ผู้ตั้ง
ข้อความ
เข้าร่วม: 09 Jan 2011
ตอบ: 1263
ที่อยู่: Hat Yai,SongKhla
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:17 pm
น้ำกับน้ำแข็ง
ถ้าน้ำ 1 ลิตร เอามาทำเป็นน้ำแข็ง แล้วเอาน้ำแข็งนั้นไปชั้งกิโล จะเท่ากับน้ำที่เอาไปชั่งก่อนน้ำแข็งหรือไม่ครับ ?

0
0

เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 1189
ที่อยู่: ในใจเธอก็พอ
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:19 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
น่าจะเท่ากันนะ แค่เปลี่ยนสถานะไปแค่นั้นเอง
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 747
ที่อยู่: Satan City
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:20 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
ไม่เท่า มวลไม่เท่ากัน

เข้าร่วม: 20 Oct 2009
ตอบ: 3411
ที่อยู่: Drive C
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:20 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
อาจจะไม่เท่า เพราะพอทำเป็นน้ำแข็ง น้ำแข็งส่วนนึงมันระเหยไปเป็นไอ สรุปไม่เท่า ฟันเฟิม
~ รักน้องไก่ + รอสโซเนรี ~
เข้าร่วม: 22 Nov 2010
ตอบ: 286
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:24 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
ไม่เท่ากัน เพราะมวลสารของเหลวกับของแข็งปริมาณเท่ากันแต่น้ำหนักคงไม่เท่ากันครับ
ปล.ผมมั่วนะ




มันจะโชดช่วง เป็นอิสระ และไม่มีใครจับต้องได้เหมือนดั่งเปลวเพลิง

เข้าร่วม: 06 Apr 2014
ตอบ: 6249
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:25 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
ตามหลักการต้องเท่านะครับ

An idea is like a virus, resilient, highly contagious.
_______The smallest seed of an idea can grow. It can grow to define or destroy you.
เข้าร่วม: 13 Jan 2009
ตอบ: 646
ที่อยู่: สิงหปุระนคร
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:26 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
เท่าเดิมครับ เนื่องจาก ความหนาแน่น เป็นอันตราส่วนระหว่างมวล ต่อ ปริมาตร เมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็ง ความหนาแน่นของน้ำจะลดจาก 1 ไปอยู่ที่ประมาณ 0.9 (จะเห็นได้ว่าน้ำแข็งลอยน้ำได้) หรือ ถ้าคุณๆเคยทำกัน ใส่น้ำลงในขวดพลาสติก (ขอให้ใช้พลาสติกนะครับ อย่าใช้ขวดแก้ว มันจะแตก) ให้เต็ม แล้วแช่แข็ง มันก็จะปูด หรือขั้นแตกเลยทีเดียว (ถึงได้ให้ใช้พลาสติก อย่าใช้แก้ว) เพราะงั้นสิ่งที่เปลี่ยนไป คือปริมาตร (ตัวหารในความสัมพัน ตัวหารเพิ่มขึ้น ผลน้อยลง) เพราะงั้น 1 กิโลกรัม ก็ยังเป็น 1 กิโลกรัมครับ
เข้าร่วม: 30 Dec 2013
ตอบ: 1450
ที่อยู่: มอดอว์
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:26 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
ที่4องศาC 1atm น้ำจะมีความหนาแน่นที่สุด ถ้าต่ำกว่าอุณหภูมินี้ลงไปโมเลกุลน้ำจะเริ่มวางตัวห่างจากกันเพื่อเตรียมเกิดเป็นผลึก และถ้าสูงกว่านี้โมเลกุลมีพลังงานมากขึ้นมันก็จะอยู่ห่างกันมากขึ้น ที่4องศาโมเลกุลน้ำจึงอยู่ชิดกันที่สุด ความหนาแน่นมากสุด

น้ำแข็งมีผลึกเป็นรูปหกเหลี่ยมซึ่งมีบริเวณที่ว่างมากกว่าน้ำในขณะเหลว ทำให้ปริมาตรเพิ่มขึ้น

-เฮฟวี่วอเตอร์ มันก็คือโมเลกุลน้ำที่มีดิวเทอเรียม2อะตอมกับออกซิเจน1อะตอมเกาะกัน(ดิวเทอเรียมคือไอโซโทปของไฮโดรเจน มีโปรตอน1ตัวและนิวตรอน1ตัว เกิดพันธะได้เหมือนไฮโดรเจน) เป็น D2O เนื่องจากดิวเทอเรียมมีนิวตรอนเพิ่มเข้ามาทำให้มีมวลโมเลกุลเพิ่มเป็น20 หนักกว่าน้ำปกติที่มีมวลโมเลกุล18
หน้าตาเหมือนกับน้ำปกติแต่มีกัมมันตภาพรังสีแถมมาด้วย เพราะDเป็นไอโซโทปกัมมันตรังสี ปกติเราใช้เกี่ยวกับพวกปฏิกิริยานิวเคลียร์เช่นเป็นน้ำหล่อเย็นในเตาปฏิกรณ์




เข้าร่วม: 09 Jan 2011
ตอบ: 1263
ที่อยู่: Hat Yai,SongKhla
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:28 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
cartoonology พิมพ์ว่า:
อาจจะไม่เท่า เพราะพอทำเป็นน้ำแข็ง น้ำแข็งส่วนนึงมันระเหยไปเป็นไอ สรุปไม่เท่า ฟันเฟิม  


เป็นไปได้ครับ
0
0

เข้าร่วม: 09 Jan 2011
ตอบ: 1263
ที่อยู่: Hat Yai,SongKhla
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:34 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
zeromaster พิมพ์ว่า:
เท่าเดิมครับ เนื่องจาก ความหนาแน่น เป็นอันตราส่วนระหว่างมวล ต่อ ปริมาตร เมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็ง ความหนาแน่นของน้ำจะลดจาก 1 ไปอยู่ที่ประมาณ 0.9 (จะเห็นได้ว่าน้ำแข็งลอยน้ำได้) หรือ ถ้าคุณๆเคยทำกัน ใส่น้ำลงในขวดพลาสติก (ขอให้ใช้พลาสติกนะครับ อย่าใช้ขวดแก้ว มันจะแตก) ให้เต็ม แล้วแช่แข็ง มันก็จะปูด หรือขั้นแตกเลยทีเดียว (ถึงได้ให้ใช้พลาสติก อย่าใช้แก้ว) เพราะงั้นสิ่งที่เปลี่ยนไป คือปริมาตร (ตัวหารในความสัมพัน ตัวหารเพิ่มขึ้น ผลน้อยลง) เพราะงั้น 1 กิโลกรัม ก็ยังเป็น 1 กิโลกรัมครับ  


คือความหนาแน่ลดลง แต่ น้ำหนักยังคงเป็น 1 กิโลกรัม เท่าเดิมใช่ไหมครับ
0
0

เข้าร่วม: 09 Jan 2011
ตอบ: 1263
ที่อยู่: Hat Yai,SongKhla
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:36 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
gongon27151 พิมพ์ว่า:
ที่4องศาC 1atm น้ำจะมีความหนาแน่นที่สุด ถ้าต่ำกว่าอุณหภูมินี้ลงไปโมเลกุลน้ำจะเริ่มวางตัวห่างจากกันเพื่อเตรียมเกิดเป็นผลึก และถ้าสูงกว่านี้โมเลกุลมีพลังงานมากขึ้นมันก็จะอยู่ห่างกันมากขึ้น ที่4องศาโมเลกุลน้ำจึงอยู่ชิดกันที่สุด ความหนาแน่นมากสุด

น้ำแข็งมีผลึกเป็นรูปหกเหลี่ยมซึ่งมีบริเวณที่ว่างมากกว่าน้ำในขณะเหลว ทำให้ปริมาตรเพิ่มขึ้น

-เฮฟวี่วอเตอร์ มันก็คือโมเลกุลน้ำที่มีดิวเทอเรียม2อะตอมกับออกซิเจน1อะตอมเกาะกัน(ดิวเทอเรียมคือไอโซโทปของไฮโดรเจน มีโปรตอน1ตัวและนิวตรอน1ตัว เกิดพันธะได้เหมือนไฮโดรเจน) เป็น D2O เนื่องจากดิวเทอเรียมมีนิวตรอนเพิ่มเข้ามาทำให้มีมวลโมเลกุลเพิ่มเป็น20 หนักกว่าน้ำปกติที่มีมวลโมเลกุล18
หน้าตาเหมือนกับน้ำปกติแต่มีกัมมันตภาพรังสีแถมมาด้วย เพราะDเป็นไอโซโทปกัมมันตรังสี ปกติเราใช้เกี่ยวกับพวกปฏิกิริยานิวเคลียร์เช่นเป็นน้ำหล่อเย็นในเตาปฏิกรณ์

 


-เฮฟวี่วอเตอร์ มันคือน้ำแข็งใช่ไหมครับ

0
0

เข้าร่วม: 06 Apr 2014
ตอบ: 6249
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:37 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
buddyman พิมพ์ว่า:
cartoonology พิมพ์ว่า:
อาจจะไม่เท่า เพราะพอทำเป็นน้ำแข็ง น้ำแข็งส่วนนึงมันระเหยไปเป็นไอ สรุปไม่เท่า ฟันเฟิม  


เป็นไปได้ครับ  

น้ำแข็งไม่ระเหยเป็นไอที่ความดันปกตินะครับ

An idea is like a virus, resilient, highly contagious.
_______The smallest seed of an idea can grow. It can grow to define or destroy you.
เข้าร่วม: 13 Jan 2009
ตอบ: 646
ที่อยู่: สิงหปุระนคร
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:36 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
buddyman พิมพ์ว่า:
zeromaster พิมพ์ว่า:
เท่าเดิมครับ เนื่องจาก ความหนาแน่น เป็นอันตราส่วนระหว่างมวล ต่อ ปริมาตร เมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็ง ความหนาแน่นของน้ำจะลดจาก 1 ไปอยู่ที่ประมาณ 0.9 (จะเห็นได้ว่าน้ำแข็งลอยน้ำได้) หรือ ถ้าคุณๆเคยทำกัน ใส่น้ำลงในขวดพลาสติก (ขอให้ใช้พลาสติกนะครับ อย่าใช้ขวดแก้ว มันจะแตก) ให้เต็ม แล้วแช่แข็ง มันก็จะปูด หรือขั้นแตกเลยทีเดียว (ถึงได้ให้ใช้พลาสติก อย่าใช้แก้ว) เพราะงั้นสิ่งที่เปลี่ยนไป คือปริมาตร (ตัวหารในความสัมพัน ตัวหารเพิ่มขึ้น ผลน้อยลง) เพราะงั้น 1 กิโลกรัม ก็ยังเป็น 1 กิโลกรัมครับ  


คือความหนาแน่ลดลง แต่ น้ำหนักยังคงเป็น 1 กิโลกรัม เท่าเดิมใช่ไหมครับ  


ถูกต้องนะคร๊าบบบบ
เข้าร่วม: 13 Jan 2009
ตอบ: 646
ที่อยู่: สิงหปุระนคร
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:39 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
buddyman พิมพ์ว่า:
gongon27151 พิมพ์ว่า:
ที่4องศาC 1atm น้ำจะมีความหนาแน่นที่สุด ถ้าต่ำกว่าอุณหภูมินี้ลงไปโมเลกุลน้ำจะเริ่มวางตัวห่างจากกันเพื่อเตรียมเกิดเป็นผลึก และถ้าสูงกว่านี้โมเลกุลมีพลังงานมากขึ้นมันก็จะอยู่ห่างกันมากขึ้น ที่4องศาโมเลกุลน้ำจึงอยู่ชิดกันที่สุด ความหนาแน่นมากสุด

น้ำแข็งมีผลึกเป็นรูปหกเหลี่ยมซึ่งมีบริเวณที่ว่างมากกว่าน้ำในขณะเหลว ทำให้ปริมาตรเพิ่มขึ้น

-เฮฟวี่วอเตอร์ มันก็คือโมเลกุลน้ำที่มีดิวเทอเรียม2อะตอมกับออกซิเจน1อะตอมเกาะกัน(ดิวเทอเรียมคือไอโซโทปของไฮโดรเจน มีโปรตอน1ตัวและนิวตรอน1ตัว เกิดพันธะได้เหมือนไฮโดรเจน) เป็น D2O เนื่องจากดิวเทอเรียมมีนิวตรอนเพิ่มเข้ามาทำให้มีมวลโมเลกุลเพิ่มเป็น20 หนักกว่าน้ำปกติที่มีมวลโมเลกุล18
หน้าตาเหมือนกับน้ำปกติแต่มีกัมมันตภาพรังสีแถมมาด้วย เพราะDเป็นไอโซโทปกัมมันตรังสี ปกติเราใช้เกี่ยวกับพวกปฏิกิริยานิวเคลียร์เช่นเป็นน้ำหล่อเย็นในเตาปฏิกรณ์

 


-เฮฟวี่วอเตอร์ มันคือน้ำแข็งใช่ไหมครับ

 


ไม่ใช่ครับ Heavy water เป็นน้ำเหมือนกันครับ เพียงแค่อะตอมของไฮโดรเจนในโมเลกุลน้ำ ถูกแทนที่ด้วย ดิวทีเรียม ที่เป็นไอโซโทปของไฮโดรเจนครับ
เข้าร่วม: 30 Oct 2014
ตอบ: 2453
ที่อยู่: ในใจคุณ
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 3:41 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
เข้าร่วม: 20 Jul 2008
ตอบ: 2859
ที่อยู่: คลังแสงกรุงลอนดอน
โพสเมื่อ: Tue Dec 02, 2014 5:54 pm
[RE: น้ำกับน้ำแข็ง]
มวลไม่เปลี่ยนครับ เปลี่ยนแค่ความหนาแน่น


โมเลกุลขยายตัว แต่น้ำหนักเท่าเดิม


ตาม Rep บนๆครับ
0
0

เป็นแฟนปืนต้องอดทน