ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ข.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 29 Apr 2009
ตอบ: 8302
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 14:22
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
YOKKUB พิมพ์ว่า:
เนี่ย เเค่บอร์ดฟุตบอลที่นี้ที่เดียวก็อธิบายเรื่องนี้ได้ดีกว่ารัฐบาล นายก เสี่ยหนูเเล้ว ยิ่งเจอเเบบนี้ยิ่งสิ้นหวังนะ ตำเเหน่งโคตรสำคัญในประเทศไปเอาพวกเเบบนั้นมานั่งกันได้ยังไง  


เอาทหารมาเป็นนายก เอาผู้รับเหมามานั่งคุมกระทรวง สธ

ผมเองที่อยู่สายการแพทย์ก็เบื่อเหมือนกันครับ ขัดหูขัดตาขัดใจ แถมพวกมีตำแหน่งข้างในก็ตามพวกนี้ไปด้วย
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 28 Jan 2010
ตอบ: 88
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 14:43
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
จริงๆ คำถามที่เค้าถาม ถ้าติดตามอ่านข่าวหรือสนใจบ้างก็พอจะตอบได้

แต่นี่ดันเอาคนไม่มีความรู้อะไรเลยมาตอบ มันก็ได้คำตอบแบบใส่แต่อารมณ์

ส่วนเรื่องทำไมไม่ให้ GPO เป็นคนรับเทคโนโลยีและผลิตวัคซีน

คงต้องไปถามทาง AZ เพราะ AZ เป็นคนเลือก แต่สิ่งสำคัญที่อยากรู้ตอนนี้

คือ สัญญาและข้อตกลงของ AZ SBS และรัฐบาล เรื่องวัคซีนเป็นอย่างไร

เงินลงทุน การถ่ายทอดความรู้ และผลประโยชน์ จะจบแบบไหน

เพราะถ้าปล่อยไว้แบบนี้คนก็เถียงกันไปเรื่อย ไม่ได้ข้อสรุปซักที
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 Feb 2009
ตอบ: 310
ที่อยู่: อยู่กับก๋ง
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 15:26
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
SSRIs พิมพ์ว่า:
ขอตอบในฐานะที่ทำงานในวงการการผลิตยาปราศจากเชื้อนะครับ
อันนี้คือมุมมองส่วนตัว ซึ่งก่อนอื่นต้องบอกเลยว่า ผมไม่ใช่คนที่ชื่นชอบรัฐบาล

อันดับแรก รัฐบาล โดยเฉพาะ อ.ย. ต้องทำให้ประชาชนทราบก่อนว่า
การผลิตยานั้น เวลาเขาอนุญาต เขาไม่ได้อนุญาตให้ผลิตยาทุกประเภท
แต่จะให้อนุญาตในรูปแบบเภสัชภัณฑ์นั้นๆ เช่น เม็ด, น้ำ, ยาปราศจากเชื้อ, ชีววัตถุ ฯลฯ
ซึ่งไอ่เจ้าวัคซีนนี่มันเป็นเภสัชภัณฑ์รูปแบบหนึ่งของชีววัตถุ ซึ่งมีกระบวนการผลิต
ที่แตกต่างจากยาประเภทอื่นโดยสิ้นเชิงครับ

โรงงานผลิตยาภายในประเทศมีหลักหลายสิบ แต่ที่ได้รับอนุญาตการผลิตยาประเภทชีววัตถุนั้นน้อยมาก
่ซึ่งไม่ถึงหลักสิบด้วยซ้ำ เช่น GPO-Merieux, สภากาชาดไทย เป็นต้น
ของเอกชนก็จะมี Bionet-Asia, Siam bioscience เป็นต้น

ที่นี้เราก็ต้องมาดูเหตุผลในแต่ละประเภทก่อน เนื่องจากการผลิตวัคซีนนั้น ใช้ไลน์การผลิตเดียวกันหมด
ดังนั้นบางโรงงาน จำเป็นต้องคงการผลิตเพื่อใช้ผลิตวัคซีนจำเป็นในประเทศ โดยเฉพาะของรัฐเอง
ดังนั้นถ้าจะจัดสรรให้โรงงานผลิตของรัฐไปเดินหน้า COVID เต็มสูบ มันอาจจะส่งผลกระทบต่อ
วัคซีนอื่นๆ ภายในประเทศได้ อีกอย่างวัคซีนมันอายุไม่ยืน ดังนั้นถ้าเร่งการผลิตเพื่อวัคซีน COVID
มันก็อาจจะมีปัญหาอื่นตามมาได้

ดังนั้น หวยมันเลยมาลงที่ Siam bioscience เพราะอะไร? เนื่องจากบริษัทนี้เป็นบริษัทที่ยังเปิดไม่นาน
และไม่ได้เน้นการทำวัคซีน แต่ Siam bioscience ผลิต"ยา" ที่เป็นชีววัตถุ ซึ่งยาประเภทนี้
ไม่ใช่ว่าผลิตแล้วจะสามารถขายเลย ยาชีววัตถุที่เป็นตัวเลียนแบบเราจะเรียกว่า Biosimilar
ซึ่งจะมีโครงสร้างสามมิติที่แตกต่างจากยาชีววัตถุต้นแบบ ดังนั้น Biosimilar ผลิตมาแล้ว
ก็ต้องนำไปทดสอบการใช้ในมนุษย์ที่เรียกว่า Clinical trials อีกทีอยู่ดี

ดังนั้นถ้าเราเช็ค product pipeline (ความคืบหน้าของผลิตภัณฑ์ของบริษัท)
จะเห็นในชาร์ตว่ายาแต่ละผลิตภัณฑ์ของบริษัทดำเนินไปถึง phase ไหนแล้วของ Clinical trials
(ผมว่าลิงค์ไม่เจอ เดี๋ยวถ้าเจอจะแปะให้)
ซึ่งถ้าเข้าไปดูจะเห็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตให้ขายแล้วคือ ยาเพิ่มเม็ดเลือดและยามะเร็ง 1 ตัว
ถ้าให้ผมเดา ไลน์การผลิตจะค่อนข้างว่าง เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ อาจมีการใช้ไม่เยอะ
ดังนั้น มันจึงไม่แปลกที่หวยจะตกมายังที่บริษัทนี้ เพราะบริษัทเองได้รับอนุญาตในการผลิตยาชีววัตถุมานานแล้ว
ไม่ใช่เพิ่งได้รับอนุญาต

ดังนั้น ทางรัฐควรให้ความเข้าใจประชาชนก่อน ไม่ใช่แก้ต่างโดยดึงสถาบันลงมา
เพราะความซวยอย่างนึงมันคือ บริษัทนี้เจ้าของคือบริษัทในเครือของสถาบันพระมหากษัตริย์
ซึ่งกำลังถูกสังคมวิพากษ์อย่างหนักหน่วง ทีนี้พอข่าวมันมา คนก็เลยพากันกระหน่ำโจมตี

ดังนั้นเพื่อป้องกันเรื่องการใช้ภาษี หรือ Conflict of interest ดังนั้นภาครัฐ
ควรจัดการให้ดี โดยเฉพาะเรื่องสัญญาจ้างอะไรพวกนี้  


ขอโควตเพราะมีความเห็นแย้งหลักๆ ผมเป็นแค่นักธุรกิจคนหนึ่ง ประเด็นมากกว่าความพร้อมหรือโอกาสในการผลิตที่ท่านบอกว่าเพราะอะไรถึงเป็นsbs นั้นถ้ามองด้านธุรกิจมันฟังไม่ค่อยขึ้นตรที่รัฐสนับสนุนเงินให้เอกชนโดยตรง แถมวัคซีนที่รัฐซื้อกลับมาดันแพงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน มันกลายเป็นเรื่องที่รัฐสูญเสียประโยชน์ แต่กลับเป๋นบ.เอกชนหนึ่งได้รับประโยชน์แทน

อีกมุมหนึ่ง ถ้ารัฐกล้าสนับสนุนเงิน1500ล้านในการลงทุนในบ.เอกชน ทำไมไม่เอาเงินก้อนนี้ลงทุนในบ.หรือรัฐวิสาหกิจที่รัฐเป็นเจ้าของ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะตำบล
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 Oct 2010
ตอบ: 935
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 15:50
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
VincenzE พิมพ์ว่า:
SSRIs พิมพ์ว่า:
ขอตอบในฐานะที่ทำงานในวงการการผลิตยาปราศจากเชื้อนะครับ
อันนี้คือมุมมองส่วนตัว ซึ่งก่อนอื่นต้องบอกเลยว่า ผมไม่ใช่คนที่ชื่นชอบรัฐบาล

อันดับแรก รัฐบาล โดยเฉพาะ อ.ย. ต้องทำให้ประชาชนทราบก่อนว่า
การผลิตยานั้น เวลาเขาอนุญาต เขาไม่ได้อนุญาตให้ผลิตยาทุกประเภท
แต่จะให้อนุญาตในรูปแบบเภสัชภัณฑ์นั้นๆ เช่น เม็ด, น้ำ, ยาปราศจากเชื้อ, ชีววัตถุ ฯลฯ
ซึ่งไอ่เจ้าวัคซีนนี่มันเป็นเภสัชภัณฑ์รูปแบบหนึ่งของชีววัตถุ ซึ่งมีกระบวนการผลิต
ที่แตกต่างจากยาประเภทอื่นโดยสิ้นเชิงครับ

โรงงานผลิตยาภายในประเทศมีหลักหลายสิบ แต่ที่ได้รับอนุญาตการผลิตยาประเภทชีววัตถุนั้นน้อยมาก
่ซึ่งไม่ถึงหลักสิบด้วยซ้ำ เช่น GPO-Merieux, สภากาชาดไทย เป็นต้น
ของเอกชนก็จะมี Bionet-Asia, Siam bioscience เป็นต้น

ที่นี้เราก็ต้องมาดูเหตุผลในแต่ละประเภทก่อน เนื่องจากการผลิตวัคซีนนั้น ใช้ไลน์การผลิตเดียวกันหมด
ดังนั้นบางโรงงาน จำเป็นต้องคงการผลิตเพื่อใช้ผลิตวัคซีนจำเป็นในประเทศ โดยเฉพาะของรัฐเอง
ดังนั้นถ้าจะจัดสรรให้โรงงานผลิตของรัฐไปเดินหน้า COVID เต็มสูบ มันอาจจะส่งผลกระทบต่อ
วัคซีนอื่นๆ ภายในประเทศได้ อีกอย่างวัคซีนมันอายุไม่ยืน ดังนั้นถ้าเร่งการผลิตเพื่อวัคซีน COVID
มันก็อาจจะมีปัญหาอื่นตามมาได้

ดังนั้น หวยมันเลยมาลงที่ Siam bioscience เพราะอะไร? เนื่องจากบริษัทนี้เป็นบริษัทที่ยังเปิดไม่นาน
และไม่ได้เน้นการทำวัคซีน แต่ Siam bioscience ผลิต"ยา" ที่เป็นชีววัตถุ ซึ่งยาประเภทนี้
ไม่ใช่ว่าผลิตแล้วจะสามารถขายเลย ยาชีววัตถุที่เป็นตัวเลียนแบบเราจะเรียกว่า Biosimilar
ซึ่งจะมีโครงสร้างสามมิติที่แตกต่างจากยาชีววัตถุต้นแบบ ดังนั้น Biosimilar ผลิตมาแล้ว
ก็ต้องนำไปทดสอบการใช้ในมนุษย์ที่เรียกว่า Clinical trials อีกทีอยู่ดี

ดังนั้นถ้าเราเช็ค product pipeline (ความคืบหน้าของผลิตภัณฑ์ของบริษัท)
จะเห็นในชาร์ตว่ายาแต่ละผลิตภัณฑ์ของบริษัทดำเนินไปถึง phase ไหนแล้วของ Clinical trials
(ผมว่าลิงค์ไม่เจอ เดี๋ยวถ้าเจอจะแปะให้)
ซึ่งถ้าเข้าไปดูจะเห็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตให้ขายแล้วคือ ยาเพิ่มเม็ดเลือดและยามะเร็ง 1 ตัว
ถ้าให้ผมเดา ไลน์การผลิตจะค่อนข้างว่าง เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ อาจมีการใช้ไม่เยอะ
ดังนั้น มันจึงไม่แปลกที่หวยจะตกมายังที่บริษัทนี้ เพราะบริษัทเองได้รับอนุญาตในการผลิตยาชีววัตถุมานานแล้ว
ไม่ใช่เพิ่งได้รับอนุญาต

ดังนั้น ทางรัฐควรให้ความเข้าใจประชาชนก่อน ไม่ใช่แก้ต่างโดยดึงสถาบันลงมา
เพราะความซวยอย่างนึงมันคือ บริษัทนี้เจ้าของคือบริษัทในเครือของสถาบันพระมหากษัตริย์
ซึ่งกำลังถูกสังคมวิพากษ์อย่างหนักหน่วง ทีนี้พอข่าวมันมา คนก็เลยพากันกระหน่ำโจมตี

ดังนั้นเพื่อป้องกันเรื่องการใช้ภาษี หรือ Conflict of interest ดังนั้นภาครัฐ
ควรจัดการให้ดี โดยเฉพาะเรื่องสัญญาจ้างอะไรพวกนี้  


ผมเองก็เดาไม่ได้จากไลน์การผลิตที่อาจจะว่างหรือไม่ว่างของ SBS

ในไทยไม่ได้มีบ.เดียวที่ผลิตชีววัตถุได้อย่างที่คุณว่า แต่เรื่องความพร้อมคือประเด็นสำคัญ ทางสถาบันวัคซีนแห่งชาติออกมาแถลงว่า "มีเพียง “สยามไบโอไซเอนซ์” เท่านั้นที่มีศักยภาพในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตในรูปแบบของ Viral vector vaccine" กลับกับคำแถลงการณ์ที่อธิบายเพิ่มเติมคือ เงินอัดฉีดจากรัฐ 595 ล้านบาท สนับสนุนอีก 100 ล้านบาท เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" ตกลงผ่านการคัดเลือกหรือมีเงินสนับสนุนเพื่อให้ผ่าน ตัดประเด็นที่ตอนนี้ใครเป็นคนถือหุ้น SBS ไปเลย ต่อให้ บ.อื่นได้แทนแล้วผลออกมาแบบนี้ แถลงการณ์แบบนี้ มันก็น่าสงสัยไม่ใช่เหรอครับ

เรื่อง Biosimilar ไม่เกี่ยวกับการผลิตวัคซีนตัวนี้นี่ครับ SBS ได้เป็น HUB ในการผลิตโดย Aztra-oxford จะถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้ ซึ่งก็คือเหมือนยกแพลนต์ชีววัตถุที่เหมือนกับทางต้นทางมาใส่แพลนต์ของ SBS เลย บ.ที่ทำชีววัตถุทุกที่ต้องทำ Biosimilar อยู่แล้ว ก่อนทำการขึ้นทะเบียนยา

ในเมื่อต้องเอาภาษี 6000 ล้านบาทไปจ่ายให้ aztra-oxford ทำไมไม่ทำให้มันเป็นเทคโนโลยีของรัฐ รวม ๆ แล้วคือ 6000 ล้านค่าวัคซีน+เทคโนโลยี 595 ล้าน ไปอัดฉีด SBS เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" แถมดีลกันผ่าน SCG แนะนำเข้าไป SCG กับ SBS เกี่ยวข้องกันในด้านผู้ถือครองหุ้น

ทาง GPO เองก่อนหน้านี้ออกมาประกาศว่ามีความพร้อมเรื่องการผลิตวัคซีน ทั้งของรามา และจุฬา ที่ร่วมมือกันอยู่ คำถามคือ GPO มีแพลนต์อยู่แล้ว การเอาเงินภาษีไปลงทุนให้เอกชนกับเอามาสนับสนุนหน่วยของรัฐเองเนี่ย อันไหนมันดูเหมาะสมกว่ากัน ทาง aztra-oxford มีเงื่อนไขไม่แสวงหากำไร แลกกับการได้เทคโนโลยีนี้มา

ชี้แจงไม่ชัดเจนแถมจ้องจะแจก Pizza อีก  



ว่ากันไปที่ละส่วนปนกันไม่ได้เดี๋ยวงง

1 GPO เขาทำแค่ Virus like particle แล้วก็ Subunit ที่มีข่าววิจัยกับมหาวิทยาลัยหลายแห่ง
แล้วก็กำลังเจรจากับ sinopharm แล้วก็ของอินเดียในการแบ่งบรรจุ


2 งบหกพันล้านคืองบซื้อจาก Astrazeneca คราวนี้เมื่อคราวเกิดโรคระบาดคราวก่อนๆ สั่งซื้อว้คซีนไปกว่าจะได้ ก็หยุดระบาดไปแล้ว เนื่องจากรอคิว ก็เลยหาทางเจรจาเพื่อให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ที่สำคัญคือ AZD1222 ของ Oxford/AZ มีหลักคิดว่า No profit No loss ถ้าจะทำเองก็ส่ง รายชื่อโรงงานในไทยให้ AZ พิจารณา ดูเหมือนจะมี GPO /Bionet asia /SBS

3 พอพิจารณาคุณสมบัติปรากฏว่า สายการผลิตที่ผลิตยาชีววัตถุเพิ่มเม็ดเลือดของ SBS สามารถเข้ากันได้กับกับสายการผลิตของ AD vaccine ของ AZ มากที่สุด โดยการปรับปรุงสายการผลิตและเพิ่มเครื่องมือให้ครบถ้วนนามที่ AZ แนะนำ ( งบที่จัดสรรมา มี่คราวประชุม ครม เมื่อปีก่อน 595 ล้าน เงินส่วนนี้ SBSจะคืนกลับในรูปวัคซีนที่ผลิตได้( ไม่ใช่ส่วนที่ซื้อจาก AZ ในส่วนนี้ SBS กับ AZ ไปคุยนอกรอบกันเอง)

4 จริงๆแล้วตอนนี้ SBS ผลิตน้ำยาตรวจโควิด RT PCR มาตั้งแต่ปีที่แล้วรวมแล้วน่าจะถึงล้านชุดแล้ว (ส่วนนี้ไม่แน่ใจว่าให้ฟรีทั้งหมดหรือคิดแค่ทุน )

5 สายการผลิตจะว่างแค่ไหนจากการผลิตยา เพิ่มเม็ดเลืดแดง เม็ดเลือดขาว ยารักษามะเร็ง แล้วกำลังวิจัยยาอีกหลายตัว รวมถึงอยู่ระหว่างเตรียมขออนุญาตส่งขาย EU ผลที่ได้ชัดๆคือ ยาพวกนี้มาราคาลดลง30-40%
เมื่อหลักคิดของ oxford คือ no profit no loss ตั้งแต่ปรับปรุงระบบ จนเริ่มผลิตถึงวันนี้น่าจะเข้าสู่การผลิตทดสอบ batch ที่ 3 หรื 4 (จาก 5 batch ) หลังจากนั้นก็ให้ AZ ตรวจสอบคุณภาพ ก่อนให้ อย. ตาวจอีกครั้ง น่าจะได้ผลสรุปก่อนเดินเครื่องจริงในเดือน พค นั่นหมายความว่าทั้งปีหลังจากนี้หรือต่อไปจนถึงปีหน้า สายการผลิตนี้จะกลับมาผลิตยาของ SBS ไม่ได้เลย
นอกจากไม่ได้กำไรแล้วต้องควักเนื้อลองคิดดูว่า ถ้าไม่ใช่โรงงานของรัฐที่มีความพร้อมจริงๆ เอกชนรายไหนบ้างจะยอมผลิตโดยไม่ได้ผลตอบแทนในส่วนนี้

6 ราคาวัคซีน AZD1222 ในขณะนี้ดูเหมือนจะถูกที่สุด ถูกกว่ารายอื่นหลายเท่าตัว
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะกลางซอย
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 1053
ที่อยู่: สามย่าน
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 16:07
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
อ่านกระทู้นี้ได้ความรู้กว่าตามข่าวอีก ถถถถถถ



จากที่อ่านมา ผมสรุปประเด็นได้ว่า รัฐบาล เสียเงินซื้อ knowhow เพื่อมาผลิต และรักษาในประเทศ

โดยเลือกบ. sbs เพราะว่า เป็น บ.ที่ ร.9 ที่มีสถานะ เป็นเอกชนตั้งขึ้น และอัดฉีด เงินเข้าไปเพื่อให้มีความพร้อมในการผลิต

โดย เจ้าของ ลิขสิทธิ์ วัคซีน เห็นว่า SBS เป็น บริษัทเดียว ในประเทศไทยที่มีความพร้อมในการผลิต (เนื่องจากการอัดฉีดเงินเข้าไปของรัฐฯ) จึงยกลิขสิทธิ์ นี้ให้ บริษัท นี้

ซึ่งผมคาดว่าต่อไปจะสามารถผลิตได้ในปริมาณมาก พอเพียง และฟรี สำหรับคนในประเทศ และ ส่งขายแก่ประเทศในกลุ่มภูมิภาคนี้ (เนื่องจาก โลเคชั่น การเป็น Hub) อันนี้คิดเอง เพราะประเทศเพื่อนบ้านเรายังต้องนำเข้าจากจีนซึ่งคาดว่า ไทย จะขายได้ถูกกว่าแน่ๆ เพราะ การขนส่งง่ายกว่า ไวกว่า ได้ในปริมาณมากกว่า

ส่วนในเรื่่องที่ว่า ทำไมต้องใช้ SBS ส่วนตัวคิดว่า เพราะถ้าให้เอกชนเจ้าอื่น ประชาชน หรือ รัฐ อาจจะต้องเสียเงินในราคาแพง เพื่อฉีดให้ประชาชน เพราะสินค้าจะอยู่ในกลุ่มสินค้า กึ่งผูกขาด ซึ่งถ้ารัฐควบคุมการขายเองได้ จะง่ายกว่า

ประมาณนี้ครับ [/u]
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ข.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 29 Apr 2009
ตอบ: 8302
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 16:32
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
xzyte พิมพ์ว่า:
VincenzE พิมพ์ว่า:
SSRIs พิมพ์ว่า:
ขอตอบในฐานะที่ทำงานในวงการการผลิตยาปราศจากเชื้อนะครับ
อันนี้คือมุมมองส่วนตัว ซึ่งก่อนอื่นต้องบอกเลยว่า ผมไม่ใช่คนที่ชื่นชอบรัฐบาล

อันดับแรก รัฐบาล โดยเฉพาะ อ.ย. ต้องทำให้ประชาชนทราบก่อนว่า
การผลิตยานั้น เวลาเขาอนุญาต เขาไม่ได้อนุญาตให้ผลิตยาทุกประเภท
แต่จะให้อนุญาตในรูปแบบเภสัชภัณฑ์นั้นๆ เช่น เม็ด, น้ำ, ยาปราศจากเชื้อ, ชีววัตถุ ฯลฯ
ซึ่งไอ่เจ้าวัคซีนนี่มันเป็นเภสัชภัณฑ์รูปแบบหนึ่งของชีววัตถุ ซึ่งมีกระบวนการผลิต
ที่แตกต่างจากยาประเภทอื่นโดยสิ้นเชิงครับ

โรงงานผลิตยาภายในประเทศมีหลักหลายสิบ แต่ที่ได้รับอนุญาตการผลิตยาประเภทชีววัตถุนั้นน้อยมาก
่ซึ่งไม่ถึงหลักสิบด้วยซ้ำ เช่น GPO-Merieux, สภากาชาดไทย เป็นต้น
ของเอกชนก็จะมี Bionet-Asia, Siam bioscience เป็นต้น

ที่นี้เราก็ต้องมาดูเหตุผลในแต่ละประเภทก่อน เนื่องจากการผลิตวัคซีนนั้น ใช้ไลน์การผลิตเดียวกันหมด
ดังนั้นบางโรงงาน จำเป็นต้องคงการผลิตเพื่อใช้ผลิตวัคซีนจำเป็นในประเทศ โดยเฉพาะของรัฐเอง
ดังนั้นถ้าจะจัดสรรให้โรงงานผลิตของรัฐไปเดินหน้า COVID เต็มสูบ มันอาจจะส่งผลกระทบต่อ
วัคซีนอื่นๆ ภายในประเทศได้ อีกอย่างวัคซีนมันอายุไม่ยืน ดังนั้นถ้าเร่งการผลิตเพื่อวัคซีน COVID
มันก็อาจจะมีปัญหาอื่นตามมาได้

ดังนั้น หวยมันเลยมาลงที่ Siam bioscience เพราะอะไร? เนื่องจากบริษัทนี้เป็นบริษัทที่ยังเปิดไม่นาน
และไม่ได้เน้นการทำวัคซีน แต่ Siam bioscience ผลิต"ยา" ที่เป็นชีววัตถุ ซึ่งยาประเภทนี้
ไม่ใช่ว่าผลิตแล้วจะสามารถขายเลย ยาชีววัตถุที่เป็นตัวเลียนแบบเราจะเรียกว่า Biosimilar
ซึ่งจะมีโครงสร้างสามมิติที่แตกต่างจากยาชีววัตถุต้นแบบ ดังนั้น Biosimilar ผลิตมาแล้ว
ก็ต้องนำไปทดสอบการใช้ในมนุษย์ที่เรียกว่า Clinical trials อีกทีอยู่ดี

ดังนั้นถ้าเราเช็ค product pipeline (ความคืบหน้าของผลิตภัณฑ์ของบริษัท)
จะเห็นในชาร์ตว่ายาแต่ละผลิตภัณฑ์ของบริษัทดำเนินไปถึง phase ไหนแล้วของ Clinical trials
(ผมว่าลิงค์ไม่เจอ เดี๋ยวถ้าเจอจะแปะให้)
ซึ่งถ้าเข้าไปดูจะเห็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตให้ขายแล้วคือ ยาเพิ่มเม็ดเลือดและยามะเร็ง 1 ตัว
ถ้าให้ผมเดา ไลน์การผลิตจะค่อนข้างว่าง เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ อาจมีการใช้ไม่เยอะ
ดังนั้น มันจึงไม่แปลกที่หวยจะตกมายังที่บริษัทนี้ เพราะบริษัทเองได้รับอนุญาตในการผลิตยาชีววัตถุมานานแล้ว
ไม่ใช่เพิ่งได้รับอนุญาต

ดังนั้น ทางรัฐควรให้ความเข้าใจประชาชนก่อน ไม่ใช่แก้ต่างโดยดึงสถาบันลงมา
เพราะความซวยอย่างนึงมันคือ บริษัทนี้เจ้าของคือบริษัทในเครือของสถาบันพระมหากษัตริย์
ซึ่งกำลังถูกสังคมวิพากษ์อย่างหนักหน่วง ทีนี้พอข่าวมันมา คนก็เลยพากันกระหน่ำโจมตี

ดังนั้นเพื่อป้องกันเรื่องการใช้ภาษี หรือ Conflict of interest ดังนั้นภาครัฐ
ควรจัดการให้ดี โดยเฉพาะเรื่องสัญญาจ้างอะไรพวกนี้  


ผมเองก็เดาไม่ได้จากไลน์การผลิตที่อาจจะว่างหรือไม่ว่างของ SBS

ในไทยไม่ได้มีบ.เดียวที่ผลิตชีววัตถุได้อย่างที่คุณว่า แต่เรื่องความพร้อมคือประเด็นสำคัญ ทางสถาบันวัคซีนแห่งชาติออกมาแถลงว่า "มีเพียง “สยามไบโอไซเอนซ์” เท่านั้นที่มีศักยภาพในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตในรูปแบบของ Viral vector vaccine" กลับกับคำแถลงการณ์ที่อธิบายเพิ่มเติมคือ เงินอัดฉีดจากรัฐ 595 ล้านบาท สนับสนุนอีก 100 ล้านบาท เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" ตกลงผ่านการคัดเลือกหรือมีเงินสนับสนุนเพื่อให้ผ่าน ตัดประเด็นที่ตอนนี้ใครเป็นคนถือหุ้น SBS ไปเลย ต่อให้ บ.อื่นได้แทนแล้วผลออกมาแบบนี้ แถลงการณ์แบบนี้ มันก็น่าสงสัยไม่ใช่เหรอครับ

เรื่อง Biosimilar ไม่เกี่ยวกับการผลิตวัคซีนตัวนี้นี่ครับ SBS ได้เป็น HUB ในการผลิตโดย Aztra-oxford จะถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้ ซึ่งก็คือเหมือนยกแพลนต์ชีววัตถุที่เหมือนกับทางต้นทางมาใส่แพลนต์ของ SBS เลย บ.ที่ทำชีววัตถุทุกที่ต้องทำ Biosimilar อยู่แล้ว ก่อนทำการขึ้นทะเบียนยา

ในเมื่อต้องเอาภาษี 6000 ล้านบาทไปจ่ายให้ aztra-oxford ทำไมไม่ทำให้มันเป็นเทคโนโลยีของรัฐ รวม ๆ แล้วคือ 6000 ล้านค่าวัคซีน+เทคโนโลยี 595 ล้าน ไปอัดฉีด SBS เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" แถมดีลกันผ่าน SCG แนะนำเข้าไป SCG กับ SBS เกี่ยวข้องกันในด้านผู้ถือครองหุ้น

ทาง GPO เองก่อนหน้านี้ออกมาประกาศว่ามีความพร้อมเรื่องการผลิตวัคซีน ทั้งของรามา และจุฬา ที่ร่วมมือกันอยู่ คำถามคือ GPO มีแพลนต์อยู่แล้ว การเอาเงินภาษีไปลงทุนให้เอกชนกับเอามาสนับสนุนหน่วยของรัฐเองเนี่ย อันไหนมันดูเหมาะสมกว่ากัน ทาง aztra-oxford มีเงื่อนไขไม่แสวงหากำไร แลกกับการได้เทคโนโลยีนี้มา

ชี้แจงไม่ชัดเจนแถมจ้องจะแจก Pizza อีก  



ว่ากันไปที่ละส่วนปนกันไม่ได้เดี๋ยวงง

1 GPO เขาทำแค่ Virus like particle แล้วก็ Subunit ที่มีข่าววิจัยกับมหาวิทยาลัยหลายแห่ง
แล้วก็กำลังเจรจากับ sinopharm แล้วก็ของอินเดียในการแบ่งบรรจุ


2 งบหกพันล้านคืองบซื้อจาก Astrazeneca คราวนี้เมื่อคราวเกิดโรคระบาดคราวก่อนๆ สั่งซื้อว้คซีนไปกว่าจะได้ ก็หยุดระบาดไปแล้ว เนื่องจากรอคิว ก็เลยหาทางเจรจาเพื่อให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ที่สำคัญคือ AZD1222 ของ Oxford/AZ มีหลักคิดว่า No profit No loss ถ้าจะทำเองก็ส่ง รายชื่อโรงงานในไทยให้ AZ พิจารณา ดูเหมือนจะมี GPO /Bionet asia /SBS

3 พอพิจารณาคุณสมบัติปรากฏว่า สายการผลิตที่ผลิตยาชีววัตถุเพิ่มเม็ดเลือดของ SBS สามารถเข้ากันได้กับกับสายการผลิตของ AD vaccine ของ AZ มากที่สุด โดยการปรับปรุงสายการผลิตและเพิ่มเครื่องมือให้ครบถ้วนนามที่ AZ แนะนำ ( งบที่จัดสรรมา มี่คราวประชุม ครม เมื่อปีก่อน 595 ล้าน เงินส่วนนี้ SBSจะคืนกลับในรูปวัคซีนที่ผลิตได้( ไม่ใช่ส่วนที่ซื้อจาก AZ ในส่วนนี้ SBS กับ AZ ไปคุยนอกรอบกันเอง)

4 จริงๆแล้วตอนนี้ SBS ผลิตน้ำยาตรวจโควิด RT PCR มาตั้งแต่ปีที่แล้วรวมแล้วน่าจะถึงล้านชุดแล้ว (ส่วนนี้ไม่แน่ใจว่าให้ฟรีทั้งหมดหรือคิดแค่ทุน )

5 สายการผลิตจะว่างแค่ไหนจากการผลิตยา เพิ่มเม็ดเลืดแดง เม็ดเลือดขาว ยารักษามะเร็ง แล้วกำลังวิจัยยาอีกหลายตัว รวมถึงอยู่ระหว่างเตรียมขออนุญาตส่งขาย EU ผลที่ได้ชัดๆคือ ยาพวกนี้มาราคาลดลง30-40%
เมื่อหลักคิดของ oxford คือ no profit no loss ตั้งแต่ปรับปรุงระบบ จนเริ่มผลิตถึงวันนี้น่าจะเข้าสู่การผลิตทดสอบ batch ที่ 3 หรื 4 (จาก 5 batch ) หลังจากนั้นก็ให้ AZ ตรวจสอบคุณภาพ ก่อนให้ อย. ตาวจอีกครั้ง น่าจะได้ผลสรุปก่อนเดินเครื่องจริงในเดือน พค นั่นหมายความว่าทั้งปีหลังจากนี้หรือต่อไปจนถึงปีหน้า สายการผลิตนี้จะกลับมาผลิตยาของ SBS ไม่ได้เลย
นอกจากไม่ได้กำไรแล้วต้องควักเนื้อลองคิดดูว่า ถ้าไม่ใช่โรงงานของรัฐที่มีความพร้อมจริงๆ เอกชนรายไหนบ้างจะยอมผลิตโดยไม่ได้ผลตอบแทนในส่วนนี้

6 ราคาวัคซีน AZD1222 ในขณะนี้ดูเหมือนจะถูกที่สุด ถูกกว่ารายอื่นหลายเท่าตัว
 


1. ถูกครับ เป็นรายละเอียดวัคซีนที่ ศิริราช (ผมจำผิดเป็นรามา) และจุฬา กำลังพัฒนา ไม่ได้เกี่ยวข้องกับวัคซีนของ Aztra-oxford

2. No profit No loss รัฐทำไม่ได้เหรอครับ ในเมื่อเม็ดเงินที่ใส่ไปมันก็เยอะ แต่เทคโนโลยีกับ facility ใหม่ไปอยู่กับเอกชน 6000 ล้านบาทตอนแรกคือสั่งซื้อยา 26 ล้านโดส มันได้ช้าเลยเปลี่ยนมาเป็นแบบนี้แทน แต่กว่าจะผลิตได้คือ พ.ค.

3. ตรงส่วนนี้ผมไม่เห็นข้อมูลตามที่คุณบอกมา รายละเอียดที่กล่าวถึงคือมาจากแถลงการณ์ของสถาบันวัคซีนแห่งชาติว่า รัฐสนับสนุน 595 ล้านบาท SCG สนับสนุนให้ 100 ล้านบาท เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" ตรงนี้คือตอนแรกไม่ผ่านเกณฑ์แต่ได้เงินสนับสนุนเพิ่ม facility จนผ่านหรือผ่านแล้วค่อยให้เงิน ในเมื่อพูดเองว่า "จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก"

4. วิจัยร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไม่ใช่ของ SBS เดี่ยว ๆ ครับ

5. สายการผลิตยาดังกล่าวไม่ทราบครับ แต่ยา ชีววัตถุคนละตัว ต่อให้เป็น plant เดียวกันแต่เครื่องมือ อุปกรณ์แยกกันชัดเจน ไหนจะงบใหม่ที่รัฐสนับสนุนให้อีก

ุ6. ใช่ครับ ถูกที่สุด 4 USD แต่ตอนนี้ยังไม่ได้เลย?? แถมงบที่ตั้งตอนแรก 6000/26 ตกโดสละ 230 บาท
ส่วนต่าง 230-120 = 110 บาทต่อโดส เป็นค่าดำเนินการครับ รมต ชี้แจงมาแบบนี้ ซึ่งคำถามที่ตามมาคือดำเนินการอะไรบวกไปอีกเท่าตัว นี่ยังไม่นับงบที่ต้องใช้ฉีดอีก

บ. P เขาเสนอขายให้ก็ไม่เอา แต่ไปเอาจากจีนที่ประสิทธิภาพPhase 3 แค่ 50.4% ในขณะที่เกณฑ์อยู่ที่มากกว่า 50 % 2 ล้านโดส 1,200,000 บาท ตกโดสละ 600 บาท นี่ถูกมั้ยครับ กับเจ้าอื่นที่ก็ราคาเท่านี้แต่ประสิทธิภาพมากกว่า 90% โดยอ้างสัมพันธ์ประเทศไทย-จีน
กัมพูชาได้ฟรีนะครับ ฮุนเซ็นออกมาบอกไม่เอา Sinovac แต่ที่ได้ฟรีคือของ Sinopharm ที่มี รบ. จีนสนับสนุน เป็นสถาบัยวิจัยของประเทศเขาโดยตรง สรุปสัมพันธ์ไทย-จีน หรือสัมพันธ์อื่น
แก้ไขล่าสุดโดย VincenzE เมื่อ Wed Jan 20, 2021 16:35, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Sep 2005
ตอบ: 1277
ที่อยู่: BKK
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 16:38
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
herkmania พิมพ์ว่า:
SSRIs พิมพ์ว่า:
ขอตอบในฐานะที่ทำงานในวงการการผลิตยาปราศจากเชื้อนะครับ
อันนี้คือมุมมองส่วนตัว ซึ่งก่อนอื่นต้องบอกเลยว่า ผมไม่ใช่คนที่ชื่นชอบรัฐบาล

อันดับแรก รัฐบาล โดยเฉพาะ อ.ย. ต้องทำให้ประชาชนทราบก่อนว่า
การผลิตยานั้น เวลาเขาอนุญาต เขาไม่ได้อนุญาตให้ผลิตยาทุกประเภท
แต่จะให้อนุญาตในรูปแบบเภสัชภัณฑ์นั้นๆ เช่น เม็ด, น้ำ, ยาปราศจากเชื้อ, ชีววัตถุ ฯลฯ
ซึ่งไอ่เจ้าวัคซีนนี่มันเป็นเภสัชภัณฑ์รูปแบบหนึ่งของชีววัตถุ ซึ่งมีกระบวนการผลิต
ที่แตกต่างจากยาประเภทอื่นโดยสิ้นเชิงครับ

โรงงานผลิตยาภายในประเทศมีหลักหลายสิบ แต่ที่ได้รับอนุญาตการผลิตยาประเภทชีววัตถุนั้นน้อยมาก
่ซึ่งไม่ถึงหลักสิบด้วยซ้ำ เช่น GPO-Merieux, สภากาชาดไทย เป็นต้น
ของเอกชนก็จะมี Bionet-Asia, Siam bioscience เป็นต้น

ที่นี้เราก็ต้องมาดูเหตุผลในแต่ละประเภทก่อน เนื่องจากการผลิตวัคซีนนั้น ใช้ไลน์การผลิตเดียวกันหมด
ดังนั้นบางโรงงาน จำเป็นต้องคงการผลิตเพื่อใช้ผลิตวัคซีนจำเป็นในประเทศ โดยเฉพาะของรัฐเอง
ดังนั้นถ้าจะจัดสรรให้โรงงานผลิตของรัฐไปเดินหน้า COVID เต็มสูบ มันอาจจะส่งผลกระทบต่อ
วัคซีนอื่นๆ ภายในประเทศได้ อีกอย่างวัคซีนมันอายุไม่ยืน ดังนั้นถ้าเร่งการผลิตเพื่อวัคซีน COVID
มันก็อาจจะมีปัญหาอื่นตามมาได้

ดังนั้น หวยมันเลยมาลงที่ Siam bioscience เพราะอะไร? เนื่องจากบริษัทนี้เป็นบริษัทที่ยังเปิดไม่นาน
และไม่ได้เน้นการทำวัคซีน แต่ Siam bioscience ผลิต"ยา" ที่เป็นชีววัตถุ ซึ่งยาประเภทนี้
ไม่ใช่ว่าผลิตแล้วจะสามารถขายเลย ยาชีววัตถุที่เป็นตัวเลียนแบบเราจะเรียกว่า Biosimilar
ซึ่งจะมีโครงสร้างสามมิติที่แตกต่างจากยาชีววัตถุต้นแบบ ดังนั้น Biosimilar ผลิตมาแล้ว
ก็ต้องนำไปทดสอบการใช้ในมนุษย์ที่เรียกว่า Clinical trials อีกทีอยู่ดี

ดังนั้นถ้าเราเช็ค product pipeline (ความคืบหน้าของผลิตภัณฑ์ของบริษัท)
จะเห็นในชาร์ตว่ายาแต่ละผลิตภัณฑ์ของบริษัทดำเนินไปถึง phase ไหนแล้วของ Clinical trials
(ผมว่าลิงค์ไม่เจอ เดี๋ยวถ้าเจอจะแปะให้)
ซึ่งถ้าเข้าไปดูจะเห็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตให้ขายแล้วคือ ยาเพิ่มเม็ดเลือดและยามะเร็ง 1 ตัว
ถ้าให้ผมเดา ไลน์การผลิตจะค่อนข้างว่าง เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ อาจมีการใช้ไม่เยอะ
ดังนั้น มันจึงไม่แปลกที่หวยจะตกมายังที่บริษัทนี้ เพราะบริษัทเองได้รับอนุญาตในการผลิตยาชีววัตถุมานานแล้ว
ไม่ใช่เพิ่งได้รับอนุญาต

ดังนั้น ทางรัฐควรให้ความเข้าใจประชาชนก่อน ไม่ใช่แก้ต่างโดยดึงสถาบันลงมา
เพราะความซวยอย่างนึงมันคือ บริษัทนี้เจ้าของคือบริษัทในเครือของสถาบันพระมหากษัตริย์
ซึ่งกำลังถูกสังคมวิพากษ์อย่างหนักหน่วง ทีนี้พอข่าวมันมา คนก็เลยพากันกระหน่ำโจมตี

ดังนั้นเพื่อป้องกันเรื่องการใช้ภาษี หรือ Conflict of interest ดังนั้นภาครัฐ
ควรจัดการให้ดี โดยเฉพาะเรื่องสัญญาจ้างอะไรพวกนี้  


ขอโควตเพราะมีความเห็นแย้งหลักๆ ผมเป็นแค่นักธุรกิจคนหนึ่ง ประเด็นมากกว่าความพร้อมหรือโอกาสในการผลิตที่ท่านบอกว่าเพราะอะไรถึงเป็นsbs นั้นถ้ามองด้านธุรกิจมันฟังไม่ค่อยขึ้นตรที่รัฐสนับสนุนเงินให้เอกชนโดยตรง แถมวัคซีนที่รัฐซื้อกลับมาดันแพงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน มันกลายเป็นเรื่องที่รัฐสูญเสียประโยชน์ แต่กลับเป๋นบ.เอกชนหนึ่งได้รับประโยชน์แทน

อีกมุมหนึ่ง ถ้ารัฐกล้าสนับสนุนเงิน1500ล้านในการลงทุนในบ.เอกชน ทำไมไม่เอาเงินก้อนนี้ลงทุนในบ.หรือรัฐวิสาหกิจที่รัฐเป็นเจ้าของ  


คือผมไม่แน่ใจว่าคุณเองในฐานะนักธุรกิจ มีความเข้าใจในธุรกิจการผลิตเวชภัณฑ์มากน้อยแค่ไหน
แต่ผมจะอธิบายคร่าวๆ คือ เรื่องพวกนี้มันเหมือนจะง่าย แต่ความจริงมีปัจจัยที่ต้องนึกถึงค่อนข้างเยอะ
แม้ความเห็นผมเหมือนจะปกป้อง SBS แต่เชื่อเถอะ ผมไม่ใช่ตัวแทนฝ่ายรัฐบาล และไม่เข้าใจรัฐบาลเลย
ว่าทำไมไม่ให้ความกระจ่างมากกว่านี้

สิ่งที่ต้องประเมิน มันมีหลายกรณีคือ

- โรงงานผลิตที่รัฐเป็นเจ้าของ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นเจ้าของนั้นมีความพร้อมมากน้อยแค่ไหน
และกระบวนการผลิตนั้นสอดคล้องกับวิธีการผลิตที่ทางต้นแบบศึกษามาไหม
ธุรกิจยาต่างจากชาวบ้านมากๆ เลยตรงที่ ไม่ใช่ว่าคุณอยากจะเปลี่ยนอะไรก็เปลี่ยนได้
อยากทำอะไรก็ทำได้เลย มันอาศัยเวลาและการทดสอบวิจัยเยอะมากๆ
ยาเม็ด 1 ตัว ใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 2 ปีในการทดลอง วิจัยและขึ้นทะเบียน
การเปลี่ยนแปลงอะไรง่อยๆ ในทะเบียนที่ได้รับอนุญาตแล้วต้องขอยื่นแก้ไข
และต้องมีผลการศึกษาด้านความคงตัวของผลิตภัณฑ์(ในสภาวะเร่งอย่างน้อย 6 เดือน) แนบ

- ถ้าประเด็นที่ 1 ประเมินแล้ว โรงงานที่รัฐเป็นเจ้าของมีศักยภาพในการผลิตมากเพียงพอ
รัฐบาลเองจะต้องให้ความกระจ่างมากกว่านี้ โดยเฉพาะเรื่องการตอบคำถามประชาชน
ว่าทำไมถึงเป็นเอกชนรายนี้ครับ อีกทั้งอาจจะต้องตอบคำถามกับบุคลากรในโรงพยาบาล
เรื่องการจัดซื้อจัดหา เวชภัณฑ์ที่อาจได้รับผลกระทบจากการที่ต้องเปลี่ยนไลน์การผลิตจากผลิตภัณฑ์เดิม
มาเป็นวัคซีนโควิด

- ส่วนเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน อันนี้ผมคิดว่าเบื้องหลังรัฐบาลนี้มีแน่ โดยเฉพาะกรณีน่าเกลียดอย่าง
เอา Sinovac เข้ามา แล้วมีข่าวเอกชนรายหนึ่งไปถือหุ้นแทบจะทันที เรื่องแบบนี้รัฐบาลเราขึ้นชื่ออยู่ดี
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
รอโดนตบหน้า ... อิอิ

http://www.soccersuck.com/boards/topic/1559750/2

---------------------------------------------------------------


http://www.soccersuck.com/boards/topic/1710866/2
ออฟไลน์
นักเตะตำบล
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 18 Oct 2010
ตอบ: 935
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 18:26
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
VincenzE พิมพ์ว่า:
xzyte พิมพ์ว่า:
VincenzE พิมพ์ว่า:
SSRIs พิมพ์ว่า:
ขอตอบในฐานะที่ทำงานในวงการการผลิตยาปราศจากเชื้อนะครับ
อันนี้คือมุมมองส่วนตัว ซึ่งก่อนอื่นต้องบอกเลยว่า ผมไม่ใช่คนที่ชื่นชอบรัฐบาล

อันดับแรก รัฐบาล โดยเฉพาะ อ.ย. ต้องทำให้ประชาชนทราบก่อนว่า
การผลิตยานั้น เวลาเขาอนุญาต เขาไม่ได้อนุญาตให้ผลิตยาทุกประเภท
แต่จะให้อนุญาตในรูปแบบเภสัชภัณฑ์นั้นๆ เช่น เม็ด, น้ำ, ยาปราศจากเชื้อ, ชีววัตถุ ฯลฯ
ซึ่งไอ่เจ้าวัคซีนนี่มันเป็นเภสัชภัณฑ์รูปแบบหนึ่งของชีววัตถุ ซึ่งมีกระบวนการผลิต
ที่แตกต่างจากยาประเภทอื่นโดยสิ้นเชิงครับ

โรงงานผลิตยาภายในประเทศมีหลักหลายสิบ แต่ที่ได้รับอนุญาตการผลิตยาประเภทชีววัตถุนั้นน้อยมาก
่ซึ่งไม่ถึงหลักสิบด้วยซ้ำ เช่น GPO-Merieux, สภากาชาดไทย เป็นต้น
ของเอกชนก็จะมี Bionet-Asia, Siam bioscience เป็นต้น

ที่นี้เราก็ต้องมาดูเหตุผลในแต่ละประเภทก่อน เนื่องจากการผลิตวัคซีนนั้น ใช้ไลน์การผลิตเดียวกันหมด
ดังนั้นบางโรงงาน จำเป็นต้องคงการผลิตเพื่อใช้ผลิตวัคซีนจำเป็นในประเทศ โดยเฉพาะของรัฐเอง
ดังนั้นถ้าจะจัดสรรให้โรงงานผลิตของรัฐไปเดินหน้า COVID เต็มสูบ มันอาจจะส่งผลกระทบต่อ
วัคซีนอื่นๆ ภายในประเทศได้ อีกอย่างวัคซีนมันอายุไม่ยืน ดังนั้นถ้าเร่งการผลิตเพื่อวัคซีน COVID
มันก็อาจจะมีปัญหาอื่นตามมาได้

ดังนั้น หวยมันเลยมาลงที่ Siam bioscience เพราะอะไร? เนื่องจากบริษัทนี้เป็นบริษัทที่ยังเปิดไม่นาน
และไม่ได้เน้นการทำวัคซีน แต่ Siam bioscience ผลิต"ยา" ที่เป็นชีววัตถุ ซึ่งยาประเภทนี้
ไม่ใช่ว่าผลิตแล้วจะสามารถขายเลย ยาชีววัตถุที่เป็นตัวเลียนแบบเราจะเรียกว่า Biosimilar
ซึ่งจะมีโครงสร้างสามมิติที่แตกต่างจากยาชีววัตถุต้นแบบ ดังนั้น Biosimilar ผลิตมาแล้ว
ก็ต้องนำไปทดสอบการใช้ในมนุษย์ที่เรียกว่า Clinical trials อีกทีอยู่ดี

ดังนั้นถ้าเราเช็ค product pipeline (ความคืบหน้าของผลิตภัณฑ์ของบริษัท)
จะเห็นในชาร์ตว่ายาแต่ละผลิตภัณฑ์ของบริษัทดำเนินไปถึง phase ไหนแล้วของ Clinical trials
(ผมว่าลิงค์ไม่เจอ เดี๋ยวถ้าเจอจะแปะให้)
ซึ่งถ้าเข้าไปดูจะเห็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตให้ขายแล้วคือ ยาเพิ่มเม็ดเลือดและยามะเร็ง 1 ตัว
ถ้าให้ผมเดา ไลน์การผลิตจะค่อนข้างว่าง เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ อาจมีการใช้ไม่เยอะ
ดังนั้น มันจึงไม่แปลกที่หวยจะตกมายังที่บริษัทนี้ เพราะบริษัทเองได้รับอนุญาตในการผลิตยาชีววัตถุมานานแล้ว
ไม่ใช่เพิ่งได้รับอนุญาต

ดังนั้น ทางรัฐควรให้ความเข้าใจประชาชนก่อน ไม่ใช่แก้ต่างโดยดึงสถาบันลงมา
เพราะความซวยอย่างนึงมันคือ บริษัทนี้เจ้าของคือบริษัทในเครือของสถาบันพระมหากษัตริย์
ซึ่งกำลังถูกสังคมวิพากษ์อย่างหนักหน่วง ทีนี้พอข่าวมันมา คนก็เลยพากันกระหน่ำโจมตี

ดังนั้นเพื่อป้องกันเรื่องการใช้ภาษี หรือ Conflict of interest ดังนั้นภาครัฐ
ควรจัดการให้ดี โดยเฉพาะเรื่องสัญญาจ้างอะไรพวกนี้  


ผมเองก็เดาไม่ได้จากไลน์การผลิตที่อาจจะว่างหรือไม่ว่างของ SBS

ในไทยไม่ได้มีบ.เดียวที่ผลิตชีววัตถุได้อย่างที่คุณว่า แต่เรื่องความพร้อมคือประเด็นสำคัญ ทางสถาบันวัคซีนแห่งชาติออกมาแถลงว่า "มีเพียง “สยามไบโอไซเอนซ์” เท่านั้นที่มีศักยภาพในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตในรูปแบบของ Viral vector vaccine" กลับกับคำแถลงการณ์ที่อธิบายเพิ่มเติมคือ เงินอัดฉีดจากรัฐ 595 ล้านบาท สนับสนุนอีก 100 ล้านบาท เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" ตกลงผ่านการคัดเลือกหรือมีเงินสนับสนุนเพื่อให้ผ่าน ตัดประเด็นที่ตอนนี้ใครเป็นคนถือหุ้น SBS ไปเลย ต่อให้ บ.อื่นได้แทนแล้วผลออกมาแบบนี้ แถลงการณ์แบบนี้ มันก็น่าสงสัยไม่ใช่เหรอครับ

เรื่อง Biosimilar ไม่เกี่ยวกับการผลิตวัคซีนตัวนี้นี่ครับ SBS ได้เป็น HUB ในการผลิตโดย Aztra-oxford จะถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้ ซึ่งก็คือเหมือนยกแพลนต์ชีววัตถุที่เหมือนกับทางต้นทางมาใส่แพลนต์ของ SBS เลย บ.ที่ทำชีววัตถุทุกที่ต้องทำ Biosimilar อยู่แล้ว ก่อนทำการขึ้นทะเบียนยา

ในเมื่อต้องเอาภาษี 6000 ล้านบาทไปจ่ายให้ aztra-oxford ทำไมไม่ทำให้มันเป็นเทคโนโลยีของรัฐ รวม ๆ แล้วคือ 6000 ล้านค่าวัคซีน+เทคโนโลยี 595 ล้าน ไปอัดฉีด SBS เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" แถมดีลกันผ่าน SCG แนะนำเข้าไป SCG กับ SBS เกี่ยวข้องกันในด้านผู้ถือครองหุ้น

ทาง GPO เองก่อนหน้านี้ออกมาประกาศว่ามีความพร้อมเรื่องการผลิตวัคซีน ทั้งของรามา และจุฬา ที่ร่วมมือกันอยู่ คำถามคือ GPO มีแพลนต์อยู่แล้ว การเอาเงินภาษีไปลงทุนให้เอกชนกับเอามาสนับสนุนหน่วยของรัฐเองเนี่ย อันไหนมันดูเหมาะสมกว่ากัน ทาง aztra-oxford มีเงื่อนไขไม่แสวงหากำไร แลกกับการได้เทคโนโลยีนี้มา

ชี้แจงไม่ชัดเจนแถมจ้องจะแจก Pizza อีก  



ว่ากันไปที่ละส่วนปนกันไม่ได้เดี๋ยวงง

1 GPO เขาทำแค่ Virus like particle แล้วก็ Subunit ที่มีข่าววิจัยกับมหาวิทยาลัยหลายแห่ง
แล้วก็กำลังเจรจากับ sinopharm แล้วก็ของอินเดียในการแบ่งบรรจุ


2 งบหกพันล้านคืองบซื้อจาก Astrazeneca คราวนี้เมื่อคราวเกิดโรคระบาดคราวก่อนๆ สั่งซื้อว้คซีนไปกว่าจะได้ ก็หยุดระบาดไปแล้ว เนื่องจากรอคิว ก็เลยหาทางเจรจาเพื่อให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ที่สำคัญคือ AZD1222 ของ Oxford/AZ มีหลักคิดว่า No profit No loss ถ้าจะทำเองก็ส่ง รายชื่อโรงงานในไทยให้ AZ พิจารณา ดูเหมือนจะมี GPO /Bionet asia /SBS

3 พอพิจารณาคุณสมบัติปรากฏว่า สายการผลิตที่ผลิตยาชีววัตถุเพิ่มเม็ดเลือดของ SBS สามารถเข้ากันได้กับกับสายการผลิตของ AD vaccine ของ AZ มากที่สุด โดยการปรับปรุงสายการผลิตและเพิ่มเครื่องมือให้ครบถ้วนนามที่ AZ แนะนำ ( งบที่จัดสรรมา มี่คราวประชุม ครม เมื่อปีก่อน 595 ล้าน เงินส่วนนี้ SBSจะคืนกลับในรูปวัคซีนที่ผลิตได้( ไม่ใช่ส่วนที่ซื้อจาก AZ ในส่วนนี้ SBS กับ AZ ไปคุยนอกรอบกันเอง)

4 จริงๆแล้วตอนนี้ SBS ผลิตน้ำยาตรวจโควิด RT PCR มาตั้งแต่ปีที่แล้วรวมแล้วน่าจะถึงล้านชุดแล้ว (ส่วนนี้ไม่แน่ใจว่าให้ฟรีทั้งหมดหรือคิดแค่ทุน )

5 สายการผลิตจะว่างแค่ไหนจากการผลิตยา เพิ่มเม็ดเลืดแดง เม็ดเลือดขาว ยารักษามะเร็ง แล้วกำลังวิจัยยาอีกหลายตัว รวมถึงอยู่ระหว่างเตรียมขออนุญาตส่งขาย EU ผลที่ได้ชัดๆคือ ยาพวกนี้มาราคาลดลง30-40%
เมื่อหลักคิดของ oxford คือ no profit no loss ตั้งแต่ปรับปรุงระบบ จนเริ่มผลิตถึงวันนี้น่าจะเข้าสู่การผลิตทดสอบ batch ที่ 3 หรื 4 (จาก 5 batch ) หลังจากนั้นก็ให้ AZ ตรวจสอบคุณภาพ ก่อนให้ อย. ตาวจอีกครั้ง น่าจะได้ผลสรุปก่อนเดินเครื่องจริงในเดือน พค นั่นหมายความว่าทั้งปีหลังจากนี้หรือต่อไปจนถึงปีหน้า สายการผลิตนี้จะกลับมาผลิตยาของ SBS ไม่ได้เลย
นอกจากไม่ได้กำไรแล้วต้องควักเนื้อลองคิดดูว่า ถ้าไม่ใช่โรงงานของรัฐที่มีความพร้อมจริงๆ เอกชนรายไหนบ้างจะยอมผลิตโดยไม่ได้ผลตอบแทนในส่วนนี้

6 ราคาวัคซีน AZD1222 ในขณะนี้ดูเหมือนจะถูกที่สุด ถูกกว่ารายอื่นหลายเท่าตัว
 


1. ถูกครับ เป็นรายละเอียดวัคซีนที่ ศิริราช (ผมจำผิดเป็นรามา) และจุฬา กำลังพัฒนา ไม่ได้เกี่ยวข้องกับวัคซีนของ Aztra-oxford

2. No profit No loss รัฐทำไม่ได้เหรอครับ ในเมื่อเม็ดเงินที่ใส่ไปมันก็เยอะ แต่เทคโนโลยีกับ facility ใหม่ไปอยู่กับเอกชน 6000 ล้านบาทตอนแรกคือสั่งซื้อยา 26 ล้านโดส มันได้ช้าเลยเปลี่ยนมาเป็นแบบนี้แทน แต่กว่าจะผลิตได้คือ พ.ค.

3. ตรงส่วนนี้ผมไม่เห็นข้อมูลตามที่คุณบอกมา รายละเอียดที่กล่าวถึงคือมาจากแถลงการณ์ของสถาบันวัคซีนแห่งชาติว่า รัฐสนับสนุน 595 ล้านบาท SCG สนับสนุนให้ 100 ล้านบาท เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" ตรงนี้คือตอนแรกไม่ผ่านเกณฑ์แต่ได้เงินสนับสนุนเพิ่ม facility จนผ่านหรือผ่านแล้วค่อยให้เงิน ในเมื่อพูดเองว่า "จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก"

4. วิจัยร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไม่ใช่ของ SBS เดี่ยว ๆ ครับ

5. สายการผลิตยาดังกล่าวไม่ทราบครับ แต่ยา ชีววัตถุคนละตัว ต่อให้เป็น plant เดียวกันแต่เครื่องมือ อุปกรณ์แยกกันชัดเจน ไหนจะงบใหม่ที่รัฐสนับสนุนให้อีก

ุ6. ใช่ครับ ถูกที่สุด 4 USD แต่ตอนนี้ยังไม่ได้เลย?? แถมงบที่ตั้งตอนแรก 6000/26 ตกโดสละ 230 บาท
ส่วนต่าง 230-120 = 110 บาทต่อโดส เป็นค่าดำเนินการครับ รมต ชี้แจงมาแบบนี้ ซึ่งคำถามที่ตามมาคือดำเนินการอะไรบวกไปอีกเท่าตัว นี่ยังไม่นับงบที่ต้องใช้ฉีดอีก

บ. P เขาเสนอขายให้ก็ไม่เอา แต่ไปเอาจากจีนที่ประสิทธิภาพPhase 3 แค่ 50.4% ในขณะที่เกณฑ์อยู่ที่มากกว่า 50 % 2 ล้านโดส 1,200,000 บาท ตกโดสละ 600 บาท นี่ถูกมั้ยครับ กับเจ้าอื่นที่ก็ราคาเท่านี้แต่ประสิทธิภาพมากกว่า 90% โดยอ้างสัมพันธ์ประเทศไทย-จีน
กัมพูชาได้ฟรีนะครับ ฮุนเซ็นออกมาบอกไม่เอา Sinovac แต่ที่ได้ฟรีคือของ Sinopharm ที่มี รบ. จีนสนับสนุน เป็นสถาบัยวิจัยของประเทศเขาโดยตรง สรุปสัมพันธ์ไทย-จีน หรือสัมพันธ์อื่น  






งบหกพันล้านเป็นค่าวัคซีนแค่ สี่พันล้านครับ ถ้าไม่ทำเองโดยใครสักคนในประเทศ จะได้รับยาเมื่อไหร่ ละแวกนี้ก็มีอินเดียกับเกาหลีใต้

ตอนนี้น่าจะเป็น trial batch ที่ 3 หรือ 4 แล้วนั่นแต่ละแบทช์จะได้วัคซีน ประมาณ 3.5 ล้านโดส ขั้นต่อไปก็ทดสอบและประเมินผล กลางเดือนหน้าก็น่าจะพอเห็นแนวโน้มว่าได้ผลดีหรือไม่

ส่วนเงินที่สนับสนุนในการปรับปรับเครื่องจักร SBS ก็คืนกลับมาในรูปวัคซีนอีกส่วนหนึ่ง(ไม่เกี่ยวกับ 26 ล้าน น่าจะคืนมาราวๆ สี่ล้านโดส )
ถึงคุณจะไม่ให้ SBS ถ้าต้องการ 26 ล้านโดสก็ต้องจ่ายเหมือนกัน และหากให้คนอื่นทำแน่ใจอย่างไรว่าไม่จ่ายมากกว่า SBS และทำได้เร็วกว่า SBS

เครื่องจักรที่นำมาปรับปรุงที่ถูกต้องคือเครื่องผลิตยารักษามะเร็งและโรคภูมิคุมกันทำลายตัวเอง ประธาน SBS เป็นผู้แถลงในเอกสารข่าวเมื่อคราวเซ็น LOI ดูในเว็ป SCG ก็มี
595 ล้านคืองานปรับปรุงเพิ่มเติมให้ไลน์ผลิตเดิมสามารถทำการผลิต AD vaccine ได้

น้ำยา RT PCR วิจัยกับกรมวิทย์ และ SBS เป็นผู้ผลิตให้

ปรับไลน์ผลิตเสร็จก็ต้อง trial run ต่อ ส่วนยาเดิมจะผลิตได้อีกเมื่อไหร่ค่อยว่ากัน

งบ 6049 ล้าน แบ่งเป็น
จอง 2379 ล้าน
ส่วนเพิ่ม 1586 ล้าน
ค่าวัคซีนรวม 3965 ล้าน หรือราวๆ 150 บาทต่อโดส หรือ 5 USD

ส่วนอีก 2084 ล้าน เป็นค่าบริหารจัดการวัคซีน (น่าจะเป็นค่าจิปาถะในการฉีด)

ส่วนมีข่าว pfizer เสนอขาย รอเสี่ยหนูแก้ข่าวก่อนดีมั้ยครับ ตอนนี้เหมือนฟังทางเดียว แล้วที่เสนอเมื่อไหร่ก็ยังไม่มีรายละเอียด อย่าลืมนะครับ ถ้าใช้ pfizer ถามจริงๆ ULT freezer เรามีพอเหรอครับ
แล้วที่แพ็คมาแบบสิงค์โปร์โดยใช้ dry ice ใน softbox อยู่ได้นานแค่ไหน ค่าใช้จ่ายส่วนคอนเทนคงไม่ถูกนะครับ
ส่วนเรื่อง side effect นี่ไม่วิจารณ์ครับ

สำหรับ sinovac ประสิทธิภาพอาจจะต่ำกว่าแต่การเก็บรักษา กินตัวอื่นขาดเก็บในที่ 2-8 องศา ถ้าจำไม่ผิดได้สามเดือน

ส่วนฮุนเซ็นพอได้ sinovac ฟรีไป หนึ่งล้านโดสเห็นขอบอกขอบใจจีนใหญ่
ส่วนประธานาธิบดี ตรุกี กับ อินโดก็ฉีด sinovac ไปแล้ว

แก้ไขล่าสุดโดย xzyte เมื่อ Wed Jan 20, 2021 18:40, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ข.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 29 Apr 2009
ตอบ: 8302
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Wed Jan 20, 2021 18:47
[RE: Workpointอธิบายเรื่องวัคซีน]
xzyte พิมพ์ว่า:
VincenzE พิมพ์ว่า:
xzyte พิมพ์ว่า:
VincenzE พิมพ์ว่า:
SSRIs พิมพ์ว่า:
ขอตอบในฐานะที่ทำงานในวงการการผลิตยาปราศจากเชื้อนะครับ
อันนี้คือมุมมองส่วนตัว ซึ่งก่อนอื่นต้องบอกเลยว่า ผมไม่ใช่คนที่ชื่นชอบรัฐบาล

อันดับแรก รัฐบาล โดยเฉพาะ อ.ย. ต้องทำให้ประชาชนทราบก่อนว่า
การผลิตยานั้น เวลาเขาอนุญาต เขาไม่ได้อนุญาตให้ผลิตยาทุกประเภท
แต่จะให้อนุญาตในรูปแบบเภสัชภัณฑ์นั้นๆ เช่น เม็ด, น้ำ, ยาปราศจากเชื้อ, ชีววัตถุ ฯลฯ
ซึ่งไอ่เจ้าวัคซีนนี่มันเป็นเภสัชภัณฑ์รูปแบบหนึ่งของชีววัตถุ ซึ่งมีกระบวนการผลิต
ที่แตกต่างจากยาประเภทอื่นโดยสิ้นเชิงครับ

โรงงานผลิตยาภายในประเทศมีหลักหลายสิบ แต่ที่ได้รับอนุญาตการผลิตยาประเภทชีววัตถุนั้นน้อยมาก
่ซึ่งไม่ถึงหลักสิบด้วยซ้ำ เช่น GPO-Merieux, สภากาชาดไทย เป็นต้น
ของเอกชนก็จะมี Bionet-Asia, Siam bioscience เป็นต้น

ที่นี้เราก็ต้องมาดูเหตุผลในแต่ละประเภทก่อน เนื่องจากการผลิตวัคซีนนั้น ใช้ไลน์การผลิตเดียวกันหมด
ดังนั้นบางโรงงาน จำเป็นต้องคงการผลิตเพื่อใช้ผลิตวัคซีนจำเป็นในประเทศ โดยเฉพาะของรัฐเอง
ดังนั้นถ้าจะจัดสรรให้โรงงานผลิตของรัฐไปเดินหน้า COVID เต็มสูบ มันอาจจะส่งผลกระทบต่อ
วัคซีนอื่นๆ ภายในประเทศได้ อีกอย่างวัคซีนมันอายุไม่ยืน ดังนั้นถ้าเร่งการผลิตเพื่อวัคซีน COVID
มันก็อาจจะมีปัญหาอื่นตามมาได้

ดังนั้น หวยมันเลยมาลงที่ Siam bioscience เพราะอะไร? เนื่องจากบริษัทนี้เป็นบริษัทที่ยังเปิดไม่นาน
และไม่ได้เน้นการทำวัคซีน แต่ Siam bioscience ผลิต"ยา" ที่เป็นชีววัตถุ ซึ่งยาประเภทนี้
ไม่ใช่ว่าผลิตแล้วจะสามารถขายเลย ยาชีววัตถุที่เป็นตัวเลียนแบบเราจะเรียกว่า Biosimilar
ซึ่งจะมีโครงสร้างสามมิติที่แตกต่างจากยาชีววัตถุต้นแบบ ดังนั้น Biosimilar ผลิตมาแล้ว
ก็ต้องนำไปทดสอบการใช้ในมนุษย์ที่เรียกว่า Clinical trials อีกทีอยู่ดี

ดังนั้นถ้าเราเช็ค product pipeline (ความคืบหน้าของผลิตภัณฑ์ของบริษัท)
จะเห็นในชาร์ตว่ายาแต่ละผลิตภัณฑ์ของบริษัทดำเนินไปถึง phase ไหนแล้วของ Clinical trials
(ผมว่าลิงค์ไม่เจอ เดี๋ยวถ้าเจอจะแปะให้)
ซึ่งถ้าเข้าไปดูจะเห็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตให้ขายแล้วคือ ยาเพิ่มเม็ดเลือดและยามะเร็ง 1 ตัว
ถ้าให้ผมเดา ไลน์การผลิตจะค่อนข้างว่าง เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ อาจมีการใช้ไม่เยอะ
ดังนั้น มันจึงไม่แปลกที่หวยจะตกมายังที่บริษัทนี้ เพราะบริษัทเองได้รับอนุญาตในการผลิตยาชีววัตถุมานานแล้ว
ไม่ใช่เพิ่งได้รับอนุญาต

ดังนั้น ทางรัฐควรให้ความเข้าใจประชาชนก่อน ไม่ใช่แก้ต่างโดยดึงสถาบันลงมา
เพราะความซวยอย่างนึงมันคือ บริษัทนี้เจ้าของคือบริษัทในเครือของสถาบันพระมหากษัตริย์
ซึ่งกำลังถูกสังคมวิพากษ์อย่างหนักหน่วง ทีนี้พอข่าวมันมา คนก็เลยพากันกระหน่ำโจมตี

ดังนั้นเพื่อป้องกันเรื่องการใช้ภาษี หรือ Conflict of interest ดังนั้นภาครัฐ
ควรจัดการให้ดี โดยเฉพาะเรื่องสัญญาจ้างอะไรพวกนี้  


ผมเองก็เดาไม่ได้จากไลน์การผลิตที่อาจจะว่างหรือไม่ว่างของ SBS

ในไทยไม่ได้มีบ.เดียวที่ผลิตชีววัตถุได้อย่างที่คุณว่า แต่เรื่องความพร้อมคือประเด็นสำคัญ ทางสถาบันวัคซีนแห่งชาติออกมาแถลงว่า "มีเพียง “สยามไบโอไซเอนซ์” เท่านั้นที่มีศักยภาพในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตในรูปแบบของ Viral vector vaccine" กลับกับคำแถลงการณ์ที่อธิบายเพิ่มเติมคือ เงินอัดฉีดจากรัฐ 595 ล้านบาท สนับสนุนอีก 100 ล้านบาท เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" ตกลงผ่านการคัดเลือกหรือมีเงินสนับสนุนเพื่อให้ผ่าน ตัดประเด็นที่ตอนนี้ใครเป็นคนถือหุ้น SBS ไปเลย ต่อให้ บ.อื่นได้แทนแล้วผลออกมาแบบนี้ แถลงการณ์แบบนี้ มันก็น่าสงสัยไม่ใช่เหรอครับ

เรื่อง Biosimilar ไม่เกี่ยวกับการผลิตวัคซีนตัวนี้นี่ครับ SBS ได้เป็น HUB ในการผลิตโดย Aztra-oxford จะถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้ ซึ่งก็คือเหมือนยกแพลนต์ชีววัตถุที่เหมือนกับทางต้นทางมาใส่แพลนต์ของ SBS เลย บ.ที่ทำชีววัตถุทุกที่ต้องทำ Biosimilar อยู่แล้ว ก่อนทำการขึ้นทะเบียนยา

ในเมื่อต้องเอาภาษี 6000 ล้านบาทไปจ่ายให้ aztra-oxford ทำไมไม่ทำให้มันเป็นเทคโนโลยีของรัฐ รวม ๆ แล้วคือ 6000 ล้านค่าวัคซีน+เทคโนโลยี 595 ล้าน ไปอัดฉีด SBS เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" แถมดีลกันผ่าน SCG แนะนำเข้าไป SCG กับ SBS เกี่ยวข้องกันในด้านผู้ถือครองหุ้น

ทาง GPO เองก่อนหน้านี้ออกมาประกาศว่ามีความพร้อมเรื่องการผลิตวัคซีน ทั้งของรามา และจุฬา ที่ร่วมมือกันอยู่ คำถามคือ GPO มีแพลนต์อยู่แล้ว การเอาเงินภาษีไปลงทุนให้เอกชนกับเอามาสนับสนุนหน่วยของรัฐเองเนี่ย อันไหนมันดูเหมาะสมกว่ากัน ทาง aztra-oxford มีเงื่อนไขไม่แสวงหากำไร แลกกับการได้เทคโนโลยีนี้มา

ชี้แจงไม่ชัดเจนแถมจ้องจะแจก Pizza อีก  



ว่ากันไปที่ละส่วนปนกันไม่ได้เดี๋ยวงง

1 GPO เขาทำแค่ Virus like particle แล้วก็ Subunit ที่มีข่าววิจัยกับมหาวิทยาลัยหลายแห่ง
แล้วก็กำลังเจรจากับ sinopharm แล้วก็ของอินเดียในการแบ่งบรรจุ


2 งบหกพันล้านคืองบซื้อจาก Astrazeneca คราวนี้เมื่อคราวเกิดโรคระบาดคราวก่อนๆ สั่งซื้อว้คซีนไปกว่าจะได้ ก็หยุดระบาดไปแล้ว เนื่องจากรอคิว ก็เลยหาทางเจรจาเพื่อให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ที่สำคัญคือ AZD1222 ของ Oxford/AZ มีหลักคิดว่า No profit No loss ถ้าจะทำเองก็ส่ง รายชื่อโรงงานในไทยให้ AZ พิจารณา ดูเหมือนจะมี GPO /Bionet asia /SBS

3 พอพิจารณาคุณสมบัติปรากฏว่า สายการผลิตที่ผลิตยาชีววัตถุเพิ่มเม็ดเลือดของ SBS สามารถเข้ากันได้กับกับสายการผลิตของ AD vaccine ของ AZ มากที่สุด โดยการปรับปรุงสายการผลิตและเพิ่มเครื่องมือให้ครบถ้วนนามที่ AZ แนะนำ ( งบที่จัดสรรมา มี่คราวประชุม ครม เมื่อปีก่อน 595 ล้าน เงินส่วนนี้ SBSจะคืนกลับในรูปวัคซีนที่ผลิตได้( ไม่ใช่ส่วนที่ซื้อจาก AZ ในส่วนนี้ SBS กับ AZ ไปคุยนอกรอบกันเอง)

4 จริงๆแล้วตอนนี้ SBS ผลิตน้ำยาตรวจโควิด RT PCR มาตั้งแต่ปีที่แล้วรวมแล้วน่าจะถึงล้านชุดแล้ว (ส่วนนี้ไม่แน่ใจว่าให้ฟรีทั้งหมดหรือคิดแค่ทุน )

5 สายการผลิตจะว่างแค่ไหนจากการผลิตยา เพิ่มเม็ดเลืดแดง เม็ดเลือดขาว ยารักษามะเร็ง แล้วกำลังวิจัยยาอีกหลายตัว รวมถึงอยู่ระหว่างเตรียมขออนุญาตส่งขาย EU ผลที่ได้ชัดๆคือ ยาพวกนี้มาราคาลดลง30-40%
เมื่อหลักคิดของ oxford คือ no profit no loss ตั้งแต่ปรับปรุงระบบ จนเริ่มผลิตถึงวันนี้น่าจะเข้าสู่การผลิตทดสอบ batch ที่ 3 หรื 4 (จาก 5 batch ) หลังจากนั้นก็ให้ AZ ตรวจสอบคุณภาพ ก่อนให้ อย. ตาวจอีกครั้ง น่าจะได้ผลสรุปก่อนเดินเครื่องจริงในเดือน พค นั่นหมายความว่าทั้งปีหลังจากนี้หรือต่อไปจนถึงปีหน้า สายการผลิตนี้จะกลับมาผลิตยาของ SBS ไม่ได้เลย
นอกจากไม่ได้กำไรแล้วต้องควักเนื้อลองคิดดูว่า ถ้าไม่ใช่โรงงานของรัฐที่มีความพร้อมจริงๆ เอกชนรายไหนบ้างจะยอมผลิตโดยไม่ได้ผลตอบแทนในส่วนนี้

6 ราคาวัคซีน AZD1222 ในขณะนี้ดูเหมือนจะถูกที่สุด ถูกกว่ารายอื่นหลายเท่าตัว
 


1. ถูกครับ เป็นรายละเอียดวัคซีนที่ ศิริราช (ผมจำผิดเป็นรามา) และจุฬา กำลังพัฒนา ไม่ได้เกี่ยวข้องกับวัคซีนของ Aztra-oxford

2. No profit No loss รัฐทำไม่ได้เหรอครับ ในเมื่อเม็ดเงินที่ใส่ไปมันก็เยอะ แต่เทคโนโลยีกับ facility ใหม่ไปอยู่กับเอกชน 6000 ล้านบาทตอนแรกคือสั่งซื้อยา 26 ล้านโดส มันได้ช้าเลยเปลี่ยนมาเป็นแบบนี้แทน แต่กว่าจะผลิตได้คือ พ.ค.

3. ตรงส่วนนี้ผมไม่เห็นข้อมูลตามที่คุณบอกมา รายละเอียดที่กล่าวถึงคือมาจากแถลงการณ์ของสถาบันวัคซีนแห่งชาติว่า รัฐสนับสนุน 595 ล้านบาท SCG สนับสนุนให้ 100 ล้านบาท เพื่อจัดซื้อเครื่องมือต่างๆ ให้พัฒนาขีดความสามารถ"จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก" ตรงนี้คือตอนแรกไม่ผ่านเกณฑ์แต่ได้เงินสนับสนุนเพิ่ม facility จนผ่านหรือผ่านแล้วค่อยให้เงิน ในเมื่อพูดเองว่า "จนเข้าคุณลักษณะและได้รับคัดเลือก"

4. วิจัยร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไม่ใช่ของ SBS เดี่ยว ๆ ครับ

5. สายการผลิตยาดังกล่าวไม่ทราบครับ แต่ยา ชีววัตถุคนละตัว ต่อให้เป็น plant เดียวกันแต่เครื่องมือ อุปกรณ์แยกกันชัดเจน ไหนจะงบใหม่ที่รัฐสนับสนุนให้อีก

ุ6. ใช่ครับ ถูกที่สุด 4 USD แต่ตอนนี้ยังไม่ได้เลย?? แถมงบที่ตั้งตอนแรก 6000/26 ตกโดสละ 230 บาท
ส่วนต่าง 230-120 = 110 บาทต่อโดส เป็นค่าดำเนินการครับ รมต ชี้แจงมาแบบนี้ ซึ่งคำถามที่ตามมาคือดำเนินการอะไรบวกไปอีกเท่าตัว นี่ยังไม่นับงบที่ต้องใช้ฉีดอีก

บ. P เขาเสนอขายให้ก็ไม่เอา แต่ไปเอาจากจีนที่ประสิทธิภาพPhase 3 แค่ 50.4% ในขณะที่เกณฑ์อยู่ที่มากกว่า 50 % 2 ล้านโดส 1,200,000 บาท ตกโดสละ 600 บาท นี่ถูกมั้ยครับ กับเจ้าอื่นที่ก็ราคาเท่านี้แต่ประสิทธิภาพมากกว่า 90% โดยอ้างสัมพันธ์ประเทศไทย-จีน
กัมพูชาได้ฟรีนะครับ ฮุนเซ็นออกมาบอกไม่เอา Sinovac แต่ที่ได้ฟรีคือของ Sinopharm ที่มี รบ. จีนสนับสนุน เป็นสถาบัยวิจัยของประเทศเขาโดยตรง สรุปสัมพันธ์ไทย-จีน หรือสัมพันธ์อื่น  






งบหกพันล้านเป็นค่าวัคซีนแค่ สี่พันล้านครับ ถ้าไม่ทำเองโดยใครสักคนในประเทศ จะได้รับยาเมื่อไหร่ ละแวกนี้ก็มีอินเดียกับเกาหลีใต้

ตอนนี้น่าจะเป็น trial batch ที่ 3 หรือ 4 แล้วนั่นแต่ละแบทช์จะได้วัคซีน ประมาณ 3.5 ล้านโดส ขั้นต่อไปก็ทดสอบและประเมินผล กลางเดือนหน้าก็น่าจะพอเห็นแนวโน้มว่าได้ผลดีหรือไม่

ส่วนเงินที่สนับสนุนในการปรับปรับเครื่องจักร SBS ก็คืนกลับมาในรูปวัคซีนอีกส่วนหนึ่ง(ไม่เกี่ยวกับ 26 ล้าน น่าจะคืนมาราวๆ สี่ล้านโดส )
ถึงคุณจะไม่ให้ SBS ถ้าต้องการ 26 ล้านโดสก็ต้องจ่ายเหมือนกัน และหากให้คนอื่นทำแน่ใจอย่างไรว่าไม่จ่ายมากกว่า SBS และทำได้เร็วกว่า SBS

เครื่องจักรที่นำมาปรับปรุงที่ถูกต้องคือเครื่องผลิตยารักษามะเร็งและโรคภูมิคุมกันทำลายตัวเอง ประธาน SBS เป็นผู้แถลงในเอกสารข่าวเมื่อคราวเซ็น LOI ดูในเว็ป SCG ก็มี
595 ล้านคืองานปรับปรุงเพิ่มเติมให้ไลน์ผลิตเดิมสามารถทำการผลิต AD vaccine ได้

น้ำยา RT PCR วิจัยกับกรมวิทย์ และ SBS เป็นผู้ผลิตให้

ปรับไลน์ผลิตเสร็จก็ต้อง trial run ต่อ ส่วนยาเดิมจะผลิตได้อีกเมื่อไหร่ค่อยว่ากัน

งบ 6049 ล้าน แบ่งเป็น
จอง 2379 ล้าน
ส่วนเพิ่ม 1586 ล้าน
ค่าวัคซีนรวม 3965 ล้าน หรือราวๆ 150 บาทต่อโดส หรือ 5 USD

ส่วนอีก 2084 ล้าน เป็นค่าบริหารจัดการวัคซีน (น่าจะเป็นค่าจิปาถะในการฉีด)

ส่วนมีข่าว pfizer เสนอขาย รอเสี่ยหนูแก้ข่าวก่อนดีมั้ยครับ ตอนนี้เหมือนฟังทางเดียว แล้วที่เสนอเมื่อไหร่ก็ยังไม่มีรายละเอียด อย่าลืมนะครับ ถ้าใช้ pfizer ถามจริงๆ ULT freezer เรามีพอเหรอครับ
แล้วที่แพ็คมาแบบสิงค์โปร์โดยใช้ dry ice ใน softbox อยู่ได้นานแค่ไหน ค่าใช้จ่ายส่วนคอนเทนคงไม่ถูกนะครับ
ส่วนเรื่อง side effect นี่ไม่วิจารณ์ครับ

สำหรับ sinovac ประสิทธิภาพอาจจะต่ำกว่าแต่การเก็บรักษา กินตัวอื่นขาดเก็บในที่ 2-8 องศา ถ้าจำไม่ผิดได้สามเดือน

ส่วนฮุนเซ็นพอได้ sinovac ฟรีไป หนึ่งล้านโดสเห็นขอบอกขอบใจจีนใหญ่
ส่วนประธานาธิบดี ตรุกี กับ อินโดก็ฉีด sinovac ไปแล้ว

 


Cambodia รับ Sinopharm ครับ ที่สนับสนุนโดยรัฐบาลจีนโดยตรง เป็นเครือ China National pharmaceutical group ที่ประสิทธิภาพเกิน 70 % ครับ
ไม่ใช่ Sinovac ที่ไทยซื้อแพงแต่อ้างสัมพันธ์ไทย-จีน แต่ไม่มีรบ. จีนมาเกี่ยวข้องเลย

เรื่องงบ 6000 ล้านบาทที่ยื่นซื้อ อีกกว่าครึ่งคือค่าดำเนินการครับ ไม่ใช่งบส่วนการจัดการการฉีด

แล้วให้ pilot batch ที่ทำมาต้องรอ biosimilar อีก
มีแต่คำถามเต็มไปหมดตั้งแต่การจัดการ โปร่งใสยังไงครับ ในเมื่อมีคนตั้งคำถามก็ออกมาด่าคนถาม
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2, 3
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel