ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status: You Can't Buy Class.
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 119
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Jan 26, 2019 13:15
[RE: แข้งบาห์เรนลี้ภัยที่ถูกจับในไทย กับบททดสอบมนุษยธรรมในวงการฟุตบอล]
namlang15 พิมพ์ว่า:
worker005 พิมพ์ว่า:
namlang15 พิมพ์ว่า:
ผมว่าเรากลืนไม่เข้าคลายไม่ออกนะ มันไม่ได้ง่ายขนาดนั้นว่าถ้าจะส่งกลับออสแล้วเรื่องจบ
ถ้าส่งกลับไปออสก็อาจขุ่นเคืองกับบาห์เรนได้และตำรวจสากลได้นะ
การส่งกลับออสไม่เท่ากับเราไม่เคารพกฎหมายของบาห์เรนหรอ !!

แล้วออสกับฟีฟ่าเอาไรมากดดันเรา นี่เขาเข้ามาในเขตอำนาจอธิปไตยของเราเองนะ
เรามีอำนาจอธิปไตยเหนือเขตแดนของเรา ทำไมเราต้องยอมด้วยล่ะ
เมื่อบุคคลผู้นี้มีหมายจากตำรวจสากล เขาได้รับความคุ้มครองในออสเตรเลียแต่ไม่ได้รับความคุ้มครองในไทย
และสนธิสัญญาระหว่างประเทศเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดนหลักของมันเป็นเสมือนการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
คิดดูถ้าต่อไปมีผู้ร้ายที่เราต้องการตัวลี้ภัยเข้าไปอยู่ในบาห์เรนบ้างล่ะ
ถ้าครั้งนี้เมื่อเขาเข้ามาแล้วถ้าเราไม่ทำอะไรสากลโลกเขาจะมองเรายังไง

ส่วนไอ้หมายแดงสิ้นผลเพราะออสให้การรับรองสถานะผู้ลี้ภัยก็เถอะ อันนี้ผมไม่รู้นะ
แต่ฟังดูเหมือนไอ้สถานะผู้ลี้ภัยของออสมันเหนือกว่าสนธิสัญญาระหว่างประเทศเชียวหรือ
ผมว่าทางที่ดีรอให้ครบกำหนดเวลาแล้วบาห์เรนไม่ส่งหมายมาขอตัวผู้ร้ายข้ามแดนแล้วเราค่อยส่งกลับไปออสน่าจะดีที่สุด ถนอมน้ำใจทั้งสองฝ่าย (ส่วนนักบอลคนนี้ต้องรับเคราะห์โดนขังต่อหน่อย ผมมองว่าเรื่องประเทศสำคัญกว่าตัวบุคคล)
มิเช่นนั้นก็ปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการระหว่างประเทศตามปกติเถอะ อย่าได้มากดดันกัน

แล้วถ้าฟีฟ่าจะคว่ำบาตรเราเพราะเรื่องนี้นะแม่งโคตรทุเรศเลยบอกตรงๆ
ผมมองว่ามันเป็นเรื่องของผู้ลี้ภัยซึ่งคือบุคคลธรรมดาคนนึง (แม้จะเคยเป็นนักฟุตบอล)
ฟีฟ่าจะเอาเรื่องของฟุตบอลมากดดันให้เราปล่อยตัวผู้ลี้ภัยในความผิดซึ่งกรณีไม่ได้เกี่ยวอะไรกับฟุตบอลได้ยังไง
อย่างงี้คนๆนี้มันไม่อภิสิทธิ์ชนไปหน่อยหรอ มันไม่เอนเอียงถือหางกันหรอ ลองคิดกันดู


edit เป็นความเห็นนะครับ ไม่ได้บอกว่าที่เขียนมาทั้งหมดถูกต้อง
แต่สิ่งที่อยากจะพูดหลักๆเลยคือฟีฟ่าไม่น่าเข้ามาเกี่ยวข้อง  


ดีใจที่ได้คุยเรื่องการเมืองระหว่างประเทศครับ
ยาวหน่อยนะครับ อันนี้คือข้อมูลที่ผมมี พูดคุยแลกเปลี่ยนได้ครับ

ถูกครับ ตอนนี้เขาอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยเรา ทีนี้เมื่อออสเตรเลียคุ้มครองเขาในฐานะผู้ลี้ภัยแล้ว มันก็เป็นอำนาจอธิปไตยของเขาที่จะต้องแสดงออกซึ่งการคุ้มครอง (ไม่งั้นก็คุ้มครองแค่ลมปากดิใช่มะ) ฟีฟ่าเองก็มีข้อบังคับเรื่องสิทธิมนุษยชน (ไทยก็ลงนามในคำประกาศสิทธิมนุษยชนสากล ซึ่งตามกฎหมายระหว่างประเทศ ไทยมีหน้าที่ต้องทำตามครับ และเรื่องการไม่ส่งตัวคนกลับไปเผชิญอันตรายก็เป็นหนึ่งในหน้าที่ที่ไทยผูกพันในอนุสัญญาต้านการซ้อมทรมาน) แต่ละฝ่ายมันมีบทบาทที่ต้องออกมาแสดงการกดดัน เพราะไอ้กฎหมายที่ไม่ใช่กฎหมายในประเทศเนี่ย อำนาจบังคับใช้มันไม่มีถ้าไม่เคารพกันเสียเอง

ไทยกับบาห์เรนไม่มีสัญญาทวิภาคีส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนครับ กระทรวงการต่างประเทศไทยให้ข้อมูลไว้ในนี้ http://mfa.go.th/main/th/news3/6886/97217-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2-Hakeem-Ali-Mohamed-Ali-Al-Oraibi.html (ฝังลิงค์ยังไงวะเนี่ย รกมาก)

มีเพียงหมายแดงของอินเตอร์โปล ซึ่งไม่ใช่รัฐ ไม่มีกองกำลังและประชาชนเป็นของตัวเอง ไม่มีอำนาจบังคับ และการขอตัวฮาคีมจากไทยเมื่อ 27 พ.ย. โดยทางการบาห์เรน (ที่ยังไม่มีเอกสารส่งมาจนถึงทุกวันนี้ นำมาซึ่งการฝากขังตามกระบวนการ พรบ ผู้ร้ายข้ามแดนของไทย) แปลว่าตอนนี้บาห์เรนและออสเตรเลียไม่มีสิทธิพิเศษมากไปกว่าใครครับ และในทางหลักการเราไม่มีหน้าที่ต้องไปเคารพกฎหมายประเทศอื่นบนดินแดนของเรา ก็ต้องไปพิจารณาว่าเรามีสัมพันธ์ทางการทูตที่ดีกว่ากับใคร ผมเห็นด้วยนะครับว่าการตัดสินใจรอบนี้กระทบความสัมพันธ์ทางการทูตของสักฝั่งใดฝั่งหนึ่งแน่ แต่การเมืองระหว่างประเทศมันก็แบบนี้ครับ ทางการทูตก็ต้องผสานประโยชน์กันไป ทางการเมืองก็ดีดลูกคิดเอาว่าแทงข้างไหนแล้วจะได้ประโยชน์ดีสุด ผมสงสัยมากว่าถ้าพวกประเทศพัฒนาแล้วสนับสนุนการส่งตัวกลับออสเตรเลีย แล้วไทยไปเคารพกฎหมายบาห์เรน ส่งตัวเขากลับไปติดคุกที่นั่น ดีดลูกคิดยังไงมันจะคุ้ม เพราะไอ้พฤติกรรมแบบต่างตอบแทนเนี่ย มันเกิดได้กับทั้งบาห์เรน-ไทย และออสเตรเลีย-ไทย จะพิจารณาแต่ไอ้ทางบาห์เรนข้างเดียวก็ไม่ได้

สถานะผู้ลี้ภัยที่ออสเตรเลีย ที่เคยได้ยินมามันขอกันยากอ่ะครับ (ที่ไหนก็ยาก กระบวนการขอสถานะผู้ลี้ภัยที่ UNHCR ในเมืองไทยใช้เวลานับหลักกันเป็นปีครับ ถ้าไม่ติดอะไรก็ 1-3 ปี ถ้าติดก็ยาวไปเลย) นั่นสะท้อนว่าออสเตรเลียมั่นใจแล้วว่าไอ้หนุ่มนี่หนีภัยอันตรายมาแน่ๆ ข้อมูลจากองค์กรสิทธิก็บอกว่าเขาโดนทรมานมาก่อน โดนยัดข้อหาว่าไปทำลายโรงพัก ทั้งๆ ที่ตอนนั้นตัวเองแข่งฟุตบอลถ่ายทอดสดทางทีวีอยู่แท้ๆ โอเคแหละ อันนี้เถียงได้ว่าการรับผู้ลี้ภัยมันมีการเมืองในนั้นอยู่ แต่ข้อมูลมีเท่านี้ครับ แหะๆ

ทีนี้ใหญ่กว่าสนธิสัญญาไหม ไทยกับบาห์เรนไม่มีสัญญาผู้ร้ายข้ามแดน แต่จารีตระหว่างประเทศที่ทำกันก็คือ รัฐจะไม่ส่งคนที่หนีภัยมา กลับไปเผชิญอันตรายที่เขาหนีมาแล้ว (Non-Refoulement) ซึ่งอันนี้เป็นกฎหมายระหว่างประเทศที่ถ้าจะทำก็ทำได้ครับ

ความเห็นคุณเรื่องรอให้เขาไม่ส่งใบเรียกตัวมามันก็อาจจะเกิดขึ้นครับ บาห์เรนก็อาจจะแก้เกี้ยว เห็นคนค้านเยอะก็คงทำเมินๆ ไม่ส่งไป ให้ไอ้หนุ่มนี่ติดคุกสักสองเดือนแล้วก็กลับออสไป เรื่องพวกนี้ไม่หลุดมาให้เราได้ยินแน่ๆ และมันไม่ได้อยู่ในพิสัยที่เราท่านจะทำอะไรได้ แต่ถ้าเรื่องจบแบบนั้น ไอ้ที่ไทยไปสัญญาเอาไว้ในเวทีโลกก็เป็นลมปากเฉยๆ การทูตบ้านเราถนัดแทงกั๊กแบบนั้นอยู่แล้ว และมีแนวโน้มว่าจะเป็นแบบนั้น รักษาความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย ออสคงมีเคืองหน่อยๆ แต่ก็ไม่ได้ถูกส่งกลับนี่ ก็ยังโอเคบ้าง บาห์เรนก็ไม่ได้เสียหน้า

edit: เขายังเป็นนักฟุตบอลที่ลีคออสเตรเลียครับ เล่นแบ๊คขวาที่สโมสร Pasco Vale FC

 


โอ้วขอบคุณครับ
ถ้าข้อเท็จจริงเป็นไปตามนั้นในส่วนทางปฏิบัติตามกฎหมายผมก็คิดว่าชัดเจนดังที่ท่านว่านะครับ เพราะผมเองเพิ่งรู้เรื่องนี้จากโพสท่านกับลิงค์ข่าวในเว็บนี้นี่เอง
ยิ่งถ้าข้อมูลจากองค์กรสิทธิก็บอกว่าเขาโดนทรมานมาก่อน โดนยัดข้อหาว่าไปทำลายโรงพัก ทั้งที่ตอนนั้นตัวเองแข่งฟุตบอลถ่ายทอดสดทางทีวีผมจะไม่เถียงในส่วนนี้ ถ้าขอเท็จจริงเป็นไปตามนี้ผมคิดว่าท่านมีเหตุผลที่ดีกว่า

แล้วในส่วนทางปฏิบัติ ส่วนที่เป็นความเห็นท่านว่าควรแก้อย่างไร ในส่วนนี้ท่านเห็นว่าหลักคือควรคำนึงความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย แต่ถ้าต้องเลือกควรเอนไปทางออสเตรเลีย ผมเข้าใจถูกไม๊ครับ
ส่วนนี้ขอถามแลกเปลี่ยนเป็นความรู้เฉยๆครับ



แต่ที่ผมพูดมายืดยาวในคอมเม้นก่อนเพราะต้องการท้าวความในส่วนนี้มากกว่าครับ
คือเรื่องจดหมายของฟีฟ่า ผมยังคิดว่าไม่น่าเข้ามาเกี่ยวข้องนะครับ
เพราะกรณีไม่เกี่ยวกับฟุตบอลเลย หรือหากว่ามีกฎของทางฟีฟ่าแล้วทางเราได้ลงนาม
แต่กฎฟีฟ่าก็ไม่ใช่หรือไม่ได้มีศักดิ์เทียบเท่ากฎหมายที่เราต้องปฏิบัติตามโดยการให้ความสำคัญเสมอกฎหมาย (แต่ กม.ระหว่างประเทศรากมันจริงๆก็เป็นเพียงจารีตประเพณีระหว่างประเทศที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาเนอะ ถ้าระหว่างประเทศใดไม่มีตัวสัญญามันก็ไม่มีตัวบทกฎหมายจริงๆ แต่ผมคิดว่ามันน่าจะใหญ่กว่ากฎฟีฟ่าที่เราลงนามอยู่ดี ไม่แน่ใจผมเข้าใจถูกไม๊ครับอันนี้ ?? แฮ่ )
ทีนี้ด้วยผมเห็นว่ากรณีตามข้อกล่าวหาไม่ใช่ความผิดเกี่ยวกับฟุตบอล แล้วเช่นนี้ทำไมฟีฟ่าถึงเลือกที่จะเชื่อว่าสิทธิมนุษยชนในการช่วยเหลือคนๆนี้เหนือกว่ากฎหมายภายในหรือกระบวนการยุติธรรมของประเทศบาห์เรนที่พิพากษาว่าคนๆนี้มีความผิด
นั่นไม่เท่ากับว่าฟีฟ่าเอาตัวเองเข้ามาเกี่ยวโดยเลือกถือหางข้างนี้หรอครับ
(กรณีนี้ผมเห็นว่าฟีฟ่าฟังว่านักบอลคนนี้ไม่ผิด หรือแม้จะผิดแต่ได้รับความคุ้มครองโดยออสเตรเลีย ฟีฟ่าจึงส่งจดหมายมากดดันเรา ผมคิดว่าฟีฟ่าถือหางข้างนี้แล้ว) อย่างนี้ไม่ก็เท่ากับว่าฟีฟ่าเอาตัวเองเข้ามีส่วนเกี่ยวข้อง ชี้นำ หรือตัดสินปัญหาซึ่งน่าจะเป็นปัญหาทางการเมืองหรอครับ
แล้วฟีฟ่ามีอำนาจอะไรในการออกความเห็นเช่นนี้ แม้จะบอกว่าคนๆนี้เป็นนักฟุตบอลก็เถอะ มันมีน้ำหนักขนาดนั้นเลยหรอที่ฟีฟ่าต้องยื่นมือเข้ามา
แล้วถ้าจะคว่ำบาตรเราในทางฟุตบอลเพราะถ้าหากรัฐบาลเราไม่ปฎิบัติตามคำขอของออสเตรเลียขึ้นมาจริงๆนี่มันสมเหตุสมผลหรอครับ
หรือถ้าจะตอบว่ากฎฟีฟ่าเขียนไว้อย่างนี้แล้วเราลงนามเอง อันนี้ผมพาลไปถึงกฎเลยนะประเด็นนี้
 


ด้านล่างยาวหน่อยนะครับ เป็นคำอธิบาย หลักๆก็คือเรื่องนี้มันเป็นปัญหาที่พันกันระหว่างวงการกีฬา การเมืองระหว่างประเทศ และกฎหมายท้องถิ่น(กฎหมายของประเทศ) ตัวละครแต่ละด้านก็เลยออกมาหน้าเวทีกันหมด แยกกันไม่ออก

ฟีฟ่ามีนโยบายเรื่องสิทธิมนุษยชนว่าจะเคารพหลักการปฏิญญาสากลด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่ไทยก็ยอมรับ (นึกภาพว่าฟีฟ่าเกาะกับกฎหมายระหว่างประเทศตัวใหญ่ที่ไทยก็ลงนาม ฟีฟ่าเล็กกว่า แต่เกาะกับกฎหมายที่ใหญ่กว่า เลยต้องทำตามอันที่ใหญ่กว่าตามข้อบังคับที่ตัวเองออกมาเกาะกับเขา) ก็เลยต้องออกมาแสดงจุดยืนแบบนี้ เพราะการกักตัวนักฟุตบอล (นี่คือหนึ่งในเหตุผลที่ฟีฟ่าใช้ เขาเคยเป็นทีมชาติด้วย และยังเป็นนักบอลอยู่ ถ้ากลับไปบาห์เรนแล้วตาย ฟีฟ่าก็ต้องแบกหน้ารับคำด่าถ้าไม่ได้ออกมาพูดอะไรเสียบ้าง ซึ่งเสี่ยงที่กระแสลบจะลามไปเรื่องอื่น โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ) โดยที่หมายตำรวจสากลไม่มีผลแล้วก็เท่ากับไม่มีพันธะอะไรไปกักเขานอกจากกฎหมายท้องถิ่น (พรบ ผุ้ร้ายข้ามแดนของไทย) ส่วนกฎหมายบาห์เรนก็เหมือนกฎหมายประเทศอื่นๆ ที่มีอำนาจบังคับใช้จริงๆ แค่ในดินแดนตัวเองเท่านั้นครับ

ทีนี้ ถ้าบาห์เรนขอส่งตัวฮาคีมกลับ ก็เป็นอำนาจของไทยที่จะตัดสินใจว่าจะส่งหรือไม่ส่ง เช่นเดียวกันกับการส่งตัวฮาคีมกลับออสเตรเลีย ทั้งสองทางเลือกมีเหตุผลรองรับอยู่ในทางหลักการ (ฝั่งออสคือเรื่องสิทธิมนุษยชน ฝั่งบาห์เรนก็คือกิจการระหว่างประเทศทั่วไป ที่ท้ายที่สุดคนตัดสินใจก็คือ "รัฐ" กฎหมายระหว่างประเทศมันไม่มีผลบังคับใช้ครับ แต่ละรัฐบังคับกันเอง ดังนั้นไม่ทำก็ได้ แต่มันก็มีผลที่จะตามมาถ้ารัฐอื่นจะมีมาตรการตอบโต้เรา ยกตัวอย่างเช่น จีนไม่ทำตามคำตัดสินศาลโลกเรื่องการครอบครองพื้นที่ทะเลจีนใต้ จีนก็อยู่ได้ แต่เพื่อนก็อาจจะน้อยหน่อย เพราะมีความเห็นเรื่องพื้นที่ไม่ตรงกัน โดยเฉพาะกับสหรัฐฯ และเวียดนาม ก็จะหมางๆ กันหน่อย ไม่ละเอียดนะครับอันนี้ยกตัวอย่าง)

แต่เนื่องจากสถานะผู้ร้ายของฮาคีมในทางระหว่างประเทศมันไม่ถูกยอมรับ หน้าที่ของไทยในการตอบสนองต่อกฎหมายบาห์เรน กับหน้าที่การตอบสนองต่อกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนมันก็จะเบลอๆ หน่อย เราๆท่านๆมีข้อมูลเบื้องหลังกันเท่านี้ คงตัดสินใจลำบากว่าทางไหนจะดีกว่า ดีดลูกคิดออกมาอันไหนจะคุ้ม ความเห็นก็จะออกมาหลากหลาย เป็นเรื่องธรรมดาที่เรื่องการเมืองจะไม่มีคำตอบตายตัว เงื่อนไขเปลี่ยน คำตอบก็อาจจะเปลี่ยน (แต่ผมว่าความเห็นท่านเรื่องบาห์เรนอาจจะเลือกไม่ส่งหมายมา แล้วให้ขังจนหมดเวลาแล้วเอากลับนี่น่าสนใจครับ มีเหตุผลในทางการทูตอยู่ มันฟังดูน่าเศร้าตรงที่ฮาคีมกลายเป็นหมากเพื่อแก้เกี้ยวกันในทางการเมืองนี่แหละครับ ชื่อเสียงไทยก็คงจะเสียหาย ว่าไม่ใช่ที่ๆ ปลอดภัยสำหรับผู้ลี้ภัย ตำรวจสากลก็คงโดนด่าว่าทำไมไม่อัพเดทฐานข้อมูลเลยฟะ การเมืองระหว่างประเทศมันอยู่ที่ความน่าเชื่อถืออ่ะครับ แบบนี้มีแต่ผลทางลบ)

ทีนี้ กระบวนการในประเทศจะเป็นอย่างนี้ครับ ถ้าบาห์เรนส่งหมายขอตัวมา ทนายฮาคีมก็จะเอาเรื่องนี้ไปเข้ากระบวนการทำคำคัดค้าน เรื่องจะไปเข้าศาลอาญา ซึ่งผู้พิพากษาก็จะเป็นคนพิจารณาตามข้อมูลว่าการเรียกกลับเหมาะสมไหม การเอาคนกลับไปถ้ามั่นใจว่ากลับไปจะเจอทรมาน ไม่เป็นธรรม ก็อาจจะตัดสินให้กลับออสเตรเลีย ทั้งหมดนี้มันเป็นเรื่องข้อมูล หลักฐานในชั้นศาล และอีกทางหนึ่งก็คือปฏิกิริยานอกศาลครับ พวกนานาชาติที่อยากให้ฮาคีมกลับออสเตรเลียเลยพยายามเรียกร้อง ส่งเสียง (สังเกตดูนะครับ ตามหน้าข่าวไม่มีองค์กรไหนมาเรียกร้องให้ส่งฮาคีมกลับบาห์เรนเลย)

แต่อย่างที่ผมบอกว่าสุดท้ายรัฐเป็นคนตัดสินใจ เรื่องเกิดขึ้นในไทย ไทยจึงแบกภาระเรื่องนี้เอาไว้หนักหน่วง เรียกว่าเป็นตำบลกระสุนตกเลยครับ

ส่วนความเห็นผมก็คือ ควรเอาเขากลับออสเตรเลียไปเลยครับ ตอนนี้กระแสดูไม่มีใครเข้าข้างบาห์เรนในทางการทูตแบบรัฐต่อรัฐ อมเขาเอาไว้มีแต่โดนด่า แต่ในระดับสมาคมฟุตบอลภูมิภาค ตอนนี้ชีคบาห์เรนเป็นประธาน AFC (ไอ้คนที่ฮาคีมวิจารณ์นี่แหละ) และถ้าจำไม่ผิด เด่วจะมีเลือกตั้งประธาน AFC ซึ่งสมยศของพวกเราก็คงเป็นแคนดิเดต ผมไม่รู้ว่ามีดีลเบื้องหลังหรือเปล่า คือหลักการสิทธิมนุษยชนเนี่ย ถ้ายอมรับและทำตาม คนคงกลัวว่าจะนำมาสู่การเปิดเผยอะไรไม่ดีหลายๆ อย่าง แบบอีตาฮาคีมนี่ ถ้าปล่อยกลับอาจจะไปพูดอะไรอีกเยอะแยะ (ไม่พูดเองสื่อก็คงเอาไมค์ไปจ่อปากถาม) ก็ไม่รู้ว่านี่เป็นเรื่องที่พวกเขากังวลกันหรือเปล่า
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status: You Can't Buy Class.
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 119
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Jan 26, 2019 13:28
[RE: แข้งบาห์เรนลี้ภัยที่ถูกจับในไทย กับบททดสอบมนุษยธรรมในวงการฟุตบอล]
iydeverthing พิมพ์ว่า:
เรื่องนี้น่าจะเป็นเรื่องของการฑูตล้วนๆนะครับ FIFA ไม่น่ามีผลกับการตัดสินใจของไทยเลย

แล้วการฑูตไทยก็เก่งมากอยู่แล้วด้วย ผมว่าเขาน่าจะหาวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุดได้อยู่แล้ว  


การทูตไทยถนัดแทงกั๊กครับ ไม่น่ามีปล่อยตัวก่อนกำหนด คงรอเรื่องซาๆไปเอง
ส่วนพีฟ่าก็ทำตามหน้าที่ครับ นโยบายด้านสิทธิมนุษยชน เด่วเขาจะหาว่าดีแต่พูด เพราะไม่งั้นในอนาคตมีกรณีพวกนี้อีก ความน่าเชื่อถือมันจะน้อยลง ฟีฟ่าตั้งแต่โดนเรื่องคอร์รัปชั่นในองค์กรก็พยายามปรับปรุงตัวเอง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะท้ายซอย
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 10 Apr 2015
ตอบ: 787
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Jan 26, 2019 20:01
[RE: แข้งบาห์เรนลี้ภัยที่ถูกจับในไทย กับบททดสอบมนุษยธรรมในวงการฟุตบอล]
worker005 พิมพ์ว่า:
namlang15 พิมพ์ว่า:
worker005 พิมพ์ว่า:
namlang15 พิมพ์ว่า:
ผมว่าเรากลืนไม่เข้าคลายไม่ออกนะ มันไม่ได้ง่ายขนาดนั้นว่าถ้าจะส่งกลับออสแล้วเรื่องจบ
ถ้าส่งกลับไปออสก็อาจขุ่นเคืองกับบาห์เรนได้และตำรวจสากลได้นะ
การส่งกลับออสไม่เท่ากับเราไม่เคารพกฎหมายของบาห์เรนหรอ !!

แล้วออสกับฟีฟ่าเอาไรมากดดันเรา นี่เขาเข้ามาในเขตอำนาจอธิปไตยของเราเองนะ
เรามีอำนาจอธิปไตยเหนือเขตแดนของเรา ทำไมเราต้องยอมด้วยล่ะ
เมื่อบุคคลผู้นี้มีหมายจากตำรวจสากล เขาได้รับความคุ้มครองในออสเตรเลียแต่ไม่ได้รับความคุ้มครองในไทย
และสนธิสัญญาระหว่างประเทศเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดนหลักของมันเป็นเสมือนการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
คิดดูถ้าต่อไปมีผู้ร้ายที่เราต้องการตัวลี้ภัยเข้าไปอยู่ในบาห์เรนบ้างล่ะ
ถ้าครั้งนี้เมื่อเขาเข้ามาแล้วถ้าเราไม่ทำอะไรสากลโลกเขาจะมองเรายังไง

ส่วนไอ้หมายแดงสิ้นผลเพราะออสให้การรับรองสถานะผู้ลี้ภัยก็เถอะ อันนี้ผมไม่รู้นะ
แต่ฟังดูเหมือนไอ้สถานะผู้ลี้ภัยของออสมันเหนือกว่าสนธิสัญญาระหว่างประเทศเชียวหรือ
ผมว่าทางที่ดีรอให้ครบกำหนดเวลาแล้วบาห์เรนไม่ส่งหมายมาขอตัวผู้ร้ายข้ามแดนแล้วเราค่อยส่งกลับไปออสน่าจะดีที่สุด ถนอมน้ำใจทั้งสองฝ่าย (ส่วนนักบอลคนนี้ต้องรับเคราะห์โดนขังต่อหน่อย ผมมองว่าเรื่องประเทศสำคัญกว่าตัวบุคคล)
มิเช่นนั้นก็ปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการระหว่างประเทศตามปกติเถอะ อย่าได้มากดดันกัน

แล้วถ้าฟีฟ่าจะคว่ำบาตรเราเพราะเรื่องนี้นะแม่งโคตรทุเรศเลยบอกตรงๆ
ผมมองว่ามันเป็นเรื่องของผู้ลี้ภัยซึ่งคือบุคคลธรรมดาคนนึง (แม้จะเคยเป็นนักฟุตบอล)
ฟีฟ่าจะเอาเรื่องของฟุตบอลมากดดันให้เราปล่อยตัวผู้ลี้ภัยในความผิดซึ่งกรณีไม่ได้เกี่ยวอะไรกับฟุตบอลได้ยังไง
อย่างงี้คนๆนี้มันไม่อภิสิทธิ์ชนไปหน่อยหรอ มันไม่เอนเอียงถือหางกันหรอ ลองคิดกันดู


edit เป็นความเห็นนะครับ ไม่ได้บอกว่าที่เขียนมาทั้งหมดถูกต้อง
แต่สิ่งที่อยากจะพูดหลักๆเลยคือฟีฟ่าไม่น่าเข้ามาเกี่ยวข้อง  


ดีใจที่ได้คุยเรื่องการเมืองระหว่างประเทศครับ
ยาวหน่อยนะครับ อันนี้คือข้อมูลที่ผมมี พูดคุยแลกเปลี่ยนได้ครับ

ถูกครับ ตอนนี้เขาอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยเรา ทีนี้เมื่อออสเตรเลียคุ้มครองเขาในฐานะผู้ลี้ภัยแล้ว มันก็เป็นอำนาจอธิปไตยของเขาที่จะต้องแสดงออกซึ่งการคุ้มครอง (ไม่งั้นก็คุ้มครองแค่ลมปากดิใช่มะ) ฟีฟ่าเองก็มีข้อบังคับเรื่องสิทธิมนุษยชน (ไทยก็ลงนามในคำประกาศสิทธิมนุษยชนสากล ซึ่งตามกฎหมายระหว่างประเทศ ไทยมีหน้าที่ต้องทำตามครับ และเรื่องการไม่ส่งตัวคนกลับไปเผชิญอันตรายก็เป็นหนึ่งในหน้าที่ที่ไทยผูกพันในอนุสัญญาต้านการซ้อมทรมาน) แต่ละฝ่ายมันมีบทบาทที่ต้องออกมาแสดงการกดดัน เพราะไอ้กฎหมายที่ไม่ใช่กฎหมายในประเทศเนี่ย อำนาจบังคับใช้มันไม่มีถ้าไม่เคารพกันเสียเอง

ไทยกับบาห์เรนไม่มีสัญญาทวิภาคีส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนครับ กระทรวงการต่างประเทศไทยให้ข้อมูลไว้ในนี้ http://mfa.go.th/main/th/news3/6886/97217-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2-Hakeem-Ali-Mohamed-Ali-Al-Oraibi.html (ฝังลิงค์ยังไงวะเนี่ย รกมาก)

มีเพียงหมายแดงของอินเตอร์โปล ซึ่งไม่ใช่รัฐ ไม่มีกองกำลังและประชาชนเป็นของตัวเอง ไม่มีอำนาจบังคับ และการขอตัวฮาคีมจากไทยเมื่อ 27 พ.ย. โดยทางการบาห์เรน (ที่ยังไม่มีเอกสารส่งมาจนถึงทุกวันนี้ นำมาซึ่งการฝากขังตามกระบวนการ พรบ ผู้ร้ายข้ามแดนของไทย) แปลว่าตอนนี้บาห์เรนและออสเตรเลียไม่มีสิทธิพิเศษมากไปกว่าใครครับ และในทางหลักการเราไม่มีหน้าที่ต้องไปเคารพกฎหมายประเทศอื่นบนดินแดนของเรา ก็ต้องไปพิจารณาว่าเรามีสัมพันธ์ทางการทูตที่ดีกว่ากับใคร ผมเห็นด้วยนะครับว่าการตัดสินใจรอบนี้กระทบความสัมพันธ์ทางการทูตของสักฝั่งใดฝั่งหนึ่งแน่ แต่การเมืองระหว่างประเทศมันก็แบบนี้ครับ ทางการทูตก็ต้องผสานประโยชน์กันไป ทางการเมืองก็ดีดลูกคิดเอาว่าแทงข้างไหนแล้วจะได้ประโยชน์ดีสุด ผมสงสัยมากว่าถ้าพวกประเทศพัฒนาแล้วสนับสนุนการส่งตัวกลับออสเตรเลีย แล้วไทยไปเคารพกฎหมายบาห์เรน ส่งตัวเขากลับไปติดคุกที่นั่น ดีดลูกคิดยังไงมันจะคุ้ม เพราะไอ้พฤติกรรมแบบต่างตอบแทนเนี่ย มันเกิดได้กับทั้งบาห์เรน-ไทย และออสเตรเลีย-ไทย จะพิจารณาแต่ไอ้ทางบาห์เรนข้างเดียวก็ไม่ได้

สถานะผู้ลี้ภัยที่ออสเตรเลีย ที่เคยได้ยินมามันขอกันยากอ่ะครับ (ที่ไหนก็ยาก กระบวนการขอสถานะผู้ลี้ภัยที่ UNHCR ในเมืองไทยใช้เวลานับหลักกันเป็นปีครับ ถ้าไม่ติดอะไรก็ 1-3 ปี ถ้าติดก็ยาวไปเลย) นั่นสะท้อนว่าออสเตรเลียมั่นใจแล้วว่าไอ้หนุ่มนี่หนีภัยอันตรายมาแน่ๆ ข้อมูลจากองค์กรสิทธิก็บอกว่าเขาโดนทรมานมาก่อน โดนยัดข้อหาว่าไปทำลายโรงพัก ทั้งๆ ที่ตอนนั้นตัวเองแข่งฟุตบอลถ่ายทอดสดทางทีวีอยู่แท้ๆ โอเคแหละ อันนี้เถียงได้ว่าการรับผู้ลี้ภัยมันมีการเมืองในนั้นอยู่ แต่ข้อมูลมีเท่านี้ครับ แหะๆ

ทีนี้ใหญ่กว่าสนธิสัญญาไหม ไทยกับบาห์เรนไม่มีสัญญาผู้ร้ายข้ามแดน แต่จารีตระหว่างประเทศที่ทำกันก็คือ รัฐจะไม่ส่งคนที่หนีภัยมา กลับไปเผชิญอันตรายที่เขาหนีมาแล้ว (Non-Refoulement) ซึ่งอันนี้เป็นกฎหมายระหว่างประเทศที่ถ้าจะทำก็ทำได้ครับ

ความเห็นคุณเรื่องรอให้เขาไม่ส่งใบเรียกตัวมามันก็อาจจะเกิดขึ้นครับ บาห์เรนก็อาจจะแก้เกี้ยว เห็นคนค้านเยอะก็คงทำเมินๆ ไม่ส่งไป ให้ไอ้หนุ่มนี่ติดคุกสักสองเดือนแล้วก็กลับออสไป เรื่องพวกนี้ไม่หลุดมาให้เราได้ยินแน่ๆ และมันไม่ได้อยู่ในพิสัยที่เราท่านจะทำอะไรได้ แต่ถ้าเรื่องจบแบบนั้น ไอ้ที่ไทยไปสัญญาเอาไว้ในเวทีโลกก็เป็นลมปากเฉยๆ การทูตบ้านเราถนัดแทงกั๊กแบบนั้นอยู่แล้ว และมีแนวโน้มว่าจะเป็นแบบนั้น รักษาความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย ออสคงมีเคืองหน่อยๆ แต่ก็ไม่ได้ถูกส่งกลับนี่ ก็ยังโอเคบ้าง บาห์เรนก็ไม่ได้เสียหน้า

edit: เขายังเป็นนักฟุตบอลที่ลีคออสเตรเลียครับ เล่นแบ๊คขวาที่สโมสร Pasco Vale FC

 


โอ้วขอบคุณครับ
ถ้าข้อเท็จจริงเป็นไปตามนั้นในส่วนทางปฏิบัติตามกฎหมายผมก็คิดว่าชัดเจนดังที่ท่านว่านะครับ เพราะผมเองเพิ่งรู้เรื่องนี้จากโพสท่านกับลิงค์ข่าวในเว็บนี้นี่เอง
ยิ่งถ้าข้อมูลจากองค์กรสิทธิก็บอกว่าเขาโดนทรมานมาก่อน โดนยัดข้อหาว่าไปทำลายโรงพัก ทั้งที่ตอนนั้นตัวเองแข่งฟุตบอลถ่ายทอดสดทางทีวีผมจะไม่เถียงในส่วนนี้ ถ้าขอเท็จจริงเป็นไปตามนี้ผมคิดว่าท่านมีเหตุผลที่ดีกว่า

แล้วในส่วนทางปฏิบัติ ส่วนที่เป็นความเห็นท่านว่าควรแก้อย่างไร ในส่วนนี้ท่านเห็นว่าหลักคือควรคำนึงความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย แต่ถ้าต้องเลือกควรเอนไปทางออสเตรเลีย ผมเข้าใจถูกไม๊ครับ
ส่วนนี้ขอถามแลกเปลี่ยนเป็นความรู้เฉยๆครับ



แต่ที่ผมพูดมายืดยาวในคอมเม้นก่อนเพราะต้องการท้าวความในส่วนนี้มากกว่าครับ
คือเรื่องจดหมายของฟีฟ่า ผมยังคิดว่าไม่น่าเข้ามาเกี่ยวข้องนะครับ
เพราะกรณีไม่เกี่ยวกับฟุตบอลเลย หรือหากว่ามีกฎของทางฟีฟ่าแล้วทางเราได้ลงนาม
แต่กฎฟีฟ่าก็ไม่ใช่หรือไม่ได้มีศักดิ์เทียบเท่ากฎหมายที่เราต้องปฏิบัติตามโดยการให้ความสำคัญเสมอกฎหมาย (แต่ กม.ระหว่างประเทศรากมันจริงๆก็เป็นเพียงจารีตประเพณีระหว่างประเทศที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาเนอะ ถ้าระหว่างประเทศใดไม่มีตัวสัญญามันก็ไม่มีตัวบทกฎหมายจริงๆ แต่ผมคิดว่ามันน่าจะใหญ่กว่ากฎฟีฟ่าที่เราลงนามอยู่ดี ไม่แน่ใจผมเข้าใจถูกไม๊ครับอันนี้ ?? แฮ่ )
ทีนี้ด้วยผมเห็นว่ากรณีตามข้อกล่าวหาไม่ใช่ความผิดเกี่ยวกับฟุตบอล แล้วเช่นนี้ทำไมฟีฟ่าถึงเลือกที่จะเชื่อว่าสิทธิมนุษยชนในการช่วยเหลือคนๆนี้เหนือกว่ากฎหมายภายในหรือกระบวนการยุติธรรมของประเทศบาห์เรนที่พิพากษาว่าคนๆนี้มีความผิด
นั่นไม่เท่ากับว่าฟีฟ่าเอาตัวเองเข้ามาเกี่ยวโดยเลือกถือหางข้างนี้หรอครับ
(กรณีนี้ผมเห็นว่าฟีฟ่าฟังว่านักบอลคนนี้ไม่ผิด หรือแม้จะผิดแต่ได้รับความคุ้มครองโดยออสเตรเลีย ฟีฟ่าจึงส่งจดหมายมากดดันเรา ผมคิดว่าฟีฟ่าถือหางข้างนี้แล้ว) อย่างนี้ไม่ก็เท่ากับว่าฟีฟ่าเอาตัวเองเข้ามีส่วนเกี่ยวข้อง ชี้นำ หรือตัดสินปัญหาซึ่งน่าจะเป็นปัญหาทางการเมืองหรอครับ
แล้วฟีฟ่ามีอำนาจอะไรในการออกความเห็นเช่นนี้ แม้จะบอกว่าคนๆนี้เป็นนักฟุตบอลก็เถอะ มันมีน้ำหนักขนาดนั้นเลยหรอที่ฟีฟ่าต้องยื่นมือเข้ามา
แล้วถ้าจะคว่ำบาตรเราในทางฟุตบอลเพราะถ้าหากรัฐบาลเราไม่ปฎิบัติตามคำขอของออสเตรเลียขึ้นมาจริงๆนี่มันสมเหตุสมผลหรอครับ
หรือถ้าจะตอบว่ากฎฟีฟ่าเขียนไว้อย่างนี้แล้วเราลงนามเอง อันนี้ผมพาลไปถึงกฎเลยนะประเด็นนี้
 


ด้านล่างยาวหน่อยนะครับ เป็นคำอธิบาย หลักๆก็คือเรื่องนี้มันเป็นปัญหาที่พันกันระหว่างวงการกีฬา การเมืองระหว่างประเทศ และกฎหมายท้องถิ่น(กฎหมายของประเทศ) ตัวละครแต่ละด้านก็เลยออกมาหน้าเวทีกันหมด แยกกันไม่ออก

ฟีฟ่ามีนโยบายเรื่องสิทธิมนุษยชนว่าจะเคารพหลักการปฏิญญาสากลด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่ไทยก็ยอมรับ (นึกภาพว่าฟีฟ่าเกาะกับกฎหมายระหว่างประเทศตัวใหญ่ที่ไทยก็ลงนาม ฟีฟ่าเล็กกว่า แต่เกาะกับกฎหมายที่ใหญ่กว่า เลยต้องทำตามอันที่ใหญ่กว่าตามข้อบังคับที่ตัวเองออกมาเกาะกับเขา) ก็เลยต้องออกมาแสดงจุดยืนแบบนี้ เพราะการกักตัวนักฟุตบอล (นี่คือหนึ่งในเหตุผลที่ฟีฟ่าใช้ เขาเคยเป็นทีมชาติด้วย และยังเป็นนักบอลอยู่ ถ้ากลับไปบาห์เรนแล้วตาย ฟีฟ่าก็ต้องแบกหน้ารับคำด่าถ้าไม่ได้ออกมาพูดอะไรเสียบ้าง ซึ่งเสี่ยงที่กระแสลบจะลามไปเรื่องอื่น โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ) โดยที่หมายตำรวจสากลไม่มีผลแล้วก็เท่ากับไม่มีพันธะอะไรไปกักเขานอกจากกฎหมายท้องถิ่น (พรบ ผุ้ร้ายข้ามแดนของไทย) ส่วนกฎหมายบาห์เรนก็เหมือนกฎหมายประเทศอื่นๆ ที่มีอำนาจบังคับใช้จริงๆ แค่ในดินแดนตัวเองเท่านั้นครับ

ทีนี้ ถ้าบาห์เรนขอส่งตัวฮาคีมกลับ ก็เป็นอำนาจของไทยที่จะตัดสินใจว่าจะส่งหรือไม่ส่ง เช่นเดียวกันกับการส่งตัวฮาคีมกลับออสเตรเลีย ทั้งสองทางเลือกมีเหตุผลรองรับอยู่ในทางหลักการ (ฝั่งออสคือเรื่องสิทธิมนุษยชน ฝั่งบาห์เรนก็คือกิจการระหว่างประเทศทั่วไป ที่ท้ายที่สุดคนตัดสินใจก็คือ "รัฐ" กฎหมายระหว่างประเทศมันไม่มีผลบังคับใช้ครับ แต่ละรัฐบังคับกันเอง ดังนั้นไม่ทำก็ได้ แต่มันก็มีผลที่จะตามมาถ้ารัฐอื่นจะมีมาตรการตอบโต้เรา ยกตัวอย่างเช่น จีนไม่ทำตามคำตัดสินศาลโลกเรื่องการครอบครองพื้นที่ทะเลจีนใต้ จีนก็อยู่ได้ แต่เพื่อนก็อาจจะน้อยหน่อย เพราะมีความเห็นเรื่องพื้นที่ไม่ตรงกัน โดยเฉพาะกับสหรัฐฯ และเวียดนาม ก็จะหมางๆ กันหน่อย ไม่ละเอียดนะครับอันนี้ยกตัวอย่าง)

แต่เนื่องจากสถานะผู้ร้ายของฮาคีมในทางระหว่างประเทศมันไม่ถูกยอมรับ หน้าที่ของไทยในการตอบสนองต่อกฎหมายบาห์เรน กับหน้าที่การตอบสนองต่อกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนมันก็จะเบลอๆ หน่อย เราๆท่านๆมีข้อมูลเบื้องหลังกันเท่านี้ คงตัดสินใจลำบากว่าทางไหนจะดีกว่า ดีดลูกคิดออกมาอันไหนจะคุ้ม ความเห็นก็จะออกมาหลากหลาย เป็นเรื่องธรรมดาที่เรื่องการเมืองจะไม่มีคำตอบตายตัว เงื่อนไขเปลี่ยน คำตอบก็อาจจะเปลี่ยน (แต่ผมว่าความเห็นท่านเรื่องบาห์เรนอาจจะเลือกไม่ส่งหมายมา แล้วให้ขังจนหมดเวลาแล้วเอากลับนี่น่าสนใจครับ มีเหตุผลในทางการทูตอยู่ มันฟังดูน่าเศร้าตรงที่ฮาคีมกลายเป็นหมากเพื่อแก้เกี้ยวกันในทางการเมืองนี่แหละครับ ชื่อเสียงไทยก็คงจะเสียหาย ว่าไม่ใช่ที่ๆ ปลอดภัยสำหรับผู้ลี้ภัย ตำรวจสากลก็คงโดนด่าว่าทำไมไม่อัพเดทฐานข้อมูลเลยฟะ การเมืองระหว่างประเทศมันอยู่ที่ความน่าเชื่อถืออ่ะครับ แบบนี้มีแต่ผลทางลบ)

ทีนี้ กระบวนการในประเทศจะเป็นอย่างนี้ครับ ถ้าบาห์เรนส่งหมายขอตัวมา ทนายฮาคีมก็จะเอาเรื่องนี้ไปเข้ากระบวนการทำคำคัดค้าน เรื่องจะไปเข้าศาลอาญา ซึ่งผู้พิพากษาก็จะเป็นคนพิจารณาตามข้อมูลว่าการเรียกกลับเหมาะสมไหม การเอาคนกลับไปถ้ามั่นใจว่ากลับไปจะเจอทรมาน ไม่เป็นธรรม ก็อาจจะตัดสินให้กลับออสเตรเลีย ทั้งหมดนี้มันเป็นเรื่องข้อมูล หลักฐานในชั้นศาล และอีกทางหนึ่งก็คือปฏิกิริยานอกศาลครับ พวกนานาชาติที่อยากให้ฮาคีมกลับออสเตรเลียเลยพยายามเรียกร้อง ส่งเสียง (สังเกตดูนะครับ ตามหน้าข่าวไม่มีองค์กรไหนมาเรียกร้องให้ส่งฮาคีมกลับบาห์เรนเลย)

แต่อย่างที่ผมบอกว่าสุดท้ายรัฐเป็นคนตัดสินใจ เรื่องเกิดขึ้นในไทย ไทยจึงแบกภาระเรื่องนี้เอาไว้หนักหน่วง เรียกว่าเป็นตำบลกระสุนตกเลยครับ

ส่วนความเห็นผมก็คือ ควรเอาเขากลับออสเตรเลียไปเลยครับ ตอนนี้กระแสดูไม่มีใครเข้าข้างบาห์เรนในทางการทูตแบบรัฐต่อรัฐ อมเขาเอาไว้มีแต่โดนด่า แต่ในระดับสมาคมฟุตบอลภูมิภาค ตอนนี้ชีคบาห์เรนเป็นประธาน AFC (ไอ้คนที่ฮาคีมวิจารณ์นี่แหละ) และถ้าจำไม่ผิด เด่วจะมีเลือกตั้งประธาน AFC ซึ่งสมยศของพวกเราก็คงเป็นแคนดิเดต ผมไม่รู้ว่ามีดีลเบื้องหลังหรือเปล่า คือหลักการสิทธิมนุษยชนเนี่ย ถ้ายอมรับและทำตาม คนคงกลัวว่าจะนำมาสู่การเปิดเผยอะไรไม่ดีหลายๆ อย่าง แบบอีตาฮาคีมนี่ ถ้าปล่อยกลับอาจจะไปพูดอะไรอีกเยอะแยะ (ไม่พูดเองสื่อก็คงเอาไมค์ไปจ่อปากถาม) ก็ไม่รู้ว่านี่เป็นเรื่องที่พวกเขากังวลกันหรือเปล่า  



ทีนี้ถ้าตัดผ่านตรงนี้ไป แต่สมมติว่าผลออกมาไทยไม่ส่งฮาคีมกลับออสเตรเลีย
แล้วปรากฏฟีฟ่ามีบทลงโทษอย่างใดอย่างหนึ่งต่อฟุตบอลไทย ท่านคิดว่าการกระทำของฟีฟ่าเป็นการสมควรและถูกต้องไหมครับ ??
(ขอไม่เอาคำตอบว่าถ้าเขาจะลงโทษก็ลงได้นะครับ เพราะมันลงได้อยู่แล้วในเมื่อกฎมันมีเขียนไว้ แต่ขอแบบเป็นความเห็นของท่านเลย)

1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status: You Can't Buy Class.
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 119
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sun Jan 27, 2019 00:15
[RE: แข้งบาห์เรนลี้ภัยที่ถูกจับในไทย กับบททดสอบมนุษยธรรมในวงการฟุตบอล]
namlang15 พิมพ์ว่า:
worker005 พิมพ์ว่า:
namlang15 พิมพ์ว่า:
worker005 พิมพ์ว่า:
namlang15 พิมพ์ว่า:
ผมว่าเรากลืนไม่เข้าคลายไม่ออกนะ มันไม่ได้ง่ายขนาดนั้นว่าถ้าจะส่งกลับออสแล้วเรื่องจบ
ถ้าส่งกลับไปออสก็อาจขุ่นเคืองกับบาห์เรนได้และตำรวจสากลได้นะ
การส่งกลับออสไม่เท่ากับเราไม่เคารพกฎหมายของบาห์เรนหรอ !!

แล้วออสกับฟีฟ่าเอาไรมากดดันเรา นี่เขาเข้ามาในเขตอำนาจอธิปไตยของเราเองนะ
เรามีอำนาจอธิปไตยเหนือเขตแดนของเรา ทำไมเราต้องยอมด้วยล่ะ
เมื่อบุคคลผู้นี้มีหมายจากตำรวจสากล เขาได้รับความคุ้มครองในออสเตรเลียแต่ไม่ได้รับความคุ้มครองในไทย
และสนธิสัญญาระหว่างประเทศเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดนหลักของมันเป็นเสมือนการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
คิดดูถ้าต่อไปมีผู้ร้ายที่เราต้องการตัวลี้ภัยเข้าไปอยู่ในบาห์เรนบ้างล่ะ
ถ้าครั้งนี้เมื่อเขาเข้ามาแล้วถ้าเราไม่ทำอะไรสากลโลกเขาจะมองเรายังไง

ส่วนไอ้หมายแดงสิ้นผลเพราะออสให้การรับรองสถานะผู้ลี้ภัยก็เถอะ อันนี้ผมไม่รู้นะ
แต่ฟังดูเหมือนไอ้สถานะผู้ลี้ภัยของออสมันเหนือกว่าสนธิสัญญาระหว่างประเทศเชียวหรือ
ผมว่าทางที่ดีรอให้ครบกำหนดเวลาแล้วบาห์เรนไม่ส่งหมายมาขอตัวผู้ร้ายข้ามแดนแล้วเราค่อยส่งกลับไปออสน่าจะดีที่สุด ถนอมน้ำใจทั้งสองฝ่าย (ส่วนนักบอลคนนี้ต้องรับเคราะห์โดนขังต่อหน่อย ผมมองว่าเรื่องประเทศสำคัญกว่าตัวบุคคล)
มิเช่นนั้นก็ปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการระหว่างประเทศตามปกติเถอะ อย่าได้มากดดันกัน

แล้วถ้าฟีฟ่าจะคว่ำบาตรเราเพราะเรื่องนี้นะแม่งโคตรทุเรศเลยบอกตรงๆ
ผมมองว่ามันเป็นเรื่องของผู้ลี้ภัยซึ่งคือบุคคลธรรมดาคนนึง (แม้จะเคยเป็นนักฟุตบอล)
ฟีฟ่าจะเอาเรื่องของฟุตบอลมากดดันให้เราปล่อยตัวผู้ลี้ภัยในความผิดซึ่งกรณีไม่ได้เกี่ยวอะไรกับฟุตบอลได้ยังไง
อย่างงี้คนๆนี้มันไม่อภิสิทธิ์ชนไปหน่อยหรอ มันไม่เอนเอียงถือหางกันหรอ ลองคิดกันดู


edit เป็นความเห็นนะครับ ไม่ได้บอกว่าที่เขียนมาทั้งหมดถูกต้อง
แต่สิ่งที่อยากจะพูดหลักๆเลยคือฟีฟ่าไม่น่าเข้ามาเกี่ยวข้อง  


ดีใจที่ได้คุยเรื่องการเมืองระหว่างประเทศครับ
ยาวหน่อยนะครับ อันนี้คือข้อมูลที่ผมมี พูดคุยแลกเปลี่ยนได้ครับ

ถูกครับ ตอนนี้เขาอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยเรา ทีนี้เมื่อออสเตรเลียคุ้มครองเขาในฐานะผู้ลี้ภัยแล้ว มันก็เป็นอำนาจอธิปไตยของเขาที่จะต้องแสดงออกซึ่งการคุ้มครอง (ไม่งั้นก็คุ้มครองแค่ลมปากดิใช่มะ) ฟีฟ่าเองก็มีข้อบังคับเรื่องสิทธิมนุษยชน (ไทยก็ลงนามในคำประกาศสิทธิมนุษยชนสากล ซึ่งตามกฎหมายระหว่างประเทศ ไทยมีหน้าที่ต้องทำตามครับ และเรื่องการไม่ส่งตัวคนกลับไปเผชิญอันตรายก็เป็นหนึ่งในหน้าที่ที่ไทยผูกพันในอนุสัญญาต้านการซ้อมทรมาน) แต่ละฝ่ายมันมีบทบาทที่ต้องออกมาแสดงการกดดัน เพราะไอ้กฎหมายที่ไม่ใช่กฎหมายในประเทศเนี่ย อำนาจบังคับใช้มันไม่มีถ้าไม่เคารพกันเสียเอง

ไทยกับบาห์เรนไม่มีสัญญาทวิภาคีส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนครับ กระทรวงการต่างประเทศไทยให้ข้อมูลไว้ในนี้ http://mfa.go.th/main/th/news3/6886/97217-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2-Hakeem-Ali-Mohamed-Ali-Al-Oraibi.html (ฝังลิงค์ยังไงวะเนี่ย รกมาก)

มีเพียงหมายแดงของอินเตอร์โปล ซึ่งไม่ใช่รัฐ ไม่มีกองกำลังและประชาชนเป็นของตัวเอง ไม่มีอำนาจบังคับ และการขอตัวฮาคีมจากไทยเมื่อ 27 พ.ย. โดยทางการบาห์เรน (ที่ยังไม่มีเอกสารส่งมาจนถึงทุกวันนี้ นำมาซึ่งการฝากขังตามกระบวนการ พรบ ผู้ร้ายข้ามแดนของไทย) แปลว่าตอนนี้บาห์เรนและออสเตรเลียไม่มีสิทธิพิเศษมากไปกว่าใครครับ และในทางหลักการเราไม่มีหน้าที่ต้องไปเคารพกฎหมายประเทศอื่นบนดินแดนของเรา ก็ต้องไปพิจารณาว่าเรามีสัมพันธ์ทางการทูตที่ดีกว่ากับใคร ผมเห็นด้วยนะครับว่าการตัดสินใจรอบนี้กระทบความสัมพันธ์ทางการทูตของสักฝั่งใดฝั่งหนึ่งแน่ แต่การเมืองระหว่างประเทศมันก็แบบนี้ครับ ทางการทูตก็ต้องผสานประโยชน์กันไป ทางการเมืองก็ดีดลูกคิดเอาว่าแทงข้างไหนแล้วจะได้ประโยชน์ดีสุด ผมสงสัยมากว่าถ้าพวกประเทศพัฒนาแล้วสนับสนุนการส่งตัวกลับออสเตรเลีย แล้วไทยไปเคารพกฎหมายบาห์เรน ส่งตัวเขากลับไปติดคุกที่นั่น ดีดลูกคิดยังไงมันจะคุ้ม เพราะไอ้พฤติกรรมแบบต่างตอบแทนเนี่ย มันเกิดได้กับทั้งบาห์เรน-ไทย และออสเตรเลีย-ไทย จะพิจารณาแต่ไอ้ทางบาห์เรนข้างเดียวก็ไม่ได้

สถานะผู้ลี้ภัยที่ออสเตรเลีย ที่เคยได้ยินมามันขอกันยากอ่ะครับ (ที่ไหนก็ยาก กระบวนการขอสถานะผู้ลี้ภัยที่ UNHCR ในเมืองไทยใช้เวลานับหลักกันเป็นปีครับ ถ้าไม่ติดอะไรก็ 1-3 ปี ถ้าติดก็ยาวไปเลย) นั่นสะท้อนว่าออสเตรเลียมั่นใจแล้วว่าไอ้หนุ่มนี่หนีภัยอันตรายมาแน่ๆ ข้อมูลจากองค์กรสิทธิก็บอกว่าเขาโดนทรมานมาก่อน โดนยัดข้อหาว่าไปทำลายโรงพัก ทั้งๆ ที่ตอนนั้นตัวเองแข่งฟุตบอลถ่ายทอดสดทางทีวีอยู่แท้ๆ โอเคแหละ อันนี้เถียงได้ว่าการรับผู้ลี้ภัยมันมีการเมืองในนั้นอยู่ แต่ข้อมูลมีเท่านี้ครับ แหะๆ

ทีนี้ใหญ่กว่าสนธิสัญญาไหม ไทยกับบาห์เรนไม่มีสัญญาผู้ร้ายข้ามแดน แต่จารีตระหว่างประเทศที่ทำกันก็คือ รัฐจะไม่ส่งคนที่หนีภัยมา กลับไปเผชิญอันตรายที่เขาหนีมาแล้ว (Non-Refoulement) ซึ่งอันนี้เป็นกฎหมายระหว่างประเทศที่ถ้าจะทำก็ทำได้ครับ

ความเห็นคุณเรื่องรอให้เขาไม่ส่งใบเรียกตัวมามันก็อาจจะเกิดขึ้นครับ บาห์เรนก็อาจจะแก้เกี้ยว เห็นคนค้านเยอะก็คงทำเมินๆ ไม่ส่งไป ให้ไอ้หนุ่มนี่ติดคุกสักสองเดือนแล้วก็กลับออสไป เรื่องพวกนี้ไม่หลุดมาให้เราได้ยินแน่ๆ และมันไม่ได้อยู่ในพิสัยที่เราท่านจะทำอะไรได้ แต่ถ้าเรื่องจบแบบนั้น ไอ้ที่ไทยไปสัญญาเอาไว้ในเวทีโลกก็เป็นลมปากเฉยๆ การทูตบ้านเราถนัดแทงกั๊กแบบนั้นอยู่แล้ว และมีแนวโน้มว่าจะเป็นแบบนั้น รักษาความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย ออสคงมีเคืองหน่อยๆ แต่ก็ไม่ได้ถูกส่งกลับนี่ ก็ยังโอเคบ้าง บาห์เรนก็ไม่ได้เสียหน้า

edit: เขายังเป็นนักฟุตบอลที่ลีคออสเตรเลียครับ เล่นแบ๊คขวาที่สโมสร Pasco Vale FC

 


โอ้วขอบคุณครับ
ถ้าข้อเท็จจริงเป็นไปตามนั้นในส่วนทางปฏิบัติตามกฎหมายผมก็คิดว่าชัดเจนดังที่ท่านว่านะครับ เพราะผมเองเพิ่งรู้เรื่องนี้จากโพสท่านกับลิงค์ข่าวในเว็บนี้นี่เอง
ยิ่งถ้าข้อมูลจากองค์กรสิทธิก็บอกว่าเขาโดนทรมานมาก่อน โดนยัดข้อหาว่าไปทำลายโรงพัก ทั้งที่ตอนนั้นตัวเองแข่งฟุตบอลถ่ายทอดสดทางทีวีผมจะไม่เถียงในส่วนนี้ ถ้าขอเท็จจริงเป็นไปตามนี้ผมคิดว่าท่านมีเหตุผลที่ดีกว่า

แล้วในส่วนทางปฏิบัติ ส่วนที่เป็นความเห็นท่านว่าควรแก้อย่างไร ในส่วนนี้ท่านเห็นว่าหลักคือควรคำนึงความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย แต่ถ้าต้องเลือกควรเอนไปทางออสเตรเลีย ผมเข้าใจถูกไม๊ครับ
ส่วนนี้ขอถามแลกเปลี่ยนเป็นความรู้เฉยๆครับ



แต่ที่ผมพูดมายืดยาวในคอมเม้นก่อนเพราะต้องการท้าวความในส่วนนี้มากกว่าครับ
คือเรื่องจดหมายของฟีฟ่า ผมยังคิดว่าไม่น่าเข้ามาเกี่ยวข้องนะครับ
เพราะกรณีไม่เกี่ยวกับฟุตบอลเลย หรือหากว่ามีกฎของทางฟีฟ่าแล้วทางเราได้ลงนาม
แต่กฎฟีฟ่าก็ไม่ใช่หรือไม่ได้มีศักดิ์เทียบเท่ากฎหมายที่เราต้องปฏิบัติตามโดยการให้ความสำคัญเสมอกฎหมาย (แต่ กม.ระหว่างประเทศรากมันจริงๆก็เป็นเพียงจารีตประเพณีระหว่างประเทศที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาเนอะ ถ้าระหว่างประเทศใดไม่มีตัวสัญญามันก็ไม่มีตัวบทกฎหมายจริงๆ แต่ผมคิดว่ามันน่าจะใหญ่กว่ากฎฟีฟ่าที่เราลงนามอยู่ดี ไม่แน่ใจผมเข้าใจถูกไม๊ครับอันนี้ ?? แฮ่ )
ทีนี้ด้วยผมเห็นว่ากรณีตามข้อกล่าวหาไม่ใช่ความผิดเกี่ยวกับฟุตบอล แล้วเช่นนี้ทำไมฟีฟ่าถึงเลือกที่จะเชื่อว่าสิทธิมนุษยชนในการช่วยเหลือคนๆนี้เหนือกว่ากฎหมายภายในหรือกระบวนการยุติธรรมของประเทศบาห์เรนที่พิพากษาว่าคนๆนี้มีความผิด
นั่นไม่เท่ากับว่าฟีฟ่าเอาตัวเองเข้ามาเกี่ยวโดยเลือกถือหางข้างนี้หรอครับ
(กรณีนี้ผมเห็นว่าฟีฟ่าฟังว่านักบอลคนนี้ไม่ผิด หรือแม้จะผิดแต่ได้รับความคุ้มครองโดยออสเตรเลีย ฟีฟ่าจึงส่งจดหมายมากดดันเรา ผมคิดว่าฟีฟ่าถือหางข้างนี้แล้ว) อย่างนี้ไม่ก็เท่ากับว่าฟีฟ่าเอาตัวเองเข้ามีส่วนเกี่ยวข้อง ชี้นำ หรือตัดสินปัญหาซึ่งน่าจะเป็นปัญหาทางการเมืองหรอครับ
แล้วฟีฟ่ามีอำนาจอะไรในการออกความเห็นเช่นนี้ แม้จะบอกว่าคนๆนี้เป็นนักฟุตบอลก็เถอะ มันมีน้ำหนักขนาดนั้นเลยหรอที่ฟีฟ่าต้องยื่นมือเข้ามา
แล้วถ้าจะคว่ำบาตรเราในทางฟุตบอลเพราะถ้าหากรัฐบาลเราไม่ปฎิบัติตามคำขอของออสเตรเลียขึ้นมาจริงๆนี่มันสมเหตุสมผลหรอครับ
หรือถ้าจะตอบว่ากฎฟีฟ่าเขียนไว้อย่างนี้แล้วเราลงนามเอง อันนี้ผมพาลไปถึงกฎเลยนะประเด็นนี้
 


ด้านล่างยาวหน่อยนะครับ เป็นคำอธิบาย หลักๆก็คือเรื่องนี้มันเป็นปัญหาที่พันกันระหว่างวงการกีฬา การเมืองระหว่างประเทศ และกฎหมายท้องถิ่น(กฎหมายของประเทศ) ตัวละครแต่ละด้านก็เลยออกมาหน้าเวทีกันหมด แยกกันไม่ออก

ฟีฟ่ามีนโยบายเรื่องสิทธิมนุษยชนว่าจะเคารพหลักการปฏิญญาสากลด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่ไทยก็ยอมรับ (นึกภาพว่าฟีฟ่าเกาะกับกฎหมายระหว่างประเทศตัวใหญ่ที่ไทยก็ลงนาม ฟีฟ่าเล็กกว่า แต่เกาะกับกฎหมายที่ใหญ่กว่า เลยต้องทำตามอันที่ใหญ่กว่าตามข้อบังคับที่ตัวเองออกมาเกาะกับเขา) ก็เลยต้องออกมาแสดงจุดยืนแบบนี้ เพราะการกักตัวนักฟุตบอล (นี่คือหนึ่งในเหตุผลที่ฟีฟ่าใช้ เขาเคยเป็นทีมชาติด้วย และยังเป็นนักบอลอยู่ ถ้ากลับไปบาห์เรนแล้วตาย ฟีฟ่าก็ต้องแบกหน้ารับคำด่าถ้าไม่ได้ออกมาพูดอะไรเสียบ้าง ซึ่งเสี่ยงที่กระแสลบจะลามไปเรื่องอื่น โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ) โดยที่หมายตำรวจสากลไม่มีผลแล้วก็เท่ากับไม่มีพันธะอะไรไปกักเขานอกจากกฎหมายท้องถิ่น (พรบ ผุ้ร้ายข้ามแดนของไทย) ส่วนกฎหมายบาห์เรนก็เหมือนกฎหมายประเทศอื่นๆ ที่มีอำนาจบังคับใช้จริงๆ แค่ในดินแดนตัวเองเท่านั้นครับ

ทีนี้ ถ้าบาห์เรนขอส่งตัวฮาคีมกลับ ก็เป็นอำนาจของไทยที่จะตัดสินใจว่าจะส่งหรือไม่ส่ง เช่นเดียวกันกับการส่งตัวฮาคีมกลับออสเตรเลีย ทั้งสองทางเลือกมีเหตุผลรองรับอยู่ในทางหลักการ (ฝั่งออสคือเรื่องสิทธิมนุษยชน ฝั่งบาห์เรนก็คือกิจการระหว่างประเทศทั่วไป ที่ท้ายที่สุดคนตัดสินใจก็คือ "รัฐ" กฎหมายระหว่างประเทศมันไม่มีผลบังคับใช้ครับ แต่ละรัฐบังคับกันเอง ดังนั้นไม่ทำก็ได้ แต่มันก็มีผลที่จะตามมาถ้ารัฐอื่นจะมีมาตรการตอบโต้เรา ยกตัวอย่างเช่น จีนไม่ทำตามคำตัดสินศาลโลกเรื่องการครอบครองพื้นที่ทะเลจีนใต้ จีนก็อยู่ได้ แต่เพื่อนก็อาจจะน้อยหน่อย เพราะมีความเห็นเรื่องพื้นที่ไม่ตรงกัน โดยเฉพาะกับสหรัฐฯ และเวียดนาม ก็จะหมางๆ กันหน่อย ไม่ละเอียดนะครับอันนี้ยกตัวอย่าง)

แต่เนื่องจากสถานะผู้ร้ายของฮาคีมในทางระหว่างประเทศมันไม่ถูกยอมรับ หน้าที่ของไทยในการตอบสนองต่อกฎหมายบาห์เรน กับหน้าที่การตอบสนองต่อกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนมันก็จะเบลอๆ หน่อย เราๆท่านๆมีข้อมูลเบื้องหลังกันเท่านี้ คงตัดสินใจลำบากว่าทางไหนจะดีกว่า ดีดลูกคิดออกมาอันไหนจะคุ้ม ความเห็นก็จะออกมาหลากหลาย เป็นเรื่องธรรมดาที่เรื่องการเมืองจะไม่มีคำตอบตายตัว เงื่อนไขเปลี่ยน คำตอบก็อาจจะเปลี่ยน (แต่ผมว่าความเห็นท่านเรื่องบาห์เรนอาจจะเลือกไม่ส่งหมายมา แล้วให้ขังจนหมดเวลาแล้วเอากลับนี่น่าสนใจครับ มีเหตุผลในทางการทูตอยู่ มันฟังดูน่าเศร้าตรงที่ฮาคีมกลายเป็นหมากเพื่อแก้เกี้ยวกันในทางการเมืองนี่แหละครับ ชื่อเสียงไทยก็คงจะเสียหาย ว่าไม่ใช่ที่ๆ ปลอดภัยสำหรับผู้ลี้ภัย ตำรวจสากลก็คงโดนด่าว่าทำไมไม่อัพเดทฐานข้อมูลเลยฟะ การเมืองระหว่างประเทศมันอยู่ที่ความน่าเชื่อถืออ่ะครับ แบบนี้มีแต่ผลทางลบ)

ทีนี้ กระบวนการในประเทศจะเป็นอย่างนี้ครับ ถ้าบาห์เรนส่งหมายขอตัวมา ทนายฮาคีมก็จะเอาเรื่องนี้ไปเข้ากระบวนการทำคำคัดค้าน เรื่องจะไปเข้าศาลอาญา ซึ่งผู้พิพากษาก็จะเป็นคนพิจารณาตามข้อมูลว่าการเรียกกลับเหมาะสมไหม การเอาคนกลับไปถ้ามั่นใจว่ากลับไปจะเจอทรมาน ไม่เป็นธรรม ก็อาจจะตัดสินให้กลับออสเตรเลีย ทั้งหมดนี้มันเป็นเรื่องข้อมูล หลักฐานในชั้นศาล และอีกทางหนึ่งก็คือปฏิกิริยานอกศาลครับ พวกนานาชาติที่อยากให้ฮาคีมกลับออสเตรเลียเลยพยายามเรียกร้อง ส่งเสียง (สังเกตดูนะครับ ตามหน้าข่าวไม่มีองค์กรไหนมาเรียกร้องให้ส่งฮาคีมกลับบาห์เรนเลย)

แต่อย่างที่ผมบอกว่าสุดท้ายรัฐเป็นคนตัดสินใจ เรื่องเกิดขึ้นในไทย ไทยจึงแบกภาระเรื่องนี้เอาไว้หนักหน่วง เรียกว่าเป็นตำบลกระสุนตกเลยครับ

ส่วนความเห็นผมก็คือ ควรเอาเขากลับออสเตรเลียไปเลยครับ ตอนนี้กระแสดูไม่มีใครเข้าข้างบาห์เรนในทางการทูตแบบรัฐต่อรัฐ อมเขาเอาไว้มีแต่โดนด่า แต่ในระดับสมาคมฟุตบอลภูมิภาค ตอนนี้ชีคบาห์เรนเป็นประธาน AFC (ไอ้คนที่ฮาคีมวิจารณ์นี่แหละ) และถ้าจำไม่ผิด เด่วจะมีเลือกตั้งประธาน AFC ซึ่งสมยศของพวกเราก็คงเป็นแคนดิเดต ผมไม่รู้ว่ามีดีลเบื้องหลังหรือเปล่า คือหลักการสิทธิมนุษยชนเนี่ย ถ้ายอมรับและทำตาม คนคงกลัวว่าจะนำมาสู่การเปิดเผยอะไรไม่ดีหลายๆ อย่าง แบบอีตาฮาคีมนี่ ถ้าปล่อยกลับอาจจะไปพูดอะไรอีกเยอะแยะ (ไม่พูดเองสื่อก็คงเอาไมค์ไปจ่อปากถาม) ก็ไม่รู้ว่านี่เป็นเรื่องที่พวกเขากังวลกันหรือเปล่า  



ทีนี้ถ้าตัดผ่านตรงนี้ไป แต่สมมติว่าผลออกมาไทยไม่ส่งฮาคีมกลับออสเตรเลีย
แล้วปรากฏฟีฟ่ามีบทลงโทษอย่างใดอย่างหนึ่งต่อฟุตบอลไทย ท่านคิดว่าการกระทำของฟีฟ่าเป็นการสมควรและถูกต้องไหมครับ ??
(ขอไม่เอาคำตอบว่าถ้าเขาจะลงโทษก็ลงได้นะครับ เพราะมันลงได้อยู่แล้วในเมื่อกฎมันมีเขียนไว้ แต่ขอแบบเป็นความเห็นของท่านเลย)

 


ถ้าฟีฟ่าลงโทษ ผมว่าก็ถูกต้องและสมควรครับ ในฐานะมนุษย์ด้วยกันผมไม่คิดว่ามีใครควรต้องตาย ถูกทรมานหรือกลายเป็นหมากเซ่นการเมืองระหว่างประเทศ ถ้าวงการฟุตบอลพัฒนาแล้ว คุณภาพชีวิตของคนที่เตะบอลให้เราดูก็ควรจะดีขึ้นด้วย นี่นั้นที่สุดที่ตอบท่านมาเลย ฮ่าๆๆๆ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะท้ายซอย
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 10 Apr 2015
ตอบ: 787
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sun Jan 27, 2019 00:45
[RE: แข้งบาห์เรนลี้ภัยที่ถูกจับในไทย กับบททดสอบมนุษยธรรมในวงการฟุตบอล]
worker005 พิมพ์ว่า:
namlang15 พิมพ์ว่า:
worker005 พิมพ์ว่า:
namlang15 พิมพ์ว่า:
worker005 พิมพ์ว่า:
namlang15 พิมพ์ว่า:
ผมว่าเรากลืนไม่เข้าคลายไม่ออกนะ มันไม่ได้ง่ายขนาดนั้นว่าถ้าจะส่งกลับออสแล้วเรื่องจบ
ถ้าส่งกลับไปออสก็อาจขุ่นเคืองกับบาห์เรนได้และตำรวจสากลได้นะ
การส่งกลับออสไม่เท่ากับเราไม่เคารพกฎหมายของบาห์เรนหรอ !!

แล้วออสกับฟีฟ่าเอาไรมากดดันเรา นี่เขาเข้ามาในเขตอำนาจอธิปไตยของเราเองนะ
เรามีอำนาจอธิปไตยเหนือเขตแดนของเรา ทำไมเราต้องยอมด้วยล่ะ
เมื่อบุคคลผู้นี้มีหมายจากตำรวจสากล เขาได้รับความคุ้มครองในออสเตรเลียแต่ไม่ได้รับความคุ้มครองในไทย
และสนธิสัญญาระหว่างประเทศเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดนหลักของมันเป็นเสมือนการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
คิดดูถ้าต่อไปมีผู้ร้ายที่เราต้องการตัวลี้ภัยเข้าไปอยู่ในบาห์เรนบ้างล่ะ
ถ้าครั้งนี้เมื่อเขาเข้ามาแล้วถ้าเราไม่ทำอะไรสากลโลกเขาจะมองเรายังไง

ส่วนไอ้หมายแดงสิ้นผลเพราะออสให้การรับรองสถานะผู้ลี้ภัยก็เถอะ อันนี้ผมไม่รู้นะ
แต่ฟังดูเหมือนไอ้สถานะผู้ลี้ภัยของออสมันเหนือกว่าสนธิสัญญาระหว่างประเทศเชียวหรือ
ผมว่าทางที่ดีรอให้ครบกำหนดเวลาแล้วบาห์เรนไม่ส่งหมายมาขอตัวผู้ร้ายข้ามแดนแล้วเราค่อยส่งกลับไปออสน่าจะดีที่สุด ถนอมน้ำใจทั้งสองฝ่าย (ส่วนนักบอลคนนี้ต้องรับเคราะห์โดนขังต่อหน่อย ผมมองว่าเรื่องประเทศสำคัญกว่าตัวบุคคล)
มิเช่นนั้นก็ปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการระหว่างประเทศตามปกติเถอะ อย่าได้มากดดันกัน

แล้วถ้าฟีฟ่าจะคว่ำบาตรเราเพราะเรื่องนี้นะแม่งโคตรทุเรศเลยบอกตรงๆ
ผมมองว่ามันเป็นเรื่องของผู้ลี้ภัยซึ่งคือบุคคลธรรมดาคนนึง (แม้จะเคยเป็นนักฟุตบอล)
ฟีฟ่าจะเอาเรื่องของฟุตบอลมากดดันให้เราปล่อยตัวผู้ลี้ภัยในความผิดซึ่งกรณีไม่ได้เกี่ยวอะไรกับฟุตบอลได้ยังไง
อย่างงี้คนๆนี้มันไม่อภิสิทธิ์ชนไปหน่อยหรอ มันไม่เอนเอียงถือหางกันหรอ ลองคิดกันดู


edit เป็นความเห็นนะครับ ไม่ได้บอกว่าที่เขียนมาทั้งหมดถูกต้อง
แต่สิ่งที่อยากจะพูดหลักๆเลยคือฟีฟ่าไม่น่าเข้ามาเกี่ยวข้อง  


ดีใจที่ได้คุยเรื่องการเมืองระหว่างประเทศครับ
ยาวหน่อยนะครับ อันนี้คือข้อมูลที่ผมมี พูดคุยแลกเปลี่ยนได้ครับ

ถูกครับ ตอนนี้เขาอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยเรา ทีนี้เมื่อออสเตรเลียคุ้มครองเขาในฐานะผู้ลี้ภัยแล้ว มันก็เป็นอำนาจอธิปไตยของเขาที่จะต้องแสดงออกซึ่งการคุ้มครอง (ไม่งั้นก็คุ้มครองแค่ลมปากดิใช่มะ) ฟีฟ่าเองก็มีข้อบังคับเรื่องสิทธิมนุษยชน (ไทยก็ลงนามในคำประกาศสิทธิมนุษยชนสากล ซึ่งตามกฎหมายระหว่างประเทศ ไทยมีหน้าที่ต้องทำตามครับ และเรื่องการไม่ส่งตัวคนกลับไปเผชิญอันตรายก็เป็นหนึ่งในหน้าที่ที่ไทยผูกพันในอนุสัญญาต้านการซ้อมทรมาน) แต่ละฝ่ายมันมีบทบาทที่ต้องออกมาแสดงการกดดัน เพราะไอ้กฎหมายที่ไม่ใช่กฎหมายในประเทศเนี่ย อำนาจบังคับใช้มันไม่มีถ้าไม่เคารพกันเสียเอง

ไทยกับบาห์เรนไม่มีสัญญาทวิภาคีส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนครับ กระทรวงการต่างประเทศไทยให้ข้อมูลไว้ในนี้ http://mfa.go.th/main/th/news3/6886/97217-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2-Hakeem-Ali-Mohamed-Ali-Al-Oraibi.html (ฝังลิงค์ยังไงวะเนี่ย รกมาก)

มีเพียงหมายแดงของอินเตอร์โปล ซึ่งไม่ใช่รัฐ ไม่มีกองกำลังและประชาชนเป็นของตัวเอง ไม่มีอำนาจบังคับ และการขอตัวฮาคีมจากไทยเมื่อ 27 พ.ย. โดยทางการบาห์เรน (ที่ยังไม่มีเอกสารส่งมาจนถึงทุกวันนี้ นำมาซึ่งการฝากขังตามกระบวนการ พรบ ผู้ร้ายข้ามแดนของไทย) แปลว่าตอนนี้บาห์เรนและออสเตรเลียไม่มีสิทธิพิเศษมากไปกว่าใครครับ และในทางหลักการเราไม่มีหน้าที่ต้องไปเคารพกฎหมายประเทศอื่นบนดินแดนของเรา ก็ต้องไปพิจารณาว่าเรามีสัมพันธ์ทางการทูตที่ดีกว่ากับใคร ผมเห็นด้วยนะครับว่าการตัดสินใจรอบนี้กระทบความสัมพันธ์ทางการทูตของสักฝั่งใดฝั่งหนึ่งแน่ แต่การเมืองระหว่างประเทศมันก็แบบนี้ครับ ทางการทูตก็ต้องผสานประโยชน์กันไป ทางการเมืองก็ดีดลูกคิดเอาว่าแทงข้างไหนแล้วจะได้ประโยชน์ดีสุด ผมสงสัยมากว่าถ้าพวกประเทศพัฒนาแล้วสนับสนุนการส่งตัวกลับออสเตรเลีย แล้วไทยไปเคารพกฎหมายบาห์เรน ส่งตัวเขากลับไปติดคุกที่นั่น ดีดลูกคิดยังไงมันจะคุ้ม เพราะไอ้พฤติกรรมแบบต่างตอบแทนเนี่ย มันเกิดได้กับทั้งบาห์เรน-ไทย และออสเตรเลีย-ไทย จะพิจารณาแต่ไอ้ทางบาห์เรนข้างเดียวก็ไม่ได้

สถานะผู้ลี้ภัยที่ออสเตรเลีย ที่เคยได้ยินมามันขอกันยากอ่ะครับ (ที่ไหนก็ยาก กระบวนการขอสถานะผู้ลี้ภัยที่ UNHCR ในเมืองไทยใช้เวลานับหลักกันเป็นปีครับ ถ้าไม่ติดอะไรก็ 1-3 ปี ถ้าติดก็ยาวไปเลย) นั่นสะท้อนว่าออสเตรเลียมั่นใจแล้วว่าไอ้หนุ่มนี่หนีภัยอันตรายมาแน่ๆ ข้อมูลจากองค์กรสิทธิก็บอกว่าเขาโดนทรมานมาก่อน โดนยัดข้อหาว่าไปทำลายโรงพัก ทั้งๆ ที่ตอนนั้นตัวเองแข่งฟุตบอลถ่ายทอดสดทางทีวีอยู่แท้ๆ โอเคแหละ อันนี้เถียงได้ว่าการรับผู้ลี้ภัยมันมีการเมืองในนั้นอยู่ แต่ข้อมูลมีเท่านี้ครับ แหะๆ

ทีนี้ใหญ่กว่าสนธิสัญญาไหม ไทยกับบาห์เรนไม่มีสัญญาผู้ร้ายข้ามแดน แต่จารีตระหว่างประเทศที่ทำกันก็คือ รัฐจะไม่ส่งคนที่หนีภัยมา กลับไปเผชิญอันตรายที่เขาหนีมาแล้ว (Non-Refoulement) ซึ่งอันนี้เป็นกฎหมายระหว่างประเทศที่ถ้าจะทำก็ทำได้ครับ

ความเห็นคุณเรื่องรอให้เขาไม่ส่งใบเรียกตัวมามันก็อาจจะเกิดขึ้นครับ บาห์เรนก็อาจจะแก้เกี้ยว เห็นคนค้านเยอะก็คงทำเมินๆ ไม่ส่งไป ให้ไอ้หนุ่มนี่ติดคุกสักสองเดือนแล้วก็กลับออสไป เรื่องพวกนี้ไม่หลุดมาให้เราได้ยินแน่ๆ และมันไม่ได้อยู่ในพิสัยที่เราท่านจะทำอะไรได้ แต่ถ้าเรื่องจบแบบนั้น ไอ้ที่ไทยไปสัญญาเอาไว้ในเวทีโลกก็เป็นลมปากเฉยๆ การทูตบ้านเราถนัดแทงกั๊กแบบนั้นอยู่แล้ว และมีแนวโน้มว่าจะเป็นแบบนั้น รักษาความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย ออสคงมีเคืองหน่อยๆ แต่ก็ไม่ได้ถูกส่งกลับนี่ ก็ยังโอเคบ้าง บาห์เรนก็ไม่ได้เสียหน้า

edit: เขายังเป็นนักฟุตบอลที่ลีคออสเตรเลียครับ เล่นแบ๊คขวาที่สโมสร Pasco Vale FC

 


โอ้วขอบคุณครับ
ถ้าข้อเท็จจริงเป็นไปตามนั้นในส่วนทางปฏิบัติตามกฎหมายผมก็คิดว่าชัดเจนดังที่ท่านว่านะครับ เพราะผมเองเพิ่งรู้เรื่องนี้จากโพสท่านกับลิงค์ข่าวในเว็บนี้นี่เอง
ยิ่งถ้าข้อมูลจากองค์กรสิทธิก็บอกว่าเขาโดนทรมานมาก่อน โดนยัดข้อหาว่าไปทำลายโรงพัก ทั้งที่ตอนนั้นตัวเองแข่งฟุตบอลถ่ายทอดสดทางทีวีผมจะไม่เถียงในส่วนนี้ ถ้าขอเท็จจริงเป็นไปตามนี้ผมคิดว่าท่านมีเหตุผลที่ดีกว่า

แล้วในส่วนทางปฏิบัติ ส่วนที่เป็นความเห็นท่านว่าควรแก้อย่างไร ในส่วนนี้ท่านเห็นว่าหลักคือควรคำนึงความสัมพันธ์ทั้งสองฝ่าย แต่ถ้าต้องเลือกควรเอนไปทางออสเตรเลีย ผมเข้าใจถูกไม๊ครับ
ส่วนนี้ขอถามแลกเปลี่ยนเป็นความรู้เฉยๆครับ



แต่ที่ผมพูดมายืดยาวในคอมเม้นก่อนเพราะต้องการท้าวความในส่วนนี้มากกว่าครับ
คือเรื่องจดหมายของฟีฟ่า ผมยังคิดว่าไม่น่าเข้ามาเกี่ยวข้องนะครับ
เพราะกรณีไม่เกี่ยวกับฟุตบอลเลย หรือหากว่ามีกฎของทางฟีฟ่าแล้วทางเราได้ลงนาม
แต่กฎฟีฟ่าก็ไม่ใช่หรือไม่ได้มีศักดิ์เทียบเท่ากฎหมายที่เราต้องปฏิบัติตามโดยการให้ความสำคัญเสมอกฎหมาย (แต่ กม.ระหว่างประเทศรากมันจริงๆก็เป็นเพียงจารีตประเพณีระหว่างประเทศที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาเนอะ ถ้าระหว่างประเทศใดไม่มีตัวสัญญามันก็ไม่มีตัวบทกฎหมายจริงๆ แต่ผมคิดว่ามันน่าจะใหญ่กว่ากฎฟีฟ่าที่เราลงนามอยู่ดี ไม่แน่ใจผมเข้าใจถูกไม๊ครับอันนี้ ?? แฮ่ )
ทีนี้ด้วยผมเห็นว่ากรณีตามข้อกล่าวหาไม่ใช่ความผิดเกี่ยวกับฟุตบอล แล้วเช่นนี้ทำไมฟีฟ่าถึงเลือกที่จะเชื่อว่าสิทธิมนุษยชนในการช่วยเหลือคนๆนี้เหนือกว่ากฎหมายภายในหรือกระบวนการยุติธรรมของประเทศบาห์เรนที่พิพากษาว่าคนๆนี้มีความผิด
นั่นไม่เท่ากับว่าฟีฟ่าเอาตัวเองเข้ามาเกี่ยวโดยเลือกถือหางข้างนี้หรอครับ
(กรณีนี้ผมเห็นว่าฟีฟ่าฟังว่านักบอลคนนี้ไม่ผิด หรือแม้จะผิดแต่ได้รับความคุ้มครองโดยออสเตรเลีย ฟีฟ่าจึงส่งจดหมายมากดดันเรา ผมคิดว่าฟีฟ่าถือหางข้างนี้แล้ว) อย่างนี้ไม่ก็เท่ากับว่าฟีฟ่าเอาตัวเองเข้ามีส่วนเกี่ยวข้อง ชี้นำ หรือตัดสินปัญหาซึ่งน่าจะเป็นปัญหาทางการเมืองหรอครับ
แล้วฟีฟ่ามีอำนาจอะไรในการออกความเห็นเช่นนี้ แม้จะบอกว่าคนๆนี้เป็นนักฟุตบอลก็เถอะ มันมีน้ำหนักขนาดนั้นเลยหรอที่ฟีฟ่าต้องยื่นมือเข้ามา
แล้วถ้าจะคว่ำบาตรเราในทางฟุตบอลเพราะถ้าหากรัฐบาลเราไม่ปฎิบัติตามคำขอของออสเตรเลียขึ้นมาจริงๆนี่มันสมเหตุสมผลหรอครับ
หรือถ้าจะตอบว่ากฎฟีฟ่าเขียนไว้อย่างนี้แล้วเราลงนามเอง อันนี้ผมพาลไปถึงกฎเลยนะประเด็นนี้
 


ด้านล่างยาวหน่อยนะครับ เป็นคำอธิบาย หลักๆก็คือเรื่องนี้มันเป็นปัญหาที่พันกันระหว่างวงการกีฬา การเมืองระหว่างประเทศ และกฎหมายท้องถิ่น(กฎหมายของประเทศ) ตัวละครแต่ละด้านก็เลยออกมาหน้าเวทีกันหมด แยกกันไม่ออก

ฟีฟ่ามีนโยบายเรื่องสิทธิมนุษยชนว่าจะเคารพหลักการปฏิญญาสากลด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่ไทยก็ยอมรับ (นึกภาพว่าฟีฟ่าเกาะกับกฎหมายระหว่างประเทศตัวใหญ่ที่ไทยก็ลงนาม ฟีฟ่าเล็กกว่า แต่เกาะกับกฎหมายที่ใหญ่กว่า เลยต้องทำตามอันที่ใหญ่กว่าตามข้อบังคับที่ตัวเองออกมาเกาะกับเขา) ก็เลยต้องออกมาแสดงจุดยืนแบบนี้ เพราะการกักตัวนักฟุตบอล (นี่คือหนึ่งในเหตุผลที่ฟีฟ่าใช้ เขาเคยเป็นทีมชาติด้วย และยังเป็นนักบอลอยู่ ถ้ากลับไปบาห์เรนแล้วตาย ฟีฟ่าก็ต้องแบกหน้ารับคำด่าถ้าไม่ได้ออกมาพูดอะไรเสียบ้าง ซึ่งเสี่ยงที่กระแสลบจะลามไปเรื่องอื่น โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ) โดยที่หมายตำรวจสากลไม่มีผลแล้วก็เท่ากับไม่มีพันธะอะไรไปกักเขานอกจากกฎหมายท้องถิ่น (พรบ ผุ้ร้ายข้ามแดนของไทย) ส่วนกฎหมายบาห์เรนก็เหมือนกฎหมายประเทศอื่นๆ ที่มีอำนาจบังคับใช้จริงๆ แค่ในดินแดนตัวเองเท่านั้นครับ

ทีนี้ ถ้าบาห์เรนขอส่งตัวฮาคีมกลับ ก็เป็นอำนาจของไทยที่จะตัดสินใจว่าจะส่งหรือไม่ส่ง เช่นเดียวกันกับการส่งตัวฮาคีมกลับออสเตรเลีย ทั้งสองทางเลือกมีเหตุผลรองรับอยู่ในทางหลักการ (ฝั่งออสคือเรื่องสิทธิมนุษยชน ฝั่งบาห์เรนก็คือกิจการระหว่างประเทศทั่วไป ที่ท้ายที่สุดคนตัดสินใจก็คือ "รัฐ" กฎหมายระหว่างประเทศมันไม่มีผลบังคับใช้ครับ แต่ละรัฐบังคับกันเอง ดังนั้นไม่ทำก็ได้ แต่มันก็มีผลที่จะตามมาถ้ารัฐอื่นจะมีมาตรการตอบโต้เรา ยกตัวอย่างเช่น จีนไม่ทำตามคำตัดสินศาลโลกเรื่องการครอบครองพื้นที่ทะเลจีนใต้ จีนก็อยู่ได้ แต่เพื่อนก็อาจจะน้อยหน่อย เพราะมีความเห็นเรื่องพื้นที่ไม่ตรงกัน โดยเฉพาะกับสหรัฐฯ และเวียดนาม ก็จะหมางๆ กันหน่อย ไม่ละเอียดนะครับอันนี้ยกตัวอย่าง)

แต่เนื่องจากสถานะผู้ร้ายของฮาคีมในทางระหว่างประเทศมันไม่ถูกยอมรับ หน้าที่ของไทยในการตอบสนองต่อกฎหมายบาห์เรน กับหน้าที่การตอบสนองต่อกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนมันก็จะเบลอๆ หน่อย เราๆท่านๆมีข้อมูลเบื้องหลังกันเท่านี้ คงตัดสินใจลำบากว่าทางไหนจะดีกว่า ดีดลูกคิดออกมาอันไหนจะคุ้ม ความเห็นก็จะออกมาหลากหลาย เป็นเรื่องธรรมดาที่เรื่องการเมืองจะไม่มีคำตอบตายตัว เงื่อนไขเปลี่ยน คำตอบก็อาจจะเปลี่ยน (แต่ผมว่าความเห็นท่านเรื่องบาห์เรนอาจจะเลือกไม่ส่งหมายมา แล้วให้ขังจนหมดเวลาแล้วเอากลับนี่น่าสนใจครับ มีเหตุผลในทางการทูตอยู่ มันฟังดูน่าเศร้าตรงที่ฮาคีมกลายเป็นหมากเพื่อแก้เกี้ยวกันในทางการเมืองนี่แหละครับ ชื่อเสียงไทยก็คงจะเสียหาย ว่าไม่ใช่ที่ๆ ปลอดภัยสำหรับผู้ลี้ภัย ตำรวจสากลก็คงโดนด่าว่าทำไมไม่อัพเดทฐานข้อมูลเลยฟะ การเมืองระหว่างประเทศมันอยู่ที่ความน่าเชื่อถืออ่ะครับ แบบนี้มีแต่ผลทางลบ)

ทีนี้ กระบวนการในประเทศจะเป็นอย่างนี้ครับ ถ้าบาห์เรนส่งหมายขอตัวมา ทนายฮาคีมก็จะเอาเรื่องนี้ไปเข้ากระบวนการทำคำคัดค้าน เรื่องจะไปเข้าศาลอาญา ซึ่งผู้พิพากษาก็จะเป็นคนพิจารณาตามข้อมูลว่าการเรียกกลับเหมาะสมไหม การเอาคนกลับไปถ้ามั่นใจว่ากลับไปจะเจอทรมาน ไม่เป็นธรรม ก็อาจจะตัดสินให้กลับออสเตรเลีย ทั้งหมดนี้มันเป็นเรื่องข้อมูล หลักฐานในชั้นศาล และอีกทางหนึ่งก็คือปฏิกิริยานอกศาลครับ พวกนานาชาติที่อยากให้ฮาคีมกลับออสเตรเลียเลยพยายามเรียกร้อง ส่งเสียง (สังเกตดูนะครับ ตามหน้าข่าวไม่มีองค์กรไหนมาเรียกร้องให้ส่งฮาคีมกลับบาห์เรนเลย)

แต่อย่างที่ผมบอกว่าสุดท้ายรัฐเป็นคนตัดสินใจ เรื่องเกิดขึ้นในไทย ไทยจึงแบกภาระเรื่องนี้เอาไว้หนักหน่วง เรียกว่าเป็นตำบลกระสุนตกเลยครับ

ส่วนความเห็นผมก็คือ ควรเอาเขากลับออสเตรเลียไปเลยครับ ตอนนี้กระแสดูไม่มีใครเข้าข้างบาห์เรนในทางการทูตแบบรัฐต่อรัฐ อมเขาเอาไว้มีแต่โดนด่า แต่ในระดับสมาคมฟุตบอลภูมิภาค ตอนนี้ชีคบาห์เรนเป็นประธาน AFC (ไอ้คนที่ฮาคีมวิจารณ์นี่แหละ) และถ้าจำไม่ผิด เด่วจะมีเลือกตั้งประธาน AFC ซึ่งสมยศของพวกเราก็คงเป็นแคนดิเดต ผมไม่รู้ว่ามีดีลเบื้องหลังหรือเปล่า คือหลักการสิทธิมนุษยชนเนี่ย ถ้ายอมรับและทำตาม คนคงกลัวว่าจะนำมาสู่การเปิดเผยอะไรไม่ดีหลายๆ อย่าง แบบอีตาฮาคีมนี่ ถ้าปล่อยกลับอาจจะไปพูดอะไรอีกเยอะแยะ (ไม่พูดเองสื่อก็คงเอาไมค์ไปจ่อปากถาม) ก็ไม่รู้ว่านี่เป็นเรื่องที่พวกเขากังวลกันหรือเปล่า  



ทีนี้ถ้าตัดผ่านตรงนี้ไป แต่สมมติว่าผลออกมาไทยไม่ส่งฮาคีมกลับออสเตรเลีย
แล้วปรากฏฟีฟ่ามีบทลงโทษอย่างใดอย่างหนึ่งต่อฟุตบอลไทย ท่านคิดว่าการกระทำของฟีฟ่าเป็นการสมควรและถูกต้องไหมครับ ??
(ขอไม่เอาคำตอบว่าถ้าเขาจะลงโทษก็ลงได้นะครับ เพราะมันลงได้อยู่แล้วในเมื่อกฎมันมีเขียนไว้ แต่ขอแบบเป็นความเห็นของท่านเลย)

 


ถ้าฟีฟ่าลงโทษ ผมว่าก็ถูกต้องและสมควรครับ ในฐานะมนุษย์ด้วยกันผมไม่คิดว่ามีใครควรต้องตาย ถูกทรมานหรือกลายเป็นหมากเซ่นการเมืองระหว่างประเทศ ถ้าวงการฟุตบอลพัฒนาแล้ว คุณภาพชีวิตของคนที่เตะบอลให้เราดูก็ควรจะดีขึ้นด้วย นี่นั้นที่สุดที่ตอบท่านมาเลย ฮ่าๆๆๆ  


ขอบคุณครับ ยินดีที่ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันคับผม
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel