BLOG BOARD_B
ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Email: sale@soccersuck.com
ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
ผู้ช่วยผู้จัดการทีมชุดใหญ่
Status: たぶん
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 6373
ที่อยู่: soccercirclejerk
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 00:49
เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล
เหตุการณ์ หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล สร้างความตื่นเต้นให้กับนักดาราศาสตร์อย่างมาก

การตรวจพบ หลุมดำกลืนดาวฤกษ์ ครั้งนี้มาจากโครงการที่ชื่อว่า “All-Sky Automated Survey for Supernova” หรือ ASAS-SN อยู่ห่างจากโลกไปกว่า 300 ล้านปีแสงในดาราจักรที่ชื่อว่า ‘ESO 583-G004’ ในดาวฤกษ์ที่มีชื่อว่า ‘AT2022dsb’
.
ข้อมูลสเปตรัมได้เผยให้เห็นว่าหลุมดำฉีกและกัดกินดวงดาวอย่างไรก่อนจะถูกยืดออกราวเส้นสปาเก็ตตี้ จากนั้นก็ถูกดูดกลืนเข้าไป
.
โดยเหตุการณ์นี้มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ‘ไทดัลดิสรับชั่นอีเวนต์ (Tidal Disruption Event)’ เมื่อดาวฤกษ์ถูกกิน สสารของมันก็กระจายออกมาล้อมรอบหลุมดำคล้ายโดนัท สสารส่วนใหญ่จะตกลง ขณะบางส่วนจะหลุดรอดออกไปในอวกาศ
.
“โดยปกติแล้ว เหตุการณ์เหล่านี้ยากที่จะสังเกตเห็น คุณอาจสังเกตได้เล็กน้อยในช่วงเริ่มต้นของการกินซึ่งมันสว่างมาก แต่โปรแกรมของเราแตกต่างตรงที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อดูเหตุการณ์ ไทดัลดิสรับชั่นอีเวนต์แบบนี้ ตลอดช่วง 1 ปี เพื่อดูว่าเกิดอะไรขึ้น” ปีเตอร์ มากซิม (Peter Maksym) นักวิจัยจากศูนย์ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ฮาวาร์ด-สมิชโซเนียน (Harvard-Smithsonian Center for Astrophysics, CfA) กล่าว






“เราเห็นสิ่งนี้ได้เร็วพอที่เราจะสังเกตได้ในขั้นเกิดการสะสมที่เข้มข้นมากจากหลุมดำ และอัตราการสะสมลดลงกลายเป็นเหมือนหยดน้ำเมื่อเวลาผ่านไป” พวกเขาเฝ้าสังเกตดาวฤกษ์ดวงนี้ได้ตั้งแต่ตอนเริ่มต้นจนถึงระยะหลังของการกินดวงดาว
นักดาราศาสตร์ชี้ว่าหลุมดำนั้นกินอย่าง ‘ตะกละตะกลาม’ ซึ่งหมายความว่าเกิด ‘เศษอาหาร’ มากมายกระจายออกสู่อวกาศ และไอพ่นของสสารก็เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเหลือเชื่อ จากการสังเกตการณ์ ทีมได้เผยข้อมูลว่ากระแสไอพ่นนี้พัดเข้ามาทางโลกด้วยความเร็ว 32.2 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ของความเร็วแสง
.
“เรารู้สึกตื่นเต้นเพราะสามารถดูรายละเอียดเหล่านี้ในเหตุการณ์ ไทดัลดิสรับชั่นอีเวนต์ ซึ่งสามารถบอกเราได้มากมายเกี่ยวกับหลุมดำ” เอ็มมิลี่ เองเกลธาเลอร์ (Emily Engelthler) หนึ่งในทีมวิจัยกล่าว “ยังมีเหตุการณ์ไทดัลดิสรับชั่นอีเวนต์น้อยมากที่สังเกตได้จากแสงอัลตราไวโอเลต นี่เป็นเรื่องที่น่าเสียดายจริง ๆ เพราะมีข้อมูลมากมายที่คุณจะได้รับจากสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต”
.
เนื่องจากโดยปกติแล้ว ไทดัลดิสรับชั่นอีเวนต์ นั้นมักเกิดขึ้นในช่วงแสงเอ็กซ์เรย์ แต่ครั้งนี้เกิดขึ้นในช่วงแสงอัลตราไวโอเลตที่ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทรงพลังในด้านนี้อยู่แล้ว โดยทีมงานยังได้ยืนยันอีกว่ากลุ่มก๊าซที่หมุนรอบหลุมดำนี้มีขนาดเท่าระบบสุริยะของเรา
.
“เรายังคงมุ่งหน้าต่อไปในงานนี้” มากซิมกล่าวสรุป “มันฉีกดาวฤกษ์ แล้วก็มีสสารที่กำลังเข้าสู่หลุมดำ ดังนั้นคุณต้องมีแบบจำลองที่คุณคิดว่าคุณรู้ว่าเกิดอะไรขึ้น และจากนั้นคุณก็มีสิ่งที่คุณเห็นจริงๆ”
.
“นี่เป็นสถานที่ที่น่าตื่นเต้นสำหรับนักวิทยาศาสตร์ คือ อยู่ตรงรอยต่อของสิ่งที่รู้จัก และไม่รู้จัก”
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ ระหว่าง NASA และ ESA (องค์การอวกาศยุโรป) โดยมีศูนย์การบินอวกาศก็อดดาร์ดของ NASA ในเมืองกรีนเบลท์ รัฐแมรี่แลนด์ เป็นผู้จัดการกล้องโทรทรรศน์ ขณะที่สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ (STScI) ในเมืองบัลติมอร์ รัฐแมรี่แลนด์ เป็นผู้ดำเนินการด้านวิทยาศาสตร์ของฮับเบิล และ เจมส์ เวบบ์

CR. https://ngthai.com/science/46284/black-hole-captured-star/?fbclid=IwAR3gHK1nPWd0OzCbk2odqy4I74IkDWOg5F4If6PZYBjh22ipzI5KWGbwkkQ
โหวตเป็นกระทู้แนะนำ
ออฟไลน์
แขวนสตั๊ด
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Dec 2016
ตอบ: 6259
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 04:23
Top Comment [RE: เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล]


หลุมดำ จริงๆไม่ได้เป็นหลุมเหมือนชื่อ

แต่มันเป็นวัตถุที่มีความหนาแน่นที่สุดในเอกภพ น่าจะเป็นนิวเคลียสล้วนๆที่หนาแน่นยิ่งกว่าดาวนิวตรอน

หนาแน่นมาก มวลมาก แรงโน้มถ่วงมาก มากจนแม้กระทั่งแสง(โปรตรอน)ยังโดนดูดไว้ มันเลยมืดไร้แสง

มวลมหาศาลจนเวลาที่นั่นเดินอย่างช้าๆ ตามกฏของไอน์สไตน์ที่ว่า

เวลาจะเดินช้าลงถ้าอยู่ใกล้วัตถุมวลมากยิ่งมีมากเวลายิ่งช้าลง

กับ หากวัคถุเคลื่อนไหวเร็วขึ้น ยิ่งเร็วขึ้นเวลาก็จะยิ่งช้าลง

พลังงาน มวล และ เวลา ต่างสัมพันธ์กัน ค้นพบกฏนี้ได้ไงอัฉริยะจริงๆไอน์สไตน์

(จากหนังอินเตอร์สเตลล่า พระเอกไปไม่กี่ชั่วโมง แต่บนโลกผ่านไปหลายสิบปี เพราะพระเอกไปใกล้หลุมดำ)


เรื่องหลุมดำยังเป็นปริศนา ยังไม่รู้ว่ามันประกอบด้วยอะไร แต่ดาวนิวตรอนรองๆลงมานักดาราศาสตร์พอรู้ข้อมูลบ้าง

ในดาวนิวตรอนหนาแน่นมากอัดแน่นไปด้วยนิวเคลียร์ของธาตุหนัก

หากเอาวัถตุบนดาวนิวตรอนขนาดเท่าน้ำตาลก้อนขนาด 1 ซม. มันจะหนาแน่นมาก มีน้ำหนักมากกว่าภูเขาเอเวอร์เรสซะอีก




ออฟไลน์
แขวนสตั๊ด
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Dec 2016
ตอบ: 6259
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 04:23
[RE: เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล]


หลุมดำ จริงๆไม่ได้เป็นหลุมเหมือนชื่อ

แต่มันเป็นวัตถุที่มีความหนาแน่นที่สุดในเอกภพ น่าจะเป็นนิวเคลียสล้วนๆที่หนาแน่นยิ่งกว่าดาวนิวตรอน

หนาแน่นมาก มวลมาก แรงโน้มถ่วงมาก มากจนแม้กระทั่งแสง(โปรตรอน)ยังโดนดูดไว้ มันเลยมืดไร้แสง

มวลมหาศาลจนเวลาที่นั่นเดินอย่างช้าๆ ตามกฏของไอน์สไตน์ที่ว่า

เวลาจะเดินช้าลงถ้าอยู่ใกล้วัตถุมวลมากยิ่งมีมากเวลายิ่งช้าลง

กับ หากวัคถุเคลื่อนไหวเร็วขึ้น ยิ่งเร็วขึ้นเวลาก็จะยิ่งช้าลง

พลังงาน มวล และ เวลา ต่างสัมพันธ์กัน ค้นพบกฏนี้ได้ไงอัฉริยะจริงๆไอน์สไตน์

(จากหนังอินเตอร์สเตลล่า พระเอกไปไม่กี่ชั่วโมง แต่บนโลกผ่านไปหลายสิบปี เพราะพระเอกไปใกล้หลุมดำ)


เรื่องหลุมดำยังเป็นปริศนา ยังไม่รู้ว่ามันประกอบด้วยอะไร แต่ดาวนิวตรอนรองๆลงมานักดาราศาสตร์พอรู้ข้อมูลบ้าง

ในดาวนิวตรอนหนาแน่นมากอัดแน่นไปด้วยนิวเคลียร์ของธาตุหนัก

หากเอาวัถตุบนดาวนิวตรอนขนาดเท่าน้ำตาลก้อนขนาด 1 ซม. มันจะหนาแน่นมาก มีน้ำหนักมากกว่าภูเขาเอเวอร์เรสซะอีก




ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ก.
Status: จิ้งจกเสพความเหงา
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 Feb 2021
ตอบ: 12232
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 07:50
[RE]เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล
โพสต์บนแอป Soccersuck บน iOS
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะท้ายซอย
Status: no country for old men
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Nov 2008
ตอบ: 656
ที่อยู่: BTS วงเวียนใหญ่
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 08:01
เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล
ชอบอ่านเรื่องอย่างนี้ ขอบคุณที่เอามาลงครับ
ขอบคุณความเห็นท่านที่มาสมทบด้วยครับ
โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
2
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะพรีเมียร์ลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 24 Sep 2005
ตอบ: 11559
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 08:19
[RE: เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล]
PLATOON พิมพ์ว่า:


หลุมดำ จริงๆไม่ได้เป็นหลุมเหมือนชื่อ

แต่มันเป็นวัตถุที่มีความหนาแน่นที่สุดในเอกภพ น่าจะเป็นนิวเคลียสล้วนๆที่หนาแน่นยิ่งกว่าดาวนิวตรอน

หนาแน่นมาก มวลมาก แรงโน้มถ่วงมาก มากจนแม้กระทั่งแสง(โปรตรอน)ยังโดนดูดไว้ มันเลยมืดไร้แสง

มวลมหาศาลจนเวลาที่นั่นเดินอย่างช้าๆ ตามกฏของไอน์สไตน์ที่ว่า

เวลาจะเดินช้าลงถ้าอยู่ใกล้วัตถุมวลมากยิ่งมีมากเวลายิ่งช้าลง

กับ หากวัคถุเคลื่อนไหวเร็วขึ้น ยิ่งเร็วขึ้นเวลาก็จะยิ่งช้าลง

พลังงาน มวล และ เวลา ต่างสัมพันธ์กัน ค้นพบกฏนี้ได้ไงอัฉริยะจริงๆไอน์สไตน์

(จากหนังอินเตอร์สเตลล่า พระเอกไปไม่กี่ชั่วโมง แต่บนโลกผ่านไปหลายสิบปี เพราะพระเอกไปใกล้หลุมดำ)


เรื่องหลุมดำยังเป็นปริศนา ยังไม่รู้ว่ามันประกอบด้วยอะไร แต่ดาวนิวตรอนรองๆลงมานักดาราศาสตร์พอรู้ข้อมูลบ้าง

ในดาวนิวตรอนหนาแน่นมากอัดแน่นไปด้วยนิวเคลียร์ของธาตุหนัก

หากเอาวัถตุบนดาวนิวตรอนขนาดเท่าน้ำตาลก้อนขนาด 1 ซม. มันจะหนาแน่นมาก มีน้ำหนักมากกว่าภูเขาเอเวอร์เรสซะอีก




 


กรรม เข้าใจมาตลอดว่ามันคือ "หลุม"
คือ ลึกสุดลำ เลยดำสุดใจ

ขอบคุณท่านมากครับ
2
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แขวนสตั๊ด
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Dec 2016
ตอบ: 6259
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 09:19
[RE: เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล]
Lisaverpool พิมพ์ว่า:
Spoil
PLATOON พิมพ์ว่า:


หลุมดำ จริงๆไม่ได้เป็นหลุมเหมือนชื่อ

แต่มันเป็นวัตถุที่มีความหนาแน่นที่สุดในเอกภพ น่าจะเป็นนิวเคลียสล้วนๆที่หนาแน่นยิ่งกว่าดาวนิวตรอน

หนาแน่นมาก มวลมาก แรงโน้มถ่วงมาก มากจนแม้กระทั่งแสง(โปรตรอน)ยังโดนดูดไว้ มันเลยมืดไร้แสง

มวลมหาศาลจนเวลาที่นั่นเดินอย่างช้าๆ ตามกฏของไอน์สไตน์ที่ว่า

เวลาจะเดินช้าลงถ้าอยู่ใกล้วัตถุมวลมากยิ่งมีมากเวลายิ่งช้าลง

กับ หากวัคถุเคลื่อนไหวเร็วขึ้น ยิ่งเร็วขึ้นเวลาก็จะยิ่งช้าลง

พลังงาน มวล และ เวลา ต่างสัมพันธ์กัน ค้นพบกฏนี้ได้ไงอัฉริยะจริงๆไอน์สไตน์

(จากหนังอินเตอร์สเตลล่า พระเอกไปไม่กี่ชั่วโมง แต่บนโลกผ่านไปหลายสิบปี เพราะพระเอกไปใกล้หลุมดำ)


เรื่องหลุมดำยังเป็นปริศนา ยังไม่รู้ว่ามันประกอบด้วยอะไร แต่ดาวนิวตรอนรองๆลงมานักดาราศาสตร์พอรู้ข้อมูลบ้าง

ในดาวนิวตรอนหนาแน่นมากอัดแน่นไปด้วยนิวเคลียร์ของธาตุหนัก

หากเอาวัถตุบนดาวนิวตรอนขนาดเท่าน้ำตาลก้อนขนาด 1 ซม. มันจะหนาแน่นมาก มีน้ำหนักมากกว่าภูเขาเอเวอร์เรสซะอีก




 
 


กรรม เข้าใจมาตลอดว่ามันคือ "หลุม"
คือ ลึกสุดลำ เลยดำสุดใจ

ขอบคุณท่านมากครับ  


ก็เล่นตั้งชื่อแบล็คโฮล(หลุมดำ) คนทั่วไปก็ย่อมเข้าใจว่ามันเป็นหลุมครับ

คนที่รู้ว่าไม่ใช่หลุมก็เป็นพวกบ้าดาราศาสตร์ที่สนใจมากๆอ่ะครับ (เช่นผมเป็นต้น)

นี่ครับภาพจำลองหลุมดำของ NASA

หน้าตามันจะเป็นแบบนี้ตามการคาดการณ์ของ NASA

หลุมดำมีหลายประเภทด้วย แต่ที่น่าจะเยอะที่สุดก็เป็นหลุมดำที่เกิดจากซากดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ที่ระเบิดเป็น Super Nova

ต้องเป็นดาวฤกษ์ที่มีมวลขนาดใหญ่ ใหญ่กว่าดวงอาทิตย์เรา 7-15 เท่าขึ้นไป

ดวงอาทิตย์เรามวลน้อยตอนหมดอายุไขไม่ระเบิดแต่จะขยายตัวใหญ่จนกินดาวศุกร์ แล้วค่อยๆเล็กลงเป็นดาวแคระขาวที่เล็กกว่าโลก

พวกหลุมดำที่เกิดจากซุปเปอร์โนว่านี่ มีขนาดแค่ 30 กิโลเมตรเองนะครับ แต่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์เรา 1.5-3 เท่าเลยที่เดียว

นึกภาพดู มีขนาดประมาณอนุสาวรีชัยฯไปรังสิต แต่หนักกว่าดวงอาทิตย์ถึง 3 ดวง มวลมันจะมากขนาดไหน

นั่นล่ะครับ มันมีมวลมากแรงโน้มถ่วงมาก มันเลยดูดทุกอย่างที่อยู่ในเขตแรงโน้มถ่วงมาที่มัน

แล้วมันก็จะบีบอัดวัตถุทุกอย่างบีบอัดถึงขนาดอะตอมโปรตอนอีเล็กตรอนหรือเล็กกว่านั้น

หลุมดำขนาดแค่ 30 กม.นี่มีพลังที่จะกลืนกินระบบสุริยะของเราแบบสบายๆ มันกลืนกินแล้วจะเกิดอะไรขึ้น???

มันก็จะไปเพิ่มมวลให้หลุมดำมีขนาดใหญ่ขึ้น มีมวลมากขึ้น และมีแรงโน้มถ่วงมากขึ้นตามไปด้วย


หลุมดำที่ใหญ่ขึ้นมาอีกก็คือ หลุมดำมวลปานกลาง จะใหญ่กว่าแบบแรกเยอะ มีขนาด 1000 กม.

เกิดจากดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ประมาณ 200 เท่าของดวงอาทิตย์เรา

หรืออาจจะกิดจากหลุมดำแบบแรกสองหรือสามรวมตัวกัน หรือหลุมดำแบบแรกกลืนดวงระบบดาวฤกษ์ไปหลายระบบ


ส่วนหลุมดำที่ใหญ่ที่สุดคือหลุมดำมลยิ่งยวด

ที่อยู่ใจกลางดาราจักร(แกแล็คซี่) นักวิทย์ก็เชื่อกันว่าใจกลางทางช้างเผือกเราก็คือหลุมดำมวลยิ่งยวด

มันมีมวลเป็นพันพันล้านเท่าของดวงอาทิตย์เรา แล้วมันค่อยๆดูดกลืนดาวฤกษ์ที่อยู่บริเวณใจกลางแกแล็คซี่ไปเรื่อยๆ

ยิ่งกลืนไปเรือยๆมันก็ยิ่งโตขึ้นเรื่อยๆ แต่ไม่ต้องห่วงนะ ระบบสุริยะเราไม่โดนกลืนหรอก เพราะระบบสุริยะเราอยู่ห่างจากใจกลางทางช้างเผือกมาก

นักดาราศาสตร์ยังรู็เรื่องของหลุมดำน้อยมากๆ เพราะมันไม่มีแสง มองไม่เห็น มันไม่ส่งรัวสีหรือส่งสัญญานอะไรให้ตรวจสอบได้เลย

เพราะมันมวลมากมันดูดไว้หมด จนไม่ปล่อยอะไรออกมาเลย ทั้ง เสียง แสง สัญญานวิทยุ รังสีต่างๆ ออกมาไม่ได้ซักอย่าง


ออฟไลน์
นักเตะท้ายซอย
Status: รฟห่ดสืำฟร่วสหฟ่แรคำสท่พรนสหฟำ่ฟหำอ่ฟหำ
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 30 Apr 2009
ตอบ: 1334
ที่อยู่: อยู่ในกะละมังที่ตั้งอยู่บนโต๊ะในตู้เสื้อผ้าที่อยู่หน้าตู้เย็น
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 10:26
[RE: เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล]
PLATOON พิมพ์ว่า:
Lisaverpool พิมพ์ว่า:
Spoil
PLATOON พิมพ์ว่า:


หลุมดำ จริงๆไม่ได้เป็นหลุมเหมือนชื่อ

แต่มันเป็นวัตถุที่มีความหนาแน่นที่สุดในเอกภพ น่าจะเป็นนิวเคลียสล้วนๆที่หนาแน่นยิ่งกว่าดาวนิวตรอน

หนาแน่นมาก มวลมาก แรงโน้มถ่วงมาก มากจนแม้กระทั่งแสง(โปรตรอน)ยังโดนดูดไว้ มันเลยมืดไร้แสง

มวลมหาศาลจนเวลาที่นั่นเดินอย่างช้าๆ ตามกฏของไอน์สไตน์ที่ว่า

เวลาจะเดินช้าลงถ้าอยู่ใกล้วัตถุมวลมากยิ่งมีมากเวลายิ่งช้าลง

กับ หากวัคถุเคลื่อนไหวเร็วขึ้น ยิ่งเร็วขึ้นเวลาก็จะยิ่งช้าลง

พลังงาน มวล และ เวลา ต่างสัมพันธ์กัน ค้นพบกฏนี้ได้ไงอัฉริยะจริงๆไอน์สไตน์

(จากหนังอินเตอร์สเตลล่า พระเอกไปไม่กี่ชั่วโมง แต่บนโลกผ่านไปหลายสิบปี เพราะพระเอกไปใกล้หลุมดำ)


เรื่องหลุมดำยังเป็นปริศนา ยังไม่รู้ว่ามันประกอบด้วยอะไร แต่ดาวนิวตรอนรองๆลงมานักดาราศาสตร์พอรู้ข้อมูลบ้าง

ในดาวนิวตรอนหนาแน่นมากอัดแน่นไปด้วยนิวเคลียร์ของธาตุหนัก

หากเอาวัถตุบนดาวนิวตรอนขนาดเท่าน้ำตาลก้อนขนาด 1 ซม. มันจะหนาแน่นมาก มีน้ำหนักมากกว่าภูเขาเอเวอร์เรสซะอีก




 
 


กรรม เข้าใจมาตลอดว่ามันคือ "หลุม"
คือ ลึกสุดลำ เลยดำสุดใจ

ขอบคุณท่านมากครับ  


ก็เล่นตั้งชื่อแบล็คโฮล(หลุมดำ) คนทั่วไปก็ย่อมเข้าใจว่ามันเป็นหลุมครับ

คนที่รู้ว่าไม่ใช่หลุมก็เป็นพวกบ้าดาราศาสตร์ที่สนใจมากๆอ่ะครับ (เช่นผมเป็นต้น)

นี่ครับภาพจำลองหลุมดำของ NASA

หน้าตามันจะเป็นแบบนี้ตามการคาดการณ์ของ NASA

หลุมดำมีหลายประเภทด้วย แต่ที่น่าจะเยอะที่สุดก็เป็นหลุมดำที่เกิดจากซากดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ที่ระเบิดเป็น Super Nova

ต้องเป็นดาวฤกษ์ที่มีมวลขนาดใหญ่ ใหญ่กว่าดวงอาทิตย์เรา 7-15 เท่าขึ้นไป

ดวงอาทิตย์เรามวลน้อยตอนหมดอายุไขไม่ระเบิดแต่จะขยายตัวใหญ่จนกินดาวศุกร์ แล้วค่อยๆเล็กลงเป็นดาวแคระขาวที่เล็กกว่าโลก

พวกหลุมดำที่เกิดจากซุปเปอร์โนว่านี่ มีขนาดแค่ 30 กิโลเมตรเองนะครับ แต่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์เรา 1.5-3 เท่าเลยที่เดียว

นึกภาพดู มีขนาดประมาณอนุสาวรีชัยฯไปรังสิต แต่หนักกว่าดวงอาทิตย์ถึง 3 ดวง มวลมันจะมากขนาดไหน

นั่นล่ะครับ มันมีมวลมากแรงโน้มถ่วงมาก มันเลยดูดทุกอย่างที่อยู่ในเขตแรงโน้มถ่วงมาที่มัน

แล้วมันก็จะบีบอัดวัตถุทุกอย่างบีบอัดถึงขนาดอะตอมโปรตอนอีเล็กตรอนหรือเล็กกว่านั้น

หลุมดำขนาดแค่ 30 กม.นี่มีพลังที่จะกลืนกินระบบสุริยะของเราแบบสบายๆ มันกลืนกินแล้วจะเกิดอะไรขึ้น???

มันก็จะไปเพิ่มมวลให้หลุมดำมีขนาดใหญ่ขึ้น มีมวลมากขึ้น และมีแรงโน้มถ่วงมากขึ้นตามไปด้วย


หลุมดำที่ใหญ่ขึ้นมาอีกก็คือ หลุมดำมวลปานกลาง จะใหญ่กว่าแบบแรกเยอะ มีขนาด 1000 กม.

เกิดจากดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ประมาณ 200 เท่าของดวงอาทิตย์เรา

หรืออาจจะกิดจากหลุมดำแบบแรกสองหรือสามรวมตัวกัน หรือหลุมดำแบบแรกกลืนดวงระบบดาวฤกษ์ไปหลายระบบ


ส่วนหลุมดำที่ใหญ่ที่สุดคือหลุมดำมลยิ่งยวด

ที่อยู่ใจกลางดาราจักร(แกแล็คซี่) นักวิทย์ก็เชื่อกันว่าใจกลางทางช้างเผือกเราก็คือหลุมดำมวลยิ่งยวด

มันมีมวลเป็นพันพันล้านเท่าของดวงอาทิตย์เรา แล้วมันค่อยๆดูดกลืนดาวฤกษ์ที่อยู่บริเวณใจกลางแกแล็คซี่ไปเรื่อยๆ

ยิ่งกลืนไปเรือยๆมันก็ยิ่งโตขึ้นเรื่อยๆ แต่ไม่ต้องห่วงนะ ระบบสุริยะเราไม่โดนกลืนหรอก เพราะระบบสุริยะเราอยู่ห่างจากใจกลางทางช้างเผือกมาก

นักดาราศาสตร์ยังรู็เรื่องของหลุมดำน้อยมากๆ เพราะมันไม่มีแสง มองไม่เห็น มันไม่ส่งรัวสีหรือส่งสัญญานอะไรให้ตรวจสอบได้เลย

เพราะมันมวลมากมันดูดไว้หมด จนไม่ปล่อยอะไรออกมาเลย ทั้ง เสียง แสง สัญญานวิทยุ รังสีต่างๆ ออกมาไม่ได้ซักอย่าง


 


เขียนมาอีกเยอะๆเลยได้ไหมครับ ชอบอ่าน อ่านเพลินมาก เข้าใจง่ายด้วย
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะพรีเมียร์ลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 24 Sep 2005
ตอบ: 11559
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon May 22, 2023 12:57
[RE: เหตุการณ์หลุมดำ กลืนดาวฤกษ์ ให้กลายเป็น ‘โดนัทอวกาศ’ ถ่ายโดย กล้องฮับเบิล]
PLATOON พิมพ์ว่า:
Lisaverpool พิมพ์ว่า:
Spoil
PLATOON พิมพ์ว่า:


หลุมดำ จริงๆไม่ได้เป็นหลุมเหมือนชื่อ

แต่มันเป็นวัตถุที่มีความหนาแน่นที่สุดในเอกภพ น่าจะเป็นนิวเคลียสล้วนๆที่หนาแน่นยิ่งกว่าดาวนิวตรอน

หนาแน่นมาก มวลมาก แรงโน้มถ่วงมาก มากจนแม้กระทั่งแสง(โปรตรอน)ยังโดนดูดไว้ มันเลยมืดไร้แสง

มวลมหาศาลจนเวลาที่นั่นเดินอย่างช้าๆ ตามกฏของไอน์สไตน์ที่ว่า

เวลาจะเดินช้าลงถ้าอยู่ใกล้วัตถุมวลมากยิ่งมีมากเวลายิ่งช้าลง

กับ หากวัคถุเคลื่อนไหวเร็วขึ้น ยิ่งเร็วขึ้นเวลาก็จะยิ่งช้าลง

พลังงาน มวล และ เวลา ต่างสัมพันธ์กัน ค้นพบกฏนี้ได้ไงอัฉริยะจริงๆไอน์สไตน์

(จากหนังอินเตอร์สเตลล่า พระเอกไปไม่กี่ชั่วโมง แต่บนโลกผ่านไปหลายสิบปี เพราะพระเอกไปใกล้หลุมดำ)


เรื่องหลุมดำยังเป็นปริศนา ยังไม่รู้ว่ามันประกอบด้วยอะไร แต่ดาวนิวตรอนรองๆลงมานักดาราศาสตร์พอรู้ข้อมูลบ้าง

ในดาวนิวตรอนหนาแน่นมากอัดแน่นไปด้วยนิวเคลียร์ของธาตุหนัก

หากเอาวัถตุบนดาวนิวตรอนขนาดเท่าน้ำตาลก้อนขนาด 1 ซม. มันจะหนาแน่นมาก มีน้ำหนักมากกว่าภูเขาเอเวอร์เรสซะอีก




 
 


กรรม เข้าใจมาตลอดว่ามันคือ "หลุม"
คือ ลึกสุดลำ เลยดำสุดใจ

ขอบคุณท่านมากครับ  


ก็เล่นตั้งชื่อแบล็คโฮล(หลุมดำ) คนทั่วไปก็ย่อมเข้าใจว่ามันเป็นหลุมครับ

คนที่รู้ว่าไม่ใช่หลุมก็เป็นพวกบ้าดาราศาสตร์ที่สนใจมากๆอ่ะครับ (เช่นผมเป็นต้น)

นี่ครับภาพจำลองหลุมดำของ NASA

หน้าตามันจะเป็นแบบนี้ตามการคาดการณ์ของ NASA

หลุมดำมีหลายประเภทด้วย แต่ที่น่าจะเยอะที่สุดก็เป็นหลุมดำที่เกิดจากซากดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ที่ระเบิดเป็น Super Nova

ต้องเป็นดาวฤกษ์ที่มีมวลขนาดใหญ่ ใหญ่กว่าดวงอาทิตย์เรา 7-15 เท่าขึ้นไป

ดวงอาทิตย์เรามวลน้อยตอนหมดอายุไขไม่ระเบิดแต่จะขยายตัวใหญ่จนกินดาวศุกร์ แล้วค่อยๆเล็กลงเป็นดาวแคระขาวที่เล็กกว่าโลก

พวกหลุมดำที่เกิดจากซุปเปอร์โนว่านี่ มีขนาดแค่ 30 กิโลเมตรเองนะครับ แต่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์เรา 1.5-3 เท่าเลยที่เดียว

นึกภาพดู มีขนาดประมาณอนุสาวรีชัยฯไปรังสิต แต่หนักกว่าดวงอาทิตย์ถึง 3 ดวง มวลมันจะมากขนาดไหน

นั่นล่ะครับ มันมีมวลมากแรงโน้มถ่วงมาก มันเลยดูดทุกอย่างที่อยู่ในเขตแรงโน้มถ่วงมาที่มัน

แล้วมันก็จะบีบอัดวัตถุทุกอย่างบีบอัดถึงขนาดอะตอมโปรตอนอีเล็กตรอนหรือเล็กกว่านั้น

หลุมดำขนาดแค่ 30 กม.นี่มีพลังที่จะกลืนกินระบบสุริยะของเราแบบสบายๆ มันกลืนกินแล้วจะเกิดอะไรขึ้น???

มันก็จะไปเพิ่มมวลให้หลุมดำมีขนาดใหญ่ขึ้น มีมวลมากขึ้น และมีแรงโน้มถ่วงมากขึ้นตามไปด้วย


หลุมดำที่ใหญ่ขึ้นมาอีกก็คือ หลุมดำมวลปานกลาง จะใหญ่กว่าแบบแรกเยอะ มีขนาด 1000 กม.

เกิดจากดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ประมาณ 200 เท่าของดวงอาทิตย์เรา

หรืออาจจะกิดจากหลุมดำแบบแรกสองหรือสามรวมตัวกัน หรือหลุมดำแบบแรกกลืนดวงระบบดาวฤกษ์ไปหลายระบบ


ส่วนหลุมดำที่ใหญ่ที่สุดคือหลุมดำมลยิ่งยวด

ที่อยู่ใจกลางดาราจักร(แกแล็คซี่) นักวิทย์ก็เชื่อกันว่าใจกลางทางช้างเผือกเราก็คือหลุมดำมวลยิ่งยวด

มันมีมวลเป็นพันพันล้านเท่าของดวงอาทิตย์เรา แล้วมันค่อยๆดูดกลืนดาวฤกษ์ที่อยู่บริเวณใจกลางแกแล็คซี่ไปเรื่อยๆ

ยิ่งกลืนไปเรือยๆมันก็ยิ่งโตขึ้นเรื่อยๆ แต่ไม่ต้องห่วงนะ ระบบสุริยะเราไม่โดนกลืนหรอก เพราะระบบสุริยะเราอยู่ห่างจากใจกลางทางช้างเผือกมาก

นักดาราศาสตร์ยังรู็เรื่องของหลุมดำน้อยมากๆ เพราะมันไม่มีแสง มองไม่เห็น มันไม่ส่งรัวสีหรือส่งสัญญานอะไรให้ตรวจสอบได้เลย

เพราะมันมวลมากมันดูดไว้หมด จนไม่ปล่อยอะไรออกมาเลย ทั้ง เสียง แสง สัญญานวิทยุ รังสีต่างๆ ออกมาไม่ได้ซักอย่าง


 


เดี๋ยวววววว บอกไม่ต้องห่วง แต่มันค่อย ๆ ดูใช่ไหมท่าน แล้ว ยิ่งดู ยิ่งแรงใช่ไหม ท่าน
และมันก็จะเร็วขึ้นใช่ไหม


ปล. ผมไม่ค่อยเข้าใจ ว่า ทำไมเวลาบนดาวแต่ละดวงไม่เท่ากัน แบบในหนังอะครับ
คือยังไง ทำไมเราไปดาวดวงนั้น แล้ว เราไม่แก่ กลับมาแล้วลูกเราแก่
แก้ไขล่าสุดโดย Lisaverpool เมื่อ Mon May 22, 2023 13:00, ทั้งหมด 2 ครั้ง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel