ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
(ทัณฑ์บนครั้งที่ 1)

ซุปตาร์ยูโร
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 7633
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Mon Jun 27, 2022 14:41
[RE: คิดยังไงกับเงินโอนคนขยันของเพื่อไทย?]
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
N'Square พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
N'Square พิมพ์ว่า:
เรื่อง Negative Income Tax(NIT) นี่เคยได้ยินมาซักพักแล้ว หลายปีแล้วหละ แนวคิดนี้ถูกเสนอโดย Milton Friedman นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลชาวเมกา ซึ่งกระทรวงการคลังก็เคยพยายามดันเรื่องนี้อยู่

หลักคิดสำคัญของ NIT หรือเงินโอนคนขยัน คือ การช่วยเหลือคนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์หรือคนที่ยากจน โดยเค้าจะมีเกณฑ์อยู่ว่า รายได้ต่อปี ไม่ถึงกี่บาทๆ ก็เข้าเกณฑ์ ทำนองนี้ โดยการช่วยเหลือไม่ได้แจกเงินอย่างเดียว จะหลักคิดคือ "การเอาเงินมาเป็นแรงจูงใจ" ถ้าคุณยิ่งทำงาน สร้างรายได้เพิ่ม คุณก็จะได้เงินโอนเพิ่มขึ้นในระยะต่อไป

อธิบายอีก คือมันจะหลาย Phase อะครับ สมมติ Phase1 คุณมีรายได้ 1-30,000 บาทต่อปี จะได้เงินโอนช่วยเหลือจากรัฐ 6,000 บาท ต่อมารัฐจะทำโครงการช่วยเหลือ สร้างอาชีพหรือพัฒนาทักษะควบคู่ไปด้วย แล้วคุณทำงานจนสร้างรายได้เพิ่มได้เป็น 30,001-80,000 บาทต่อปี ก็จะเข้า Phase2 อาจจะได้เงินเพิ่มจาก 6พัน เป็น 8 พัน อะไรทำนองนั้นเพื่อจูงใจให้คนอยากมีรายได้เพิ่มขึ้น จนเมื่อถึงจุดหนึ่ง เข้า Phaseสุดท้าย คือ คุณมีรายได้ที่รัฐมองว่ามากพอที่จะเลี้ยงชีพ ไม่จนละ(สมมติ รายได้ขั้นต่ำต่อเดือน9,000บาท ต่อปีก็คือมีรายได้ 100,800บาท) รัฐก็เลิกจ่ายเงินอุดหนุน คือคุณยืนด้วยลำแข้งตัวเองได้แล้ว

ข้อดีของวิธีนี้คือ เป็นการจ่ายเงินแบบเจาะจงรายคน โดยของไทยเรามี big data จากแอพเป๋าตัง หรือไทยชนะอยู่แล้ว มันก็พอจะใช้ได้ และงบก็โยกจากบัตรคนจนที่แจกเฉยๆ มาใช้วิธีนี้แทน ซึ่งวิธีนี้เค้าเรียกว่า Cash Condition Transfer(CCT) จ่ายเงินช่วยบางกลุ่ม จะต่างจากรัฐสวัสดิการถ้วนหน้าแบบของพรรคก้าวไกลที่เป็นแนวแจกแบบถ้วนหน้า Universal Basic Income(UBI) ซึ่งในอนาคตก็อาจจะทำแบบนั้นถ้าทำได้ แต่ตอนนี้ที่เพื่อไทยเสนอแบบ CCT เพราะถ้าดูจากอัตราการเก็บภาษีของไทยที่ได้แค่ 15-16 กว่า% ของGDP มันน้อยกว่าสแกดิเนเวียที่ทำแบบ UBI ที่เก็บภาษีได้ถึงมากกว่า 50% ครับ

ส่วนข้อเสีย คือ 1.อาจจะเจอพวกสวมรอย คนปลอมทิพย์ มันเป็นจุดอ่อนของนโยบายแบบนี้อยู่ละ เหมือนตอนบัตรคนจนที่มันก็มีไอ้พวกที่สวมรอยจากช่องโหว่ ก็ต้องหาทางอุดกันดีๆ แต่ถ้ารัฐทำนโยบายช่วยพัฒนาทักษะลงไปดูละเอียดเลยก็อาจจะเช็คได้ 2.บางคนก็จะโจมตีว่านโยบายประชานิยมนี่แหละ แจกเงินอีกละ ก็ว่ากันไป

ส่วนตัวผมว่ามันก็ลองทำได้ครับ อาจจะเวิร์คหรือไม่เวิร์คก็ได้ แต่มันก็น่าจะดีกว่าแจกเงินเฉยๆแบบบัตรคนจนปะ ยิ่งแจกยิ่งจน งง ถ้าทำแล้วเวิร์คจริง คนจนกลายเป็นคนชั้นกลางล่างก็ทำให้เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้เพิ่ม ก็มีรายได้เพิ่มไปทำรัฐสวัสดิการในอนาคต  


รอดูcriteriaนั่นแหละconceptดีอันนี้เห็นอยู่ ผมเห็นด้วยกว่าที่จะไปทำUBIตุ้มเดียวเลย ผมว่าไทยไม่พร้อมตอนนี้หรืออนาคตอันใกล้นี้

แต่การexecution ยังไงให้ตรงตามconceptนี่ต้องมาถกกันอีกยาว ข้อเสียใหญ่ๆก็อย่างที่นายว่านั้นแหละ พวกอยู่นอกระบบนี่ตัวดีเลย

อ้อจุดอ่อนอีกอย่างคือใช้เงินกู้นั่นแหละถึงจะอ้างว่าโยกงบมาเลย แต่ไอ้งบนั้นก็กู้มาอยุ่ดีนั่นแหละ  

เรื่อง criteria ก็ศึกษากันไป ในไทยมีอาจารย์ที่ทำวิจัยเรื่องนี้อยู่แล้ว ก็คงต้องหารือกับนักวิชาการว่าเกฑณ์ไหนที่เหมาะสม

ส่วนเรื่องเงินกู้ เอาตามตรงมั้ย ถ้าพูดกันจริงๆ ผมว่านโยบายนี้ของเพื่อไทยคือการแปรให้นโยบายบัตรคนจนกลายเป็นของตัวเอง โดยที่ไม่ซ้ำหรือไม่ก็อปมา และปรับเปลี่ยนเงื่อนไขให้ดีขึ้น เพราะว่ายังไง ไอ้นโยบายบัตรคนจนอะ รัฐบาลไหนมาทำต่อ ก็ยกเลิกยาก เพราะมันทำไปแล้ว และประชาชนก็เข้าใจว่ามันคือสวัสดิกาาของตัวเองไปละ ถ้าอยู่ๆมายกเลิกอะ จะมีปัญหา ก็เลยเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนรายละเอียดมันซะเลย  


เข้าใจ แต่มันก็คือเงินกู้อยู่ดีนั่นแหละแค่เล่นคำ  

นายอาจจะสลับกันป่าว ถ้าไอ้โครงการคนละครึ่ง เที่ยวด้วยกันอะไรนั่นอะ กู้เพิ่มนอกงบประมาณประจำปีมาทำโดยเฉพาะ พยุงเศรษฐกิจ

ส่วนเท่าที่อ่าน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือบัตรคนจนดูมันจะอยู่ในงบประจำปีไปแล้ว ซึ่งถ้าจะบอกว่าอันนี้เป็นเงินกู้ every government policy ก็เป็นเงินกู้ด้วยนั่นแหละครับ เพียงแต่ต่างกันหน่อยตรงที่งบบัตรที่จะโยกนี่มันเป็นงบประมาณประจำปีที่ต้องผ่านสภาอะ มันอยู่ในนั้นแล้ว แต่ไม่ได้มากู้เพิ่มเพื่อมาทำแบบคนละครึ่งหรือเที่ยวด้วยกัน
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
อบรมขอไลเซนส์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 25 Nov 2008
ตอบ: 25698
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 27, 2022 15:30
[RE: คิดยังไงกับเงินโอนคนขยันของเพื่อไทย?]
N'Square พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
N'Square พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
N'Square พิมพ์ว่า:
เรื่อง Negative Income Tax(NIT) นี่เคยได้ยินมาซักพักแล้ว หลายปีแล้วหละ แนวคิดนี้ถูกเสนอโดย Milton Friedman นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลชาวเมกา ซึ่งกระทรวงการคลังก็เคยพยายามดันเรื่องนี้อยู่

หลักคิดสำคัญของ NIT หรือเงินโอนคนขยัน คือ การช่วยเหลือคนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์หรือคนที่ยากจน โดยเค้าจะมีเกณฑ์อยู่ว่า รายได้ต่อปี ไม่ถึงกี่บาทๆ ก็เข้าเกณฑ์ ทำนองนี้ โดยการช่วยเหลือไม่ได้แจกเงินอย่างเดียว จะหลักคิดคือ "การเอาเงินมาเป็นแรงจูงใจ" ถ้าคุณยิ่งทำงาน สร้างรายได้เพิ่ม คุณก็จะได้เงินโอนเพิ่มขึ้นในระยะต่อไป

อธิบายอีก คือมันจะหลาย Phase อะครับ สมมติ Phase1 คุณมีรายได้ 1-30,000 บาทต่อปี จะได้เงินโอนช่วยเหลือจากรัฐ 6,000 บาท ต่อมารัฐจะทำโครงการช่วยเหลือ สร้างอาชีพหรือพัฒนาทักษะควบคู่ไปด้วย แล้วคุณทำงานจนสร้างรายได้เพิ่มได้เป็น 30,001-80,000 บาทต่อปี ก็จะเข้า Phase2 อาจจะได้เงินเพิ่มจาก 6พัน เป็น 8 พัน อะไรทำนองนั้นเพื่อจูงใจให้คนอยากมีรายได้เพิ่มขึ้น จนเมื่อถึงจุดหนึ่ง เข้า Phaseสุดท้าย คือ คุณมีรายได้ที่รัฐมองว่ามากพอที่จะเลี้ยงชีพ ไม่จนละ(สมมติ รายได้ขั้นต่ำต่อเดือน9,000บาท ต่อปีก็คือมีรายได้ 100,800บาท) รัฐก็เลิกจ่ายเงินอุดหนุน คือคุณยืนด้วยลำแข้งตัวเองได้แล้ว

ข้อดีของวิธีนี้คือ เป็นการจ่ายเงินแบบเจาะจงรายคน โดยของไทยเรามี big data จากแอพเป๋าตัง หรือไทยชนะอยู่แล้ว มันก็พอจะใช้ได้ และงบก็โยกจากบัตรคนจนที่แจกเฉยๆ มาใช้วิธีนี้แทน ซึ่งวิธีนี้เค้าเรียกว่า Cash Condition Transfer(CCT) จ่ายเงินช่วยบางกลุ่ม จะต่างจากรัฐสวัสดิการถ้วนหน้าแบบของพรรคก้าวไกลที่เป็นแนวแจกแบบถ้วนหน้า Universal Basic Income(UBI) ซึ่งในอนาคตก็อาจจะทำแบบนั้นถ้าทำได้ แต่ตอนนี้ที่เพื่อไทยเสนอแบบ CCT เพราะถ้าดูจากอัตราการเก็บภาษีของไทยที่ได้แค่ 15-16 กว่า% ของGDP มันน้อยกว่าสแกดิเนเวียที่ทำแบบ UBI ที่เก็บภาษีได้ถึงมากกว่า 50% ครับ

ส่วนข้อเสีย คือ 1.อาจจะเจอพวกสวมรอย คนปลอมทิพย์ มันเป็นจุดอ่อนของนโยบายแบบนี้อยู่ละ เหมือนตอนบัตรคนจนที่มันก็มีไอ้พวกที่สวมรอยจากช่องโหว่ ก็ต้องหาทางอุดกันดีๆ แต่ถ้ารัฐทำนโยบายช่วยพัฒนาทักษะลงไปดูละเอียดเลยก็อาจจะเช็คได้ 2.บางคนก็จะโจมตีว่านโยบายประชานิยมนี่แหละ แจกเงินอีกละ ก็ว่ากันไป

ส่วนตัวผมว่ามันก็ลองทำได้ครับ อาจจะเวิร์คหรือไม่เวิร์คก็ได้ แต่มันก็น่าจะดีกว่าแจกเงินเฉยๆแบบบัตรคนจนปะ ยิ่งแจกยิ่งจน งง ถ้าทำแล้วเวิร์คจริง คนจนกลายเป็นคนชั้นกลางล่างก็ทำให้เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้เพิ่ม ก็มีรายได้เพิ่มไปทำรัฐสวัสดิการในอนาคต  


รอดูcriteriaนั่นแหละconceptดีอันนี้เห็นอยู่ ผมเห็นด้วยกว่าที่จะไปทำUBIตุ้มเดียวเลย ผมว่าไทยไม่พร้อมตอนนี้หรืออนาคตอันใกล้นี้

แต่การexecution ยังไงให้ตรงตามconceptนี่ต้องมาถกกันอีกยาว ข้อเสียใหญ่ๆก็อย่างที่นายว่านั้นแหละ พวกอยู่นอกระบบนี่ตัวดีเลย

อ้อจุดอ่อนอีกอย่างคือใช้เงินกู้นั่นแหละถึงจะอ้างว่าโยกงบมาเลย แต่ไอ้งบนั้นก็กู้มาอยุ่ดีนั่นแหละ  

เรื่อง criteria ก็ศึกษากันไป ในไทยมีอาจารย์ที่ทำวิจัยเรื่องนี้อยู่แล้ว ก็คงต้องหารือกับนักวิชาการว่าเกฑณ์ไหนที่เหมาะสม

ส่วนเรื่องเงินกู้ เอาตามตรงมั้ย ถ้าพูดกันจริงๆ ผมว่านโยบายนี้ของเพื่อไทยคือการแปรให้นโยบายบัตรคนจนกลายเป็นของตัวเอง โดยที่ไม่ซ้ำหรือไม่ก็อปมา และปรับเปลี่ยนเงื่อนไขให้ดีขึ้น เพราะว่ายังไง ไอ้นโยบายบัตรคนจนอะ รัฐบาลไหนมาทำต่อ ก็ยกเลิกยาก เพราะมันทำไปแล้ว และประชาชนก็เข้าใจว่ามันคือสวัสดิกาาของตัวเองไปละ ถ้าอยู่ๆมายกเลิกอะ จะมีปัญหา ก็เลยเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนรายละเอียดมันซะเลย  


เข้าใจ แต่มันก็คือเงินกู้อยู่ดีนั่นแหละแค่เล่นคำ  

นายอาจจะสลับกันป่าว ถ้าไอ้โครงการคนละครึ่ง เที่ยวด้วยกันอะไรนั่นอะ กู้เพิ่มนอกงบประมาณประจำปีมาทำโดยเฉพาะ พยุงเศรษฐกิจ

ส่วนเท่าที่อ่าน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือบัตรคนจนดูมันจะอยู่ในงบประจำปีไปแล้ว ซึ่งถ้าจะบอกว่าอันนี้เป็นเงินกู้ every government policy ก็เป็นเงินกู้ด้วยนั่นแหละครับ เพียงแต่ต่างกันหน่อยตรงที่งบบัตรที่จะโยกนี่มันเป็นงบประมาณประจำปีที่ต้องผ่านสภาอะ มันอยู่ในนั้นแล้ว แต่ไม่ได้มากู้เพิ่มเพื่อมาทำแบบคนละครึ่งหรือเที่ยวด้วยกัน  


ไม่ใช่กู้เพิ่มจาก1ล้านล้านเหรอ?

https://siamrath.co.th/n/280183

ผมเริ่มงงละเนี่ย
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
(ทัณฑ์บนครั้งที่ 1)

ซุปตาร์ยูโร
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 7633
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Mon Jun 27, 2022 15:55
[RE: คิดยังไงกับเงินโอนคนขยันของเพื่อไทย?]
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
N'Square พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
N'Square พิมพ์ว่า:
the Smirnoff พิมพ์ว่า:
N'Square พิมพ์ว่า:
เรื่อง Negative Income Tax(NIT) นี่เคยได้ยินมาซักพักแล้ว หลายปีแล้วหละ แนวคิดนี้ถูกเสนอโดย Milton Friedman นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลชาวเมกา ซึ่งกระทรวงการคลังก็เคยพยายามดันเรื่องนี้อยู่

หลักคิดสำคัญของ NIT หรือเงินโอนคนขยัน คือ การช่วยเหลือคนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์หรือคนที่ยากจน โดยเค้าจะมีเกณฑ์อยู่ว่า รายได้ต่อปี ไม่ถึงกี่บาทๆ ก็เข้าเกณฑ์ ทำนองนี้ โดยการช่วยเหลือไม่ได้แจกเงินอย่างเดียว จะหลักคิดคือ "การเอาเงินมาเป็นแรงจูงใจ" ถ้าคุณยิ่งทำงาน สร้างรายได้เพิ่ม คุณก็จะได้เงินโอนเพิ่มขึ้นในระยะต่อไป

อธิบายอีก คือมันจะหลาย Phase อะครับ สมมติ Phase1 คุณมีรายได้ 1-30,000 บาทต่อปี จะได้เงินโอนช่วยเหลือจากรัฐ 6,000 บาท ต่อมารัฐจะทำโครงการช่วยเหลือ สร้างอาชีพหรือพัฒนาทักษะควบคู่ไปด้วย แล้วคุณทำงานจนสร้างรายได้เพิ่มได้เป็น 30,001-80,000 บาทต่อปี ก็จะเข้า Phase2 อาจจะได้เงินเพิ่มจาก 6พัน เป็น 8 พัน อะไรทำนองนั้นเพื่อจูงใจให้คนอยากมีรายได้เพิ่มขึ้น จนเมื่อถึงจุดหนึ่ง เข้า Phaseสุดท้าย คือ คุณมีรายได้ที่รัฐมองว่ามากพอที่จะเลี้ยงชีพ ไม่จนละ(สมมติ รายได้ขั้นต่ำต่อเดือน9,000บาท ต่อปีก็คือมีรายได้ 100,800บาท) รัฐก็เลิกจ่ายเงินอุดหนุน คือคุณยืนด้วยลำแข้งตัวเองได้แล้ว

ข้อดีของวิธีนี้คือ เป็นการจ่ายเงินแบบเจาะจงรายคน โดยของไทยเรามี big data จากแอพเป๋าตัง หรือไทยชนะอยู่แล้ว มันก็พอจะใช้ได้ และงบก็โยกจากบัตรคนจนที่แจกเฉยๆ มาใช้วิธีนี้แทน ซึ่งวิธีนี้เค้าเรียกว่า Cash Condition Transfer(CCT) จ่ายเงินช่วยบางกลุ่ม จะต่างจากรัฐสวัสดิการถ้วนหน้าแบบของพรรคก้าวไกลที่เป็นแนวแจกแบบถ้วนหน้า Universal Basic Income(UBI) ซึ่งในอนาคตก็อาจจะทำแบบนั้นถ้าทำได้ แต่ตอนนี้ที่เพื่อไทยเสนอแบบ CCT เพราะถ้าดูจากอัตราการเก็บภาษีของไทยที่ได้แค่ 15-16 กว่า% ของGDP มันน้อยกว่าสแกดิเนเวียที่ทำแบบ UBI ที่เก็บภาษีได้ถึงมากกว่า 50% ครับ

ส่วนข้อเสีย คือ 1.อาจจะเจอพวกสวมรอย คนปลอมทิพย์ มันเป็นจุดอ่อนของนโยบายแบบนี้อยู่ละ เหมือนตอนบัตรคนจนที่มันก็มีไอ้พวกที่สวมรอยจากช่องโหว่ ก็ต้องหาทางอุดกันดีๆ แต่ถ้ารัฐทำนโยบายช่วยพัฒนาทักษะลงไปดูละเอียดเลยก็อาจจะเช็คได้ 2.บางคนก็จะโจมตีว่านโยบายประชานิยมนี่แหละ แจกเงินอีกละ ก็ว่ากันไป

ส่วนตัวผมว่ามันก็ลองทำได้ครับ อาจจะเวิร์คหรือไม่เวิร์คก็ได้ แต่มันก็น่าจะดีกว่าแจกเงินเฉยๆแบบบัตรคนจนปะ ยิ่งแจกยิ่งจน งง ถ้าทำแล้วเวิร์คจริง คนจนกลายเป็นคนชั้นกลางล่างก็ทำให้เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้เพิ่ม ก็มีรายได้เพิ่มไปทำรัฐสวัสดิการในอนาคต  


รอดูcriteriaนั่นแหละconceptดีอันนี้เห็นอยู่ ผมเห็นด้วยกว่าที่จะไปทำUBIตุ้มเดียวเลย ผมว่าไทยไม่พร้อมตอนนี้หรืออนาคตอันใกล้นี้

แต่การexecution ยังไงให้ตรงตามconceptนี่ต้องมาถกกันอีกยาว ข้อเสียใหญ่ๆก็อย่างที่นายว่านั้นแหละ พวกอยู่นอกระบบนี่ตัวดีเลย

อ้อจุดอ่อนอีกอย่างคือใช้เงินกู้นั่นแหละถึงจะอ้างว่าโยกงบมาเลย แต่ไอ้งบนั้นก็กู้มาอยุ่ดีนั่นแหละ  

เรื่อง criteria ก็ศึกษากันไป ในไทยมีอาจารย์ที่ทำวิจัยเรื่องนี้อยู่แล้ว ก็คงต้องหารือกับนักวิชาการว่าเกฑณ์ไหนที่เหมาะสม

ส่วนเรื่องเงินกู้ เอาตามตรงมั้ย ถ้าพูดกันจริงๆ ผมว่านโยบายนี้ของเพื่อไทยคือการแปรให้นโยบายบัตรคนจนกลายเป็นของตัวเอง โดยที่ไม่ซ้ำหรือไม่ก็อปมา และปรับเปลี่ยนเงื่อนไขให้ดีขึ้น เพราะว่ายังไง ไอ้นโยบายบัตรคนจนอะ รัฐบาลไหนมาทำต่อ ก็ยกเลิกยาก เพราะมันทำไปแล้ว และประชาชนก็เข้าใจว่ามันคือสวัสดิกาาของตัวเองไปละ ถ้าอยู่ๆมายกเลิกอะ จะมีปัญหา ก็เลยเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนรายละเอียดมันซะเลย  


เข้าใจ แต่มันก็คือเงินกู้อยู่ดีนั่นแหละแค่เล่นคำ  

นายอาจจะสลับกันป่าว ถ้าไอ้โครงการคนละครึ่ง เที่ยวด้วยกันอะไรนั่นอะ กู้เพิ่มนอกงบประมาณประจำปีมาทำโดยเฉพาะ พยุงเศรษฐกิจ

ส่วนเท่าที่อ่าน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือบัตรคนจนดูมันจะอยู่ในงบประจำปีไปแล้ว ซึ่งถ้าจะบอกว่าอันนี้เป็นเงินกู้ every government policy ก็เป็นเงินกู้ด้วยนั่นแหละครับ เพียงแต่ต่างกันหน่อยตรงที่งบบัตรที่จะโยกนี่มันเป็นงบประมาณประจำปีที่ต้องผ่านสภาอะ มันอยู่ในนั้นแล้ว แต่ไม่ได้มากู้เพิ่มเพื่อมาทำแบบคนละครึ่งหรือเที่ยวด้วยกัน  


ไม่ใช่กู้เพิ่มจาก1ล้านล้านเหรอ?

https://siamrath.co.th/n/280183

ผมเริ่มงงละเนี่ย  

ผมก็งงนะ55555
ถ้าที่เข้าใจคือมันมีงบจากงบประจำปีอยู่แล้ว แต่อาจจะไม่พอตอนโควิด19มา ก็ใข้งบจากเงินกู้1ล้านล้านที่กู้เพิ่มด้วย

https://www.thansettakij.com/general-news/497653

เออ แต่เอาเถอะ ผมก็เข้าใจ point คุณแหละว่ามันก็เป็นนโยบายที่น่าจะสร้างภาระทางการคลัง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2, 3
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel