว่าหลักฐานเชิงประจักษ์(level4 at least)

ถ้าบอกว่างานวิจัยของเค้าใช้กับเราไม่ได้ ไม่เชื่อ แต่คิดว่าความเห็นของตัวเองมีน้ำหนักมากกว่าแล้วล่ะก็
ก็ตามนั้นเลยครับ

 


อยากให้แย้งตาม Paper ที่อ่านแบบที่พออ่านได้ใช่มั้ย

ได้

Paper แรก ไม่ได้พูดถึงการเรียนหรือโรงเรียนแม้แต่น้อย แต่พูดถึงทฤษฏีทางสังคม ซึ่งไม่ได้พูดอะไรเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วย ไม่รู้จะยกมาทำไม ไม่เกี่ยวกับประเด็นนี้เลย

Paper ที่สอง พูดเกี่ยวกับผลการสอบในโรงเรียนประถม เทียบกับมัธยม ที่บอกว่าไม่ได้มีความแตกต่างกันเลย

ถามจริงๆ มันเกี่ยวอะไรกับการแยกโรงเรียนเนี่ย มันแค่บอกว่าการสอบในโรงเรียนประถม ไม่ควรมีการจัดอันดับ 1 2 3 4 แค่นั้น

Paper ที่สาม ผมให้จบตั้งแต่อ่าน Abstract อ่ะ ทำในระดับ College ไม่รู้จะยกมาอ้างทำไมกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

อ่าน Paper จะเอามา Discuss ก็ Discuss ให้เป็นด้วย ไม่ใช่ยก Paper ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคำถามมาเต็มไปหมด

ที่ดูเกี่ยวก็คือ Paper ที่ 3

แต่ Population ที่เค้าศึกษา กับที่เรากำลังคุยกัน มันคนละเรื่องเลย

ตั้งแต่เค้าเอาระดับ College แต่ของเราเอาระดับนักเรียน

ตั้งแต่เค้าเอากลุ่มคนที่เค้าแยกแล้วว่าต้องการเรียน College กับนักเรียนไทย ที่คละกันทุกสาย ทั้งอาชีพ ทั้งวิชาการ

มันจะเอามาใช้ได้มั้ย คิดสิคิด

ที่คุณยกมาเหมือนกับเอา Paper ที่ทำเพื่อศึกษาการรักษาไข้หวัดคน ทั้งๆที่เราคุยกันเรื่องรักษามะเร็งในแมว อย่างไงอย่างงั้นอ่ะ  


ผมว่า3paper บอกครบนะครับ ตัังแต่พฤติกรรมพื้นฐาน การแบ่งคนตามลำดับคะแนน ไม่สมควร และ applied ในรร.จริงๆ
ว่าแล้วขอpaperสนับสนุนความคิดคุณหน่อยครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แข้งเจลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 01 Sep 2017
ตอบ: 6037
ที่อยู่: ใต้หลังคา
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 13:18
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
SilverCross พิมพ์ว่า:
เหนือห้องธรรมดายังมีห้องคิง
เหนือห้องคิงยังมีห้องอีพี
เหนือห้องอีพียังมีห้องอีลิท

เข้ .. ยังกับแร้งค์เกมออนไลน์  


เดี๋ยวเจอ ห้องซูเปอร์โนว่า โคตรพ่อโคตรแม่โกลด์

0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบจ.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 03 May 2008
ตอบ: 5028
ที่อยู่: Fontainebleau
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 13:19
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
ประเทศไทยมี fertility rate เหลือแค่ 1.4-1.5 กว่าๆ เอง หมอบางคนเรียนจบมาไม่เคยทำคลอดด้วยซ้ำ มาซวยเพราะไม่มีเคสให้ทำ

ในอนาคตข้างหน้าอาจจะต้องเอามหิดลวิทยานุสรณ์มายุบรวมกับเตรียมอุดมด้วยซ้ำ

โรงเรียนต่างจังหวัดก็เช่นกัน จะเปิดใหม่ทำไม

0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
คอมเมนเตเตอร์
Status: ^_^
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 01 Dec 2005
ตอบ: 15022
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 13:48
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
ผมกลับเห็นด้วยกับการแยกเด็กว่ะ

เด็กที่เก่ง เวลาเรียน ผมบอกตรงๆ แม่งโคตรน่าเบื่อ เวลาครูในโรงเรียนรัฐสอน

สอนแบบ ซ้ำไปซ้ำมาเรื่องเดิมๆ กุเข้าใจตั้งแต่รอบแรกแล้ว เลยแม่งไม่ตั้งใจหนีไปเตะบอลแม่งเลย

ผมมีเพื่อนแบบนี้ 3-4 คน ในโรงเรียนประจำจังหวัด

ครูแม่ง ก็เบื่อผมกับแก๊งนี้จะเป็นจะตาย แต่แม่งทำอะไรไม่ได้ไง เวลามีไปแข่งโครงการ สอบแข่งนู่นนี่นั่น ก็ไอ้พวกนี้นี่แหละ ตัวยืน

สุดท้ายพวกแก๊งนี้ก็แยกย้ายไป มหิดลวิทย์ ไปเตรียม ไปทุน กพ. กันหมด

พอไปเรียนในโรงเรียนพวกนั้น เออ ค่อยสนุกกับการเรียนหน่อย

ไอ้ที่เป็นปัญหาของกระทรวงอ่ะ คือการทำให้เด็กที่อ่อนน่ะ ดีขึ้นได้ยังไง ไม่หนีไปเลว ไปแวนซ์ ยังไง อันนั้นก็ปัญหานึง

แต่ถ้าบอกว่ากระทรวงไม่ควรส่งเสิรมเด็กเก่งให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศ

ผมว่าแนวคิดพวกคุณมีปัญหาแล้วล่ะ

เด็กที่เก่ง ควรที่จะได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เก่งยิ่งขึ้นไป

ไม่ใช่ถูกปลูกฝังว่าต้องเท่าเทียมกันทุกอย่าง สุดท้ายเสียคนเก่งๆที่จะพัฒนาประเทศให้กับเรา ผมเห็นหลายๆคนได้ทุน กพ. มา สร้างสรรค์อะไรหลายๆอย่างให้ประเทศมากมาย

ถ้าคุณจะสนใจแต่ความเท่าเทียม มันก็เหมือนกับการล้างสมองคนอีกวิธีนั่นแหละ

แล้วก็ได้ข้าราชการห่วยๆ มา แล้วก็บ่นว่าทำไมประเทศแม่งไม่พัฒนา  


แต่ผมไม่เห็นด้วยกับการแยกเด็กนะ
ฟังอาจจะดูแปลก แต่เชื่อผม มันมีการวิจัยมาแล้ว

ข้อดีของการแยกเด็กคือ เด็กเก่ง เด็กเรียน จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เพราะรอบๆมีแต่คนเก่งๆ ครูตั้งใจสอน

แต่... ปัญหาคือ แล้วไอ้เด็กเรียนแย่ ไม่ตั้งใจเรียนมันจะไปอยู่ไหน? คำตอบคือ ไปกองรวมกัน พากันโดดเรียน พากันทำเรื่องไม่เหมาะสม เกเร อบายมุข ครูก็เอือม ไม่ตั้งใจสอน เพราะสอนมันไปก็เหนื่อย แถมไม่ได้อะไร สร้างชื่อเสียงก็ไม่ได้ คิดว่าเป็นภาระ

แล้วไอ้เด็กเก่งๆที่มามัดรวมกันล่ะ มันเก่งเจอเก่ง ที่1เจอที่1 ไม่เคยแพ้มาเจอกัน การแข่งขันมหศาล กดดันเครียด ครูๆฝากความหวังทั้งหมด แต่การแข่งขันมันต้องมีที่1ถึงที่สุดท้ายอยู่แล้ว แล้วลองนึกภาพเด็กที่เคยได้ที่1มาตลอด มันได้ที่โหล่ของห้องสิครับ ทั้งๆที่คะแนนมันอาจจะมากกว่าทั้งรร.ที่เหลือด้วยซ้ำ ก็เป็นบาดแผลจิตใจไปอีก

การเอาเด็กมาคละกัน แล้วจัดระบบที่เหมาะสม ช่วยกันเรียน ทำงานเป็นทีม เน้นคะแนน +การเข้าสังคม การคิดต่อยอด เน้นความถนัดและความสนใจของแต่ละคนเป็นหลัก จึงจะเป็นคำตอบครับ
 


ถ้าอย่างงั้นอเมริกาจะสร้างมหาวิทยาลัยอย่าง MIT Yale Harvard ไปทำไมครับ

การแข่งขันมันเรื่องปกติของโลกมนุษย์อยู่แล้ว

ไอ้พวกเด็กเรียนแย่ Mindset แย่ เอาไปอยู่ไหนเหรอ

ผมก็บอกไปแล้วว่ากระทรวงต้อง Focus เด็กทุกกลุ่ม

เพียงแค่ใครที่มันเจ๋งจริง เอาไปส่งเสริมให้มันเจ๋งจริงๆ ใครที่มีแนวโน้มจะออกนอกทาง กระทรวงก็ต้องดูแล ไม่ได้บอกให้ทิ้ง

การที่เด็กห่วยไปรวมกัน แล้วคุณบอกว่ามันจะ Induce ให้เสียไปด้วยกัน

ผมมองมุมกลับว่า ถ้าเอาเด็กเก่งไปรวมกับเด็กห่วย สุดท้ายเด็กเก่งกลายเป็นเด็กห่วยไปด้วย มันน่าเสียดายยิ่งกว่าอีก

ไอ้ที่มีปัญหาอ่ะ ผมว่าการแนะแนว กับการประเมินเด็กมากกว่าว่าเค้าเหมาะสมกับจุดใหน

เด็กเก่ง ไม่ต้องพูดถึงหรอก เค้าได้รับการแนะแนวในสายวิชาการมากพออยู่แล้ว

แต่เด็กที่อ่อน โรงเรียนประเทศไทยก็ดันทุรังดันพวกเค้าไปสายวิชาการให้ได้ ทั้งๆที่เค้าอาจจะสามารถเป็นแรงงานที่ดี สามารถเป็นช่างที่เก่ง ได้

แต่พวกเราไม่มีการแนะแนวทางให้พวกเค้า ดันพวกเค้าเข้าสายวิชาการ ต่อไปเรื่อยๆ พอเค้าไม่ไหว ก็ดันไปบอกว่าพวกเค้านี่แหละปัญหา

ผมว่าประเทศเราอ่ะ ดูแลเด็กที่อ่อนได้ห่วยแตกมากกว่า  



คุณมโน หรือ มีอ้างอิงครับ
ถ้ามโนเอง อาจจะลองดู ผลการศึกษาที่เค้าทำมาบ้างนะครับ
อันนี้ ref ผม
Akerlof, G.A., 1980. A theory of social custom, of which unemployment may be one consequence. The quarterly journal of economics, pp.749-775.
Murphy, R. and Weinhardt, F., 2013. Top of the class: The importance of rank position. Centre for the Economics of Education Discussion Paper, 1241.
Sacerdote, B., 2001. Peer Effects with Random Assignment: Results for Dartmouth Roommates. The Quarterly journal of economics, 116(2), pp.681-704.
ผลวิจัยแนะนำคละกันครับ

ถ้ามีอ้างอิง ของานวิจัยหน่อยครับ
เพราะเรื่องพวกนี้ถ้าเถียงกันแบบไม่มีevidence based มันคุยกันไม่จบครับ  


เอา Paper มาอ้าง แต่ไม่เข้าใจถึงวิธีการ Validate paper ผมว่าไม่น่าคุยต่อเลยครับ

การศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาวะแวดล้อมคนละแบบกัน ย่อมไม่สามารถนำมา Validate ได้ครับ

ปัญหาคือ โรงเรียนของประเทศเรา คุณภาพดีพอมั้ย ถ้าเทียบกับที่เอามาทำวิจัย

ผมตอบไม่ได้ เพราะผมไม่มี Access ถึง Full paper แต่ดูจากชื่อคนทำ น่าจะเป็นฝรั่ง

ถ้า Baseline ของ Sample ไม่เหมือนกับในงานวิจัย มันไม่ได้ใช้ได้เสมอไปครับ

อย่างที่ผมบอก คุณภาพของการแนะแนวของเรากับของเค้า มันต่างกันคนละโลก เด็กที่เก่งแบบตัว Top เอามาอยู่กับเด็กที่เป็นตัว Top ด้านสายกีฬางี้ มันก็ไม่ได้มั้ยครับ

ของเค้ามีการแยกที่ค่อนข้างชัดเจนว่าเด็กจะไปสายไหน สายวิชาการ สายศิลปะ สายกีฬา

แต่ของเราไม่มี เอาเด็กทุกคนเข้าบล็อกสายวิชาการหมด แล้วจะให้เอาเด็กของเราไปทำตาม Paper เค้า

ผมว่าเราผิดตั้งแต่แรกแล้วครับ  
โอเคครับ
นี่คงเป็นปัญหาของการศึกษาไทยเช่นกัน
ความเห็น(level5)สำคัญกว่าหลักฐานเชิงประจักษ์(level4 at least)

ถ้าบอกว่างานวิจัยของเค้าใช้กับเราไม่ได้ ไม่เชื่อ แต่คิดว่าความเห็นของตัวเองมีน้ำหนักมากกว่าแล้วล่ะก็
ก็ตามนั้นเลยครับ

 


อยากให้แย้งตาม Paper ที่อ่านแบบที่พออ่านได้ใช่มั้ย

ได้

Paper แรก ไม่ได้พูดถึงการเรียนหรือโรงเรียนแม้แต่น้อย แต่พูดถึงทฤษฏีทางสังคม ซึ่งไม่ได้พูดอะไรเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วย ไม่รู้จะยกมาทำไม ไม่เกี่ยวกับประเด็นนี้เลย

Paper ที่สอง พูดเกี่ยวกับผลการสอบในโรงเรียนประถม เทียบกับมัธยม ที่บอกว่าไม่ได้มีความแตกต่างกันเลย

ถามจริงๆ มันเกี่ยวอะไรกับการแยกโรงเรียนเนี่ย มันแค่บอกว่าการสอบในโรงเรียนประถม ไม่ควรมีการจัดอันดับ 1 2 3 4 แค่นั้น

Paper ที่สาม ผมให้จบตั้งแต่อ่าน Abstract อ่ะ ทำในระดับ College ไม่รู้จะยกมาอ้างทำไมกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

อ่าน Paper จะเอามา Discuss ก็ Discuss ให้เป็นด้วย ไม่ใช่ยก Paper ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคำถามมาเต็มไปหมด

ที่ดูเกี่ยวก็คือ Paper ที่ 3

แต่ Population ที่เค้าศึกษา กับที่เรากำลังคุยกัน มันคนละเรื่องเลย

ตั้งแต่เค้าเอาระดับ College แต่ของเราเอาระดับนักเรียน

ตั้งแต่เค้าเอากลุ่มคนที่เค้าแยกแล้วว่าต้องการเรียน College กับนักเรียนไทย ที่คละกันทุกสาย ทั้งอาชีพ ทั้งวิชาการ

มันจะเอามาใช้ได้มั้ย คิดสิคิด

ที่คุณยกมาเหมือนกับเอา Paper ที่ทำเพื่อศึกษาการรักษาไข้หวัดคน ทั้งๆที่เราคุยกันเรื่องรักษามะเร็งในแมว อย่างไงอย่างงั้นอ่ะ  


ผมว่า3paper บอกครบนะครับ ตัังแต่พฤติกรรมพื้นฐาน การแบ่งคนตามลำดับคะแนน ไม่สมควร และ applied ในรร.จริงๆ
ว่าแล้วขอpaperสนับสนุนความคิดคุณหน่อยครับ  


ไม่ครบครับ

ถ้าคุณบอกว่า paper 3 paper นี้เอามารวมกันแล้วตอบคำถามได้ ผมว่าคุณล้มเหลวอย่างรุนแรงด้านการเรียนระเบียบวิธีวิจัยแล้วครับ

อีกอย่าง ผมไม่มีหรอกครับ paper ที่สนับสนุนความคิดนี้ ผมเข้าบอร์ดมา ผมมาออกความเห็น ไม่ใช่เข้ามาถกวิชาการ

คุณอยากเอา paper มาชนะผมก็ได้ แต่ช่วยเอามาให้ถูกตามระเบียบวิธีวิจัยครับ ไม่ใช่มั่วมาเองแบบนี้

ไม่งั้นก็เหมือนพวกอวดเก่งกูอ่าน paper นะ แต่เอาจริงๆแล้วอ่านเอาเท่ ไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับวิธีการใช้ประโยชน์ของ paper
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
Never argue with an idiot. They will drag you down to their level and beat you with experience
ออฟไลน์
คอมเมนเตเตอร์
Status: ^_^
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 01 Dec 2005
ตอบ: 15022
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 13:49
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
tgmann พิมพ์ว่า:
Silence พิมพ์ว่า:
ผมกลับเห็นด้วยกับการแยกเด็กว่ะ

เด็กที่เก่ง เวลาเรียน ผมบอกตรงๆ แม่งโคตรน่าเบื่อ เวลาครูในโรงเรียนรัฐสอน

สอนแบบ ซ้ำไปซ้ำมาเรื่องเดิมๆ กุเข้าใจตั้งแต่รอบแรกแล้ว เลยแม่งไม่ตั้งใจหนีไปเตะบอลแม่งเลย

ผมมีเพื่อนแบบนี้ 3-4 คน ในโรงเรียนประจำจังหวัด

ครูแม่ง ก็เบื่อผมกับแก๊งนี้จะเป็นจะตาย แต่แม่งทำอะไรไม่ได้ไง เวลามีไปแข่งโครงการ สอบแข่งนู่นนี่นั่น ก็ไอ้พวกนี้นี่แหละ ตัวยืน

สุดท้ายพวกแก๊งนี้ก็แยกย้ายไป มหิดลวิทย์ ไปเตรียม ไปทุน กพ. กันหมด

พอไปเรียนในโรงเรียนพวกนั้น เออ ค่อยสนุกกับการเรียนหน่อย

ไอ้ที่เป็นปัญหาของกระทรวงอ่ะ คือการทำให้เด็กที่อ่อนน่ะ ดีขึ้นได้ยังไง ไม่หนีไปเลว ไปแวนซ์ ยังไง อันนั้นก็ปัญหานึง

แต่ถ้าบอกว่ากระทรวงไม่ควรส่งเสิรมเด็กเก่งให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศ

ผมว่าแนวคิดพวกคุณมีปัญหาแล้วล่ะ

เด็กที่เก่ง ควรที่จะได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เก่งยิ่งขึ้นไป

ไม่ใช่ถูกปลูกฝังว่าต้องเท่าเทียมกันทุกอย่าง สุดท้ายเสียคนเก่งๆที่จะพัฒนาประเทศให้กับเรา ผมเห็นหลายๆคนได้ทุน กพ. มา สร้างสรรค์อะไรหลายๆอย่างให้ประเทศมากมาย

ถ้าคุณจะสนใจแต่ความเท่าเทียม มันก็เหมือนกับการล้างสมองคนอีกวิธีนั่นแหละ

แล้วก็ได้ข้าราชการห่วยๆ มา แล้วก็บ่นว่าทำไมประเทศแม่งไม่พัฒนา  


แต่ผมไม่เห็นด้วยกับการแยกเด็กนะ
ฟังอาจจะดูแปลก แต่เชื่อผม มันมีการวิจัยมาแล้ว

ข้อดีของการแยกเด็กคือ เด็กเก่ง เด็กเรียน จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เพราะรอบๆมีแต่คนเก่งๆ ครูตั้งใจสอน

แต่... ปัญหาคือ แล้วไอ้เด็กเรียนแย่ ไม่ตั้งใจเรียนมันจะไปอยู่ไหน? คำตอบคือ ไปกองรวมกัน พากันโดดเรียน พากันทำเรื่องไม่เหมาะสม เกเร อบายมุข ครูก็เอือม ไม่ตั้งใจสอน เพราะสอนมันไปก็เหนื่อย แถมไม่ได้อะไร สร้างชื่อเสียงก็ไม่ได้ คิดว่าเป็นภาระ

แล้วไอ้เด็กเก่งๆที่มามัดรวมกันล่ะ มันเก่งเจอเก่ง ที่1เจอที่1 ไม่เคยแพ้มาเจอกัน การแข่งขันมหศาล กดดันเครียด ครูๆฝากความหวังทั้งหมด แต่การแข่งขันมันต้องมีที่1ถึงที่สุดท้ายอยู่แล้ว แล้วลองนึกภาพเด็กที่เคยได้ที่1มาตลอด มันได้ที่โหล่ของห้องสิครับ ทั้งๆที่คะแนนมันอาจจะมากกว่าทั้งรร.ที่เหลือด้วยซ้ำ ก็เป็นบาดแผลจิตใจไปอีก

การเอาเด็กมาคละกัน แล้วจัดระบบที่เหมาะสม ช่วยกันเรียน ทำงานเป็นทีม เน้นคะแนน +การเข้าสังคม การคิดต่อยอด เน้นความถนัดและความสนใจของแต่ละคนเป็นหลัก จึงจะเป็นคำตอบครับ
 


ถ้าอย่างงั้นอเมริกาจะสร้างมหาวิทยาลัยอย่าง MIT Yale Harvard ไปทำไมครับ

การแข่งขันมันเรื่องปกติของโลกมนุษย์อยู่แล้ว

ไอ้พวกเด็กเรียนแย่ Mindset แย่ เอาไปอยู่ไหนเหรอ

ผมก็บอกไปแล้วว่ากระทรวงต้อง Focus เด็กทุกกลุ่ม

เพียงแค่ใครที่มันเจ๋งจริง เอาไปส่งเสริมให้มันเจ๋งจริงๆ ใครที่มีแนวโน้มจะออกนอกทาง กระทรวงก็ต้องดูแล ไม่ได้บอกให้ทิ้ง

การที่เด็กห่วยไปรวมกัน แล้วคุณบอกว่ามันจะ Induce ให้เสียไปด้วยกัน

ผมมองมุมกลับว่า ถ้าเอาเด็กเก่งไปรวมกับเด็กห่วย สุดท้ายเด็กเก่งกลายเป็นเด็กห่วยไปด้วย มันน่าเสียดายยิ่งกว่าอีก

ไอ้ที่มีปัญหาอ่ะ ผมว่าการแนะแนว กับการประเมินเด็กมากกว่าว่าเค้าเหมาะสมกับจุดใหน

เด็กเก่ง ไม่ต้องพูดถึงหรอก เค้าได้รับการแนะแนวในสายวิชาการมากพออยู่แล้ว

แต่เด็กที่อ่อน โรงเรียนประเทศไทยก็ดันทุรังดันพวกเค้าไปสายวิชาการให้ได้ ทั้งๆที่เค้าอาจจะสามารถเป็นแรงงานที่ดี สามารถเป็นช่างที่เก่ง ได้

แต่พวกเราไม่มีการแนะแนวทางให้พวกเค้า ดันพวกเค้าเข้าสายวิชาการ ต่อไปเรื่อยๆ พอเค้าไม่ไหว ก็ดันไปบอกว่าพวกเค้านี่แหละปัญหา

ผมว่าประเทศเราอ่ะ ดูแลเด็กที่อ่อนได้ห่วยแตกมากกว่า  



คุณมโน หรือ มีอ้างอิงครับ
ถ้ามโนเอง อาจจะลองดู ผลการศึกษาที่เค้าทำมาบ้างนะครับ
อันนี้ ref ผม
Akerlof, G.A., 1980. A theory of social custom, of which unemployment may be one consequence. The quarterly journal of economics, pp.749-775.
Murphy, R. and Weinhardt, F., 2013. Top of the class: The importance of rank position. Centre for the Economics of Education Discussion Paper, 1241.
Sacerdote, B., 2001. Peer Effects with Random Assignment: Results for Dartmouth Roommates. The Quarterly journal of economics, 116(2), pp.681-704.
ผลวิจัยแนะนำคละกันครับ

ถ้ามีอ้างอิง ของานวิจัยหน่อยครับ
เพราะเรื่องพวกนี้ถ้าเถียงกันแบบไม่มีevidence based มันคุยกันไม่จบครับ  


เอา Paper มาอ้าง แต่ไม่เข้าใจถึงวิธีการ Validate paper ผมว่าไม่น่าคุยต่อเลยครับ

การศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาวะแวดล้อมคนละแบบกัน ย่อมไม่สามารถนำมา Validate ได้ครับ

ปัญหาคือ โรงเรียนของประเทศเรา คุณภาพดีพอมั้ย ถ้าเทียบกับที่เอามาทำวิจัย

ผมตอบไม่ได้ เพราะผมไม่มี Access ถึง Full paper แต่ดูจากชื่อคนทำ น่าจะเป็นฝรั่ง

ถ้า Baseline ของ Sample ไม่เหมือนกับในงานวิจัย มันไม่ได้ใช้ได้เสมอไปครับ

อย่างที่ผมบอก คุณภาพของการแนะแนวของเรากับของเค้า มันต่างกันคนละโลก เด็กที่เก่งแบบตัว Top เอามาอยู่กับเด็กที่เป็นตัว Top ด้านสายกีฬางี้ มันก็ไม่ได้มั้ยครับ

ของเค้ามีการแยกที่ค่อนข้างชัดเจนว่าเด็กจะไปสายไหน สายวิชาการ สายศิลปะ สายกีฬา

แต่ของเราไม่มี เอาเด็กทุกคนเข้าบล็อกสายวิชาการหมด แล้วจะให้เอาเด็กของเราไปทำตาม Paper เค้า

ผมว่าเราผิดตั้งแต่แรกแล้วครับ  
โอเคครับ
นี่คงเป็นปัญหาของการศึกษาไทยเช่นกัน
ความเห็น(level5)สำคัญกว่าหลักฐานเชิงประจักษ์(level4 at least)

ถ้าบอกว่างานวิจัยของเค้าใช้กับเราไม่ได้ ไม่เชื่อ แต่คิดว่าความเห็นของตัวเองมีน้ำหนักมากกว่าแล้วล่ะก็
ก็ตามนั้นเลยครับ

 


อยากให้แย้งตาม Paper ที่อ่านแบบที่พออ่านได้ใช่มั้ย

ได้

Paper แรก ไม่ได้พูดถึงการเรียนหรือโรงเรียนแม้แต่น้อย แต่พูดถึงทฤษฏีทางสังคม ซึ่งไม่ได้พูดอะไรเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วย ไม่รู้จะยกมาทำไม ไม่เกี่ยวกับประเด็นนี้เลย

Paper ที่สอง พูดเกี่ยวกับผลการสอบในโรงเรียนประถม เทียบกับมัธยม ที่บอกว่าไม่ได้มีความแตกต่างกันเลย

ถามจริงๆ มันเกี่ยวอะไรกับการแยกโรงเรียนเนี่ย มันแค่บอกว่าการสอบในโรงเรียนประถม ไม่ควรมีการจัดอันดับ 1 2 3 4 แค่นั้น

Paper ที่สาม ผมให้จบตั้งแต่อ่าน Abstract อ่ะ ทำในระดับ College ไม่รู้จะยกมาอ้างทำไมกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

อ่าน Paper จะเอามา Discuss ก็ Discuss ให้เป็นด้วย ไม่ใช่ยก Paper ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคำถามมาเต็มไปหมด

ที่ดูเกี่ยวก็คือ Paper ที่ 3

แต่ Population ที่เค้าศึกษา กับที่เรากำลังคุยกัน มันคนละเรื่องเลย

ตั้งแต่เค้าเอาระดับ College แต่ของเราเอาระดับนักเรียน

ตั้งแต่เค้าเอากลุ่มคนที่เค้าแยกแล้วว่าต้องการเรียน College กับนักเรียนไทย ที่คละกันทุกสาย ทั้งอาชีพ ทั้งวิชาการ

มันจะเอามาใช้ได้มั้ย คิดสิคิด

ที่คุณยกมาเหมือนกับเอา Paper ที่ทำเพื่อศึกษาการรักษาไข้หวัดคน ทั้งๆที่เราคุยกันเรื่องรักษามะเร็งในแมว อย่างไงอย่างงั้นอ่ะ  


ผมว่า3paper บอกครบนะครับ ตัังแต่พฤติกรรมพื้นฐาน การแบ่งคนตามลำดับคะแนน ไม่สมควร และ applied ในรร.จริงๆ
ว่าแล้วขอpaperสนับสนุนความคิดคุณหน่อยครับ  


ไม่ครบครับ

ถ้าคุณบอกว่า paper 3 paper นี้เอามารวมกันแล้วตอบคำถามได้ ผมว่าคุณล้มเหลวอย่างรุนแรงด้านการเรียนระเบียบวิธีวิจัยแล้วครับ

อีกอย่าง ผมไม่มีหรอกครับ paper ที่สนับสนุนความคิดนี้ ผมเข้าบอร์ดมา ผมมาออกความเห็น ไม่ใช่เข้ามาถกวิชาการ

คุณอยากเอา paper มาชนะผมก็ได้ แต่ช่วยเอามาให้ถูกตามระเบียบวิธีวิจัยครับ ไม่ใช่มั่วมาเองแบบนี้

ไม่งั้นก็เหมือนพวกอวดเก่งกูอ่าน paper นะ แต่เอาจริงๆแล้วอ่านเอาเท่ ไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับวิธีการใช้ประโยชน์ของ paper
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
Never argue with an idiot. They will drag you down to their level and beat you with experience
ออนไลน์
นักเตะท้ายซอย
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 13 Mar 2018
ตอบ: 859
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 13:57
[RE]กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น
ผมอ่านข่าวแล้วนึกถึง Dankanronpa เลยครับ5555 รร. ที่รับแต่นักเรียนสุดยอดแต่ละด้าน

อันนี้สาระ : ผมยืนยันได้เลยว่าผญ. เตรียมอุดมส่วนใหญ่น่ารักครับ55555

ไม่มีสาระ : ตอน ม.ปลาย ผมเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผมว่าสภาพแวดมีผล แต่ไม่ใช่ทั้งหมดครับ ไม่งั้นเพื่อนผมทุกคนก็ต้องสอบเข้าคณะที่ตัวเองอยากเข้าได้ทุกคน หรือเรียนเก่งทุกคน แต่เพื่อนผมหลายคนก็ไม่ได้เรียนเก่งอะไรมากมายแต่เพื่อนผมดันมีความเก่งในด้านอื่นๆที่เค้าเพิ่งค้นพบตอนมาเรียนเตรียมอุดมแทนครับ สุดท้ายขึ้นอยู่กับตัวเอง 90% สภาพแวดล้อม 10% ครับ

โพสต์บนแอป Soccersuck บน iOS
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลลีกภูมิภาค
Status: Glory Glory Man Utd
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 30 May 2010
ตอบ: 33126
ที่อยู่: ...
โพสเมื่อ: Mon Aug 19, 2019 15:18
[RE: กระทรวงศึกษามีไอเดียสร้างโรงเรียนสำหรับ Elite ที่มีเฉพาะเด็กเก่งและหัวกะทิเข้าเรียนเท่านั้น]
มันก็ดีนะ ก็แฟร์ดี ในเมื่อมีศักยภาพก็ดันไปให้สุด
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2, 3, 4
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel