BLOG BOARD_B
ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Email: sale@soccersuck.com
ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status: We Cheer Thailand
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 25 Dec 2009
ตอบ: 510
ที่อยู่: Old Trafford
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 09:27
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
เมื่อ 3-4 ปีก่อน เห็นตำรวจจังหวัดหนึ่งยืนสูบบุหรี่ไฟฟ้าหน้าห้องประชุม

ตำรวจคนนี้เป็นบิ๊กของจังหวัดเลยนะครับ ตอนนี้คงย้ายไประดับสูงกว่านี้แล้ว
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะเทศบาล
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 03 Dec 2013
ตอบ: 4080
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 09:39
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
งงขาเข้าสนามบินไม่โดนตรวจกันหรอครับถ้ากฏหมายบอกว่าห้ามนำเข้าหรือเข้ามาซื้อในประเทศ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ข.
Status: ถ้ายังไม่ถึงกับเมา
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Sep 2013
ตอบ: 3166
ที่อยู่: for i in range
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 09:42
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
เท่าที่เข้าใจตอนนี้ คือ ไม่ชัดเจน

จะผิดก็ผิด ไม่ผิดก็ไม่ผิดก็ได้

รอ สรยุทธ์ เปิดประเด็นอยู่ เห็นลงใน facebook แก จะตีแผ่อีกมั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะลา ลีกา
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 20 Nov 2020
ตอบ: 3820
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 09:55
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
เอาจริงๆถ้าผมเป็นนักท่องเที่ยวต่างชาติผมก็งงนะ คงเผลอพกเข้ามาเหมือนกันอะ
ใครมันจะคิดว่าประเทศที่กัญชาถูกกฏหมายแบบยืนสูบที่ไหนก็ได้ แม่มดันสูบบุหรี่ไฟฟ้าไม่ได้
เหมือนประเทศเมิงจะเสรี หัวก้าวหน้า แต่เอ๊า ไม่ใช่นี่หว่า ยาเสพติดที่ผิดกฏหมายไปค่อนโลกดันถูก แต่ไอ้บุหรี่ทางเลือกที่หลายประเทศอนุญาตดันผิดเฉย
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 8364
ที่อยู่: ยานอวกาศ
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 09:58
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
ตรวจรถ เจอก็โดนอะครับ

แม่งเจอบุหรี่ไฟฟ้านิยิ้มเลย ไถง่ายๆ 5,000-30,000

แม่งมุกเดียวกันทั้งประเทศ ตะกวดพวกนี้
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 03 Aug 2008
ตอบ: 268
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 10:13
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
ห้ามนำเข้า จำหน่าย ให้บริการ
แต่อยากลองหัวหมอบอกตำรวจว่าที่ถืออยู่เนี้ย ผลิตในประเทศไทยนะ คุณจับผมไม่ได้หรอก ดูซิตำรวจจะว่าไง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน

ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 Oct 2010
ตอบ: 1035
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 10:30
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
Noel Wong พิมพ์ว่า:
มันเป็นสองแง่สองง่ามครับ...โพสนี้ไม่บอกว่าใครถูกใครผิด เหมาะสมหรือไม่อย่างไร

ตอบในมุมของผู้ประกอบการชิปปิ้ง ที่ติดต่อตรงกับหน่วยงานควบคุมการนำเข้า(ศุลกากร)
ประกาศฯมันควบคุมแค่"ห้ามนำเข้า" และ"ห้ามขาย" แต่ไม่กล่าวถึงผู้ครอบครอง

ในส่วนของผู้ครอบครอง ที่เป็นผู้อาศัยอยู่ในประเทศไทย มันค่อนข้างพิสูจน์ยาก ว่านำเข้าหรือยังไง
คือจริงๆก็มีช่องนิดๆ แต่ก็"ทำมาหากิน"ยาก และเสี่ยงจะโดนย้อนศร เขาเหล่านั้นก็เลยไม่เล่นมุมนี้มากนัก

แต่ในส่วนของ"นักท่องเที่ยว" มันกลับกลายเป็นว่า ง่ายต่อการไล่ เพราะมีแค่ 2 วิธี
1. ถือติดตัวมา : ส่วนใหญ่แทบจะเรียกว่าทั้งหมดคือถือมานั่นแหละ แต่แค่ว่าสำแดงศุลกากรขาเข้ามั๊ย ถ้าไม่สำแดงนั่นคือลักลอบนำเข้าสิ่งผิดกฎหมาย
2. หาในนี้ : เอาจริงๆก็ไม่คาดว่านักท่องเที่ยวคนไหนจะมาซื้อในนี้ แต่ก็เป็นอีกรู ซึ่งเขาเหล่านั้นก็ใช้เป็นช่องขู่ต่อได้ว่า ไปซื้อมาจากไหน รับของโจรมั๊ย บลาๆๆๆๆๆ
ส่วนของนักท่องเที่ยวจึง"ทำมาหากิน"ง่ายกว่า ยิ่งกับเขาเหล่านั้น ที่ไม่ศึกษาข้อกฎหมายให้รอบคอบด้วยแล้ว

กฎหมายฉบับนี้เป็นอีกฉบับที่ล้าสมัย และเอื้อประโยชน์ต่อรัฐวิสาหกิจ(ที่จะเจ๊ง อย่างโรงงานยาสูบ) แต่ก็ไม่มีใครหน้าไหนกล้าแตะกับภาษีสรรพสามิต เพราะมันก็เป็นอีกเส้นเลือดใหญ่ของรัฐฯ ทั้งในทางภาษี และ"ส่วนตัว"
ก็เลยทำได้แค่ออกกฎหมายลูบหน้าปะจมูก กำปั้นทุบดิ้น ให้เป็นช่องโหว่เต็มไปหมดแบบนี้

ปล. จากใจคนทำงานกับกฎหมายเยอะพอสมควร จะสังเกตุได้ว่า ยิ่งกฎหมายเกี่ยวกับ"เงิน และช่องทางทำมาหากิน"ในช่วง10+ปีหลังนี้ จะพยายามถอยจากการเขียนให้รัดกุม เป็นเขียนให้กว้างมากที่สุดเท่าที่จะทำได้...รูเต็มไปหมดครับ  



ตีความ มาตรา 246 พรบ ศุลกากร 2560 ให้ดีนะครับ

มาตรา ๒๔๖ ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจําหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานําหรือรับไว้ โดยประการใดซึ่งของอันตนพึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา ๒๔๒ ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับเป็นเงินสี่เท่าของราคาของซ่ึงได้รวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วหรือทั้งจําท้ังปรับ

ผมว่ารอดยาก!
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะหมู่บ้าน
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 29 Mar 2010
ตอบ: 2475
ที่อยู่: ที่ใดก็ได้อยู่ที่ใจนั้นสุขไหม
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 10:31
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
ขายกัญชา น้ำท่อม ข้างถนนได้ เปิดร้านขายได้ เพราะคนเปลี่ยนกฏมีส่วนได้ส่วนเสีย (ไหม)

ส่วนบุหรี่ไฟฟ้า กลัวมาถ่วงดุลบุหรี่มวลงี้เหรอ หรือต้องนำเข้าแบบเสียภาษีถึงจะถูกกฏหมาย
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ซุปตาร์ยูโร
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Nov 2010
ตอบ: 8497
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 13:03
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
xzyte พิมพ์ว่า:
Noel Wong พิมพ์ว่า:
มันเป็นสองแง่สองง่ามครับ...โพสนี้ไม่บอกว่าใครถูกใครผิด เหมาะสมหรือไม่อย่างไร

ตอบในมุมของผู้ประกอบการชิปปิ้ง ที่ติดต่อตรงกับหน่วยงานควบคุมการนำเข้า(ศุลกากร)
ประกาศฯมันควบคุมแค่"ห้ามนำเข้า" และ"ห้ามขาย" แต่ไม่กล่าวถึงผู้ครอบครอง

ในส่วนของผู้ครอบครอง ที่เป็นผู้อาศัยอยู่ในประเทศไทย มันค่อนข้างพิสูจน์ยาก ว่านำเข้าหรือยังไง
คือจริงๆก็มีช่องนิดๆ แต่ก็"ทำมาหากิน"ยาก และเสี่ยงจะโดนย้อนศร เขาเหล่านั้นก็เลยไม่เล่นมุมนี้มากนัก

แต่ในส่วนของ"นักท่องเที่ยว" มันกลับกลายเป็นว่า ง่ายต่อการไล่ เพราะมีแค่ 2 วิธี
1. ถือติดตัวมา : ส่วนใหญ่แทบจะเรียกว่าทั้งหมดคือถือมานั่นแหละ แต่แค่ว่าสำแดงศุลกากรขาเข้ามั๊ย ถ้าไม่สำแดงนั่นคือลักลอบนำเข้าสิ่งผิดกฎหมาย
2. หาในนี้ : เอาจริงๆก็ไม่คาดว่านักท่องเที่ยวคนไหนจะมาซื้อในนี้ แต่ก็เป็นอีกรู ซึ่งเขาเหล่านั้นก็ใช้เป็นช่องขู่ต่อได้ว่า ไปซื้อมาจากไหน รับของโจรมั๊ย บลาๆๆๆๆๆ
ส่วนของนักท่องเที่ยวจึง"ทำมาหากิน"ง่ายกว่า ยิ่งกับเขาเหล่านั้น ที่ไม่ศึกษาข้อกฎหมายให้รอบคอบด้วยแล้ว

กฎหมายฉบับนี้เป็นอีกฉบับที่ล้าสมัย และเอื้อประโยชน์ต่อรัฐวิสาหกิจ(ที่จะเจ๊ง อย่างโรงงานยาสูบ) แต่ก็ไม่มีใครหน้าไหนกล้าแตะกับภาษีสรรพสามิต เพราะมันก็เป็นอีกเส้นเลือดใหญ่ของรัฐฯ ทั้งในทางภาษี และ"ส่วนตัว"
ก็เลยทำได้แค่ออกกฎหมายลูบหน้าปะจมูก กำปั้นทุบดิ้น ให้เป็นช่องโหว่เต็มไปหมดแบบนี้

ปล. จากใจคนทำงานกับกฎหมายเยอะพอสมควร จะสังเกตุได้ว่า ยิ่งกฎหมายเกี่ยวกับ"เงิน และช่องทางทำมาหากิน"ในช่วง10+ปีหลังนี้ จะพยายามถอยจากการเขียนให้รัดกุม เป็นเขียนให้กว้างมากที่สุดเท่าที่จะทำได้...รูเต็มไปหมดครับ  



ตีความ มาตรา 246 พรบ ศุลกากร 2560 ให้ดีนะครับ

มาตรา ๒๔๖ ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจําหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานําหรือรับไว้ โดยประการใดซึ่งของอันตนพึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา ๒๔๒ ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับเป็นเงินสี่เท่าของราคาของซ่ึงได้รวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วหรือทั้งจําท้ังปรับ

ผมว่ารอดยาก!  


พรบ.ศุลกากร ควบคุมกระบวนการการนำเข้า และ มาตรา 246 กล่าวขยายความของความผิดตามมาตรา 242 ซึ่งเป็นความผิดส่วนของลักลอบหนีศุลกากร

เห็นด้วยครับว่าในทางข้อกฎหมาย มีช่องเล่นงานได้ แต่อย่างที่ว่า สำหรับคนไทย กว่าจะไล่เบี้ยกันเจอ ลูบหน้าปะจมูก เพราะต้องไล่ต่อว่าหลุดมาด่านไหนยังไง ใครนำเข้า ใครจำหน่าย
ซึ่งเอาจริงๆก็เกินหน้าที่ของตำรวจที่จะทำเรื่องเอง เพราะการจะจับแบบนั้น เป็นอำนาจของทางศุลกากรที่จะร้องขอต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจให้ร่วมมือ แต่เจ้าหน้าที่ตำรวจทำเองโดยพลการและปรับเองไม่ได้...แค่ลักไก่กัน

แต่สำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ มันเล่นง่ายตรงที่ไม่ถือมาเอง(ลักลอบ) ก็ซื้อ(มาตรา 246 ที่ท่านว่า) และที่สำคัญ นักท่องเที่ยวเองไม่รู้แน่ๆว่าหน่วยงานไหนมีอำนาจแค่ไหน ทำมาหากินง่ายกว่าเยอะครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบจ.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 08 Sep 2013
ตอบ: 7430
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Feb 01, 2023 14:05
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
ตำหนวดดูดกันเต็ม แถมของฟรีเพราะไปยึดเค้ามาใช้เอง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอล ดิวิชั่น 1
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 18057
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Feb 02, 2023 21:23
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
xzyte พิมพ์ว่า:
Noel Wong พิมพ์ว่า:
มันเป็นสองแง่สองง่ามครับ...โพสนี้ไม่บอกว่าใครถูกใครผิด เหมาะสมหรือไม่อย่างไร

ตอบในมุมของผู้ประกอบการชิปปิ้ง ที่ติดต่อตรงกับหน่วยงานควบคุมการนำเข้า(ศุลกากร)
ประกาศฯมันควบคุมแค่"ห้ามนำเข้า" และ"ห้ามขาย" แต่ไม่กล่าวถึงผู้ครอบครอง

ในส่วนของผู้ครอบครอง ที่เป็นผู้อาศัยอยู่ในประเทศไทย มันค่อนข้างพิสูจน์ยาก ว่านำเข้าหรือยังไง
คือจริงๆก็มีช่องนิดๆ แต่ก็"ทำมาหากิน"ยาก และเสี่ยงจะโดนย้อนศร เขาเหล่านั้นก็เลยไม่เล่นมุมนี้มากนัก

แต่ในส่วนของ"นักท่องเที่ยว" มันกลับกลายเป็นว่า ง่ายต่อการไล่ เพราะมีแค่ 2 วิธี
1. ถือติดตัวมา : ส่วนใหญ่แทบจะเรียกว่าทั้งหมดคือถือมานั่นแหละ แต่แค่ว่าสำแดงศุลกากรขาเข้ามั๊ย ถ้าไม่สำแดงนั่นคือลักลอบนำเข้าสิ่งผิดกฎหมาย
2. หาในนี้ : เอาจริงๆก็ไม่คาดว่านักท่องเที่ยวคนไหนจะมาซื้อในนี้ แต่ก็เป็นอีกรู ซึ่งเขาเหล่านั้นก็ใช้เป็นช่องขู่ต่อได้ว่า ไปซื้อมาจากไหน รับของโจรมั๊ย บลาๆๆๆๆๆ
ส่วนของนักท่องเที่ยวจึง"ทำมาหากิน"ง่ายกว่า ยิ่งกับเขาเหล่านั้น ที่ไม่ศึกษาข้อกฎหมายให้รอบคอบด้วยแล้ว

กฎหมายฉบับนี้เป็นอีกฉบับที่ล้าสมัย และเอื้อประโยชน์ต่อรัฐวิสาหกิจ(ที่จะเจ๊ง อย่างโรงงานยาสูบ) แต่ก็ไม่มีใครหน้าไหนกล้าแตะกับภาษีสรรพสามิต เพราะมันก็เป็นอีกเส้นเลือดใหญ่ของรัฐฯ ทั้งในทางภาษี และ"ส่วนตัว"
ก็เลยทำได้แค่ออกกฎหมายลูบหน้าปะจมูก กำปั้นทุบดิ้น ให้เป็นช่องโหว่เต็มไปหมดแบบนี้

ปล. จากใจคนทำงานกับกฎหมายเยอะพอสมควร จะสังเกตุได้ว่า ยิ่งกฎหมายเกี่ยวกับ"เงิน และช่องทางทำมาหากิน"ในช่วง10+ปีหลังนี้ จะพยายามถอยจากการเขียนให้รัดกุม เป็นเขียนให้กว้างมากที่สุดเท่าที่จะทำได้...รูเต็มไปหมดครับ  



ตีความ มาตรา 246 พรบ ศุลกากร 2560 ให้ดีนะครับ

มาตรา ๒๔๖ ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจําหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานําหรือรับไว้ โดยประการใดซึ่งของอันตนพึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา ๒๔๒ ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับเป็นเงินสี่เท่าของราคาของซ่ึงได้รวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วหรือทั้งจําท้ังปรับ

ผมว่ารอดยาก!  
ผิดจริง แต่เราใช้มาตรา256 257ช่วย โดยให้ศุลกากรทำการเปรียบเทียบให้จบที่ชั้นศุลกากรได้ โดยศุลกากรแค่ยึดของกลางเท่านั้น ตามนี้เลยhttps://ilaw.or.th/node/6124
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 Oct 2010
ตอบ: 1035
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 03, 2023 00:15
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
YEDI พิมพ์ว่า:
xzyte พิมพ์ว่า:
Noel Wong พิมพ์ว่า:
มันเป็นสองแง่สองง่ามครับ...โพสนี้ไม่บอกว่าใครถูกใครผิด เหมาะสมหรือไม่อย่างไร

ตอบในมุมของผู้ประกอบการชิปปิ้ง ที่ติดต่อตรงกับหน่วยงานควบคุมการนำเข้า(ศุลกากร)
ประกาศฯมันควบคุมแค่"ห้ามนำเข้า" และ"ห้ามขาย" แต่ไม่กล่าวถึงผู้ครอบครอง

ในส่วนของผู้ครอบครอง ที่เป็นผู้อาศัยอยู่ในประเทศไทย มันค่อนข้างพิสูจน์ยาก ว่านำเข้าหรือยังไง
คือจริงๆก็มีช่องนิดๆ แต่ก็"ทำมาหากิน"ยาก และเสี่ยงจะโดนย้อนศร เขาเหล่านั้นก็เลยไม่เล่นมุมนี้มากนัก

แต่ในส่วนของ"นักท่องเที่ยว" มันกลับกลายเป็นว่า ง่ายต่อการไล่ เพราะมีแค่ 2 วิธี
1. ถือติดตัวมา : ส่วนใหญ่แทบจะเรียกว่าทั้งหมดคือถือมานั่นแหละ แต่แค่ว่าสำแดงศุลกากรขาเข้ามั๊ย ถ้าไม่สำแดงนั่นคือลักลอบนำเข้าสิ่งผิดกฎหมาย
2. หาในนี้ : เอาจริงๆก็ไม่คาดว่านักท่องเที่ยวคนไหนจะมาซื้อในนี้ แต่ก็เป็นอีกรู ซึ่งเขาเหล่านั้นก็ใช้เป็นช่องขู่ต่อได้ว่า ไปซื้อมาจากไหน รับของโจรมั๊ย บลาๆๆๆๆๆ
ส่วนของนักท่องเที่ยวจึง"ทำมาหากิน"ง่ายกว่า ยิ่งกับเขาเหล่านั้น ที่ไม่ศึกษาข้อกฎหมายให้รอบคอบด้วยแล้ว

กฎหมายฉบับนี้เป็นอีกฉบับที่ล้าสมัย และเอื้อประโยชน์ต่อรัฐวิสาหกิจ(ที่จะเจ๊ง อย่างโรงงานยาสูบ) แต่ก็ไม่มีใครหน้าไหนกล้าแตะกับภาษีสรรพสามิต เพราะมันก็เป็นอีกเส้นเลือดใหญ่ของรัฐฯ ทั้งในทางภาษี และ"ส่วนตัว"
ก็เลยทำได้แค่ออกกฎหมายลูบหน้าปะจมูก กำปั้นทุบดิ้น ให้เป็นช่องโหว่เต็มไปหมดแบบนี้

ปล. จากใจคนทำงานกับกฎหมายเยอะพอสมควร จะสังเกตุได้ว่า ยิ่งกฎหมายเกี่ยวกับ"เงิน และช่องทางทำมาหากิน"ในช่วง10+ปีหลังนี้ จะพยายามถอยจากการเขียนให้รัดกุม เป็นเขียนให้กว้างมากที่สุดเท่าที่จะทำได้...รูเต็มไปหมดครับ  



ตีความ มาตรา 246 พรบ ศุลกากร 2560 ให้ดีนะครับ

มาตรา ๒๔๖ ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจําหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานําหรือรับไว้ โดยประการใดซึ่งของอันตนพึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา ๒๔๒ ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับเป็นเงินสี่เท่าของราคาของซ่ึงได้รวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วหรือทั้งจําท้ังปรับ

ผมว่ารอดยาก!  
ผิดจริง แต่เราใช้มาตรา256 257ช่วย โดยให้ศุลกากรทำการเปรียบเทียบให้จบที่ชั้นศุลกากรได้ โดยศุลกากรแค่ยึดของกลางเท่านั้น ตามนี้เลยhttps://ilaw.or.th/node/6124  


แทนที่จะให้จบในชั้นศาล หากยอมรับผิดสามารถใช้ ม.256 ม 257 พรบ ศุลกากร 2560 ได้ ขึ้นอยู่กับมูลค่าว่าจบแค่ อธิบดีหรือคณะกรรมการ

เพิ่มเติม…

พรบ ศุลกากร 2560 ( ยกเลิก พรบ ศุลกากร 2469 ม.27 ม.27 ทวิ )

ม.242 ลักลอบหนีศุลกากร
ม.243 หลีกเลี่ยงภาษีอากร/สำแดงเท็จ
ม.244 นำของต้องห้ามต้องกำกัดเข้าหรือส่งออก
ม.245 ใช้/ช่วยเหลือ/สมคบ
(แทน ม.27 พรบ ปี 2469 )

ม.246 ช่วยซ่อน จำหน่าย พาเอาไปเสีย ซื้อ จำนำ รับไว้ ครอบครอง ตามม.242,243,244
(แทน ม.27 ทวิ พรบ ปี 2469 )







แก้ไขล่าสุดโดย xzyte เมื่อ Fri Feb 03, 2023 00:21, ทั้งหมด 1 ครั้ง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 Oct 2010
ตอบ: 1035
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 04, 2023 21:10
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
YEDI พิมพ์ว่า:
xzyte พิมพ์ว่า:
Noel Wong พิมพ์ว่า:
มันเป็นสองแง่สองง่ามครับ...โพสนี้ไม่บอกว่าใครถูกใครผิด เหมาะสมหรือไม่อย่างไร

ตอบในมุมของผู้ประกอบการชิปปิ้ง ที่ติดต่อตรงกับหน่วยงานควบคุมการนำเข้า(ศุลกากร)
ประกาศฯมันควบคุมแค่"ห้ามนำเข้า" และ"ห้ามขาย" แต่ไม่กล่าวถึงผู้ครอบครอง

ในส่วนของผู้ครอบครอง ที่เป็นผู้อาศัยอยู่ในประเทศไทย มันค่อนข้างพิสูจน์ยาก ว่านำเข้าหรือยังไง
คือจริงๆก็มีช่องนิดๆ แต่ก็"ทำมาหากิน"ยาก และเสี่ยงจะโดนย้อนศร เขาเหล่านั้นก็เลยไม่เล่นมุมนี้มากนัก

แต่ในส่วนของ"นักท่องเที่ยว" มันกลับกลายเป็นว่า ง่ายต่อการไล่ เพราะมีแค่ 2 วิธี
1. ถือติดตัวมา : ส่วนใหญ่แทบจะเรียกว่าทั้งหมดคือถือมานั่นแหละ แต่แค่ว่าสำแดงศุลกากรขาเข้ามั๊ย ถ้าไม่สำแดงนั่นคือลักลอบนำเข้าสิ่งผิดกฎหมาย
2. หาในนี้ : เอาจริงๆก็ไม่คาดว่านักท่องเที่ยวคนไหนจะมาซื้อในนี้ แต่ก็เป็นอีกรู ซึ่งเขาเหล่านั้นก็ใช้เป็นช่องขู่ต่อได้ว่า ไปซื้อมาจากไหน รับของโจรมั๊ย บลาๆๆๆๆๆ
ส่วนของนักท่องเที่ยวจึง"ทำมาหากิน"ง่ายกว่า ยิ่งกับเขาเหล่านั้น ที่ไม่ศึกษาข้อกฎหมายให้รอบคอบด้วยแล้ว

กฎหมายฉบับนี้เป็นอีกฉบับที่ล้าสมัย และเอื้อประโยชน์ต่อรัฐวิสาหกิจ(ที่จะเจ๊ง อย่างโรงงานยาสูบ) แต่ก็ไม่มีใครหน้าไหนกล้าแตะกับภาษีสรรพสามิต เพราะมันก็เป็นอีกเส้นเลือดใหญ่ของรัฐฯ ทั้งในทางภาษี และ"ส่วนตัว"
ก็เลยทำได้แค่ออกกฎหมายลูบหน้าปะจมูก กำปั้นทุบดิ้น ให้เป็นช่องโหว่เต็มไปหมดแบบนี้

ปล. จากใจคนทำงานกับกฎหมายเยอะพอสมควร จะสังเกตุได้ว่า ยิ่งกฎหมายเกี่ยวกับ"เงิน และช่องทางทำมาหากิน"ในช่วง10+ปีหลังนี้ จะพยายามถอยจากการเขียนให้รัดกุม เป็นเขียนให้กว้างมากที่สุดเท่าที่จะทำได้...รูเต็มไปหมดครับ  



ตีความ มาตรา 246 พรบ ศุลกากร 2560 ให้ดีนะครับ

มาตรา ๒๔๖ ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจําหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานําหรือรับไว้ โดยประการใดซึ่งของอันตนพึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา ๒๔๒ ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับเป็นเงินสี่เท่าของราคาของซ่ึงได้รวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วหรือทั้งจําท้ังปรับ

ผมว่ารอดยาก!  
ผิดจริง แต่เราใช้มาตรา256 257ช่วย โดยให้ศุลกากรทำการเปรียบเทียบให้จบที่ชั้นศุลกากรได้ โดยศุลกากรแค่ยึดของกลางเท่านั้น ตามนี้เลยhttps://ilaw.or.th/node/6124  


มาดูกฎหมายอีกรอบ

กรณี ผิดมาตรา 246 กรณีครอบครอง คงจะใช้มาตรา 256 และ 257 เพื่อชำระค่าปรับกับ กรมศุลกากรไม่ได้ เพราะ

มาตรา 256,257 ชำระค่าปรับได้ เมื่อผิด
ม.242 หนีศุลกากร
ม.243 หลีกเลี่ยงภาษี/สำแดงเท็จ
ม.244 นำของต้องห้าม/ของต้องกำกัดเข้า/ส่งออก
ม.247 นำของต้องห้าม ต้องกำกัดที่ยังไม่ผ่านพิธีการ ขึ้นบรรทุก/ออกจากยานพาหนะ)

ลองพิจารณาดูครับ


0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอล ดิวิชั่น 1
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 18057
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Feb 06, 2023 11:22
[RE: สรุป ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้าผิดจริงหรือ]
xzyte พิมพ์ว่า:
YEDI พิมพ์ว่า:
xzyte พิมพ์ว่า:
Noel Wong พิมพ์ว่า:
มันเป็นสองแง่สองง่ามครับ...โพสนี้ไม่บอกว่าใครถูกใครผิด เหมาะสมหรือไม่อย่างไร

ตอบในมุมของผู้ประกอบการชิปปิ้ง ที่ติดต่อตรงกับหน่วยงานควบคุมการนำเข้า(ศุลกากร)
ประกาศฯมันควบคุมแค่"ห้ามนำเข้า" และ"ห้ามขาย" แต่ไม่กล่าวถึงผู้ครอบครอง

ในส่วนของผู้ครอบครอง ที่เป็นผู้อาศัยอยู่ในประเทศไทย มันค่อนข้างพิสูจน์ยาก ว่านำเข้าหรือยังไง
คือจริงๆก็มีช่องนิดๆ แต่ก็"ทำมาหากิน"ยาก และเสี่ยงจะโดนย้อนศร เขาเหล่านั้นก็เลยไม่เล่นมุมนี้มากนัก

แต่ในส่วนของ"นักท่องเที่ยว" มันกลับกลายเป็นว่า ง่ายต่อการไล่ เพราะมีแค่ 2 วิธี
1. ถือติดตัวมา : ส่วนใหญ่แทบจะเรียกว่าทั้งหมดคือถือมานั่นแหละ แต่แค่ว่าสำแดงศุลกากรขาเข้ามั๊ย ถ้าไม่สำแดงนั่นคือลักลอบนำเข้าสิ่งผิดกฎหมาย
2. หาในนี้ : เอาจริงๆก็ไม่คาดว่านักท่องเที่ยวคนไหนจะมาซื้อในนี้ แต่ก็เป็นอีกรู ซึ่งเขาเหล่านั้นก็ใช้เป็นช่องขู่ต่อได้ว่า ไปซื้อมาจากไหน รับของโจรมั๊ย บลาๆๆๆๆๆ
ส่วนของนักท่องเที่ยวจึง"ทำมาหากิน"ง่ายกว่า ยิ่งกับเขาเหล่านั้น ที่ไม่ศึกษาข้อกฎหมายให้รอบคอบด้วยแล้ว

กฎหมายฉบับนี้เป็นอีกฉบับที่ล้าสมัย และเอื้อประโยชน์ต่อรัฐวิสาหกิจ(ที่จะเจ๊ง อย่างโรงงานยาสูบ) แต่ก็ไม่มีใครหน้าไหนกล้าแตะกับภาษีสรรพสามิต เพราะมันก็เป็นอีกเส้นเลือดใหญ่ของรัฐฯ ทั้งในทางภาษี และ"ส่วนตัว"
ก็เลยทำได้แค่ออกกฎหมายลูบหน้าปะจมูก กำปั้นทุบดิ้น ให้เป็นช่องโหว่เต็มไปหมดแบบนี้

ปล. จากใจคนทำงานกับกฎหมายเยอะพอสมควร จะสังเกตุได้ว่า ยิ่งกฎหมายเกี่ยวกับ"เงิน และช่องทางทำมาหากิน"ในช่วง10+ปีหลังนี้ จะพยายามถอยจากการเขียนให้รัดกุม เป็นเขียนให้กว้างมากที่สุดเท่าที่จะทำได้...รูเต็มไปหมดครับ  



ตีความ มาตรา 246 พรบ ศุลกากร 2560 ให้ดีนะครับ

มาตรา ๒๔๖ ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจําหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานําหรือรับไว้ โดยประการใดซึ่งของอันตนพึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา ๒๔๒ ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับเป็นเงินสี่เท่าของราคาของซ่ึงได้รวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วหรือทั้งจําท้ังปรับ

ผมว่ารอดยาก!  
ผิดจริง แต่เราใช้มาตรา256 257ช่วย โดยให้ศุลกากรทำการเปรียบเทียบให้จบที่ชั้นศุลกากรได้ โดยศุลกากรแค่ยึดของกลางเท่านั้น ตามนี้เลยhttps://ilaw.or.th/node/6124  


มาดูกฎหมายอีกรอบ

กรณี ผิดมาตรา 246 กรณีครอบครอง คงจะใช้มาตรา 256 และ 257 เพื่อชำระค่าปรับกับ กรมศุลกากรไม่ได้ เพราะ

มาตรา 256,257 ชำระค่าปรับได้ เมื่อผิด
ม.242 หนีศุลกากร
ม.243 หลีกเลี่ยงภาษี/สำแดงเท็จ
ม.244 นำของต้องห้าม/ของต้องกำกัดเข้า/ส่งออก
ม.247 นำของต้องห้าม ต้องกำกัดที่ยังไม่ผ่านพิธีการ ขึ้นบรรทุก/ออกจากยานพาหนะ)

ลองพิจารณาดูครับ


 
ตอนแรกผมก็เข้าใจแบบท่านนะ แต่ไปอ่านหนังสือมาบอกว่า 256/257 ใช้ได้กับทุกมาตราของพรบ.นี้ครับ อ้างอิงจากหนังสือของอ.มาโนช รอดสม อดีตผอ.กองกฏหมายของกรมศุลกากร กรณีที่ท่านว่าคือความผิดตามมาตราดังกล่าวถ้ารวมเกินสี่แสนบาทจะเป็นอำนาจของคณะกรรมการเปรียบเทียบแทน
แก้ไขล่าสุดโดย YEDI เมื่อ Mon Feb 06, 2023 11:27, ทั้งหมด 2 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel