ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3 ... 11, 12
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออนไลน์
ดาวเตะพรีเมียร์ลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 7110
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 22, 2019 17:41
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
empty พิมพ์ว่า:
Galuliony พิมพ์ว่า:
empty พิมพ์ว่า:
Galuliony พิมพ์ว่า:
ดีแต่พูด  


ดีแต่พูด เพราะตั้งแต่มาร์คขึ้นมาเป็นนายก ก็ชุมนุมกันจนรัฐบาลไม่เป็นอันทำอะไร แล้วจะให้บริหารประเทศยังไง แล้วจะมีผลงานได้ยังไง

ชัชชาติ ที่อวยกันนักหนา ผมยังไม่เห็นผลงานอะไรซักอย่าง  


กากกันเองอย่าอ้างม็อบเลยครับ รัฐบาลอื่นก็เจออะม็อบ(แถมเป็นม็อบมีพลังแฝงด้วย)

ถ้าพรรคมันดีจริง ป่านนี้ชนะเลือกตั้งไปนานแล้ว ไม่ต้องกระเสือกกระสนมาเล่นการเมืองข้างถนนหรอกครับ กากกันเองทั้งนั้น ผลคะแนนเลือกตั้งมันฟ้องครับ

ขนาดเบื่อทักษิณแล้ว ยังกลั้นใจกาลงคะแนนให้พรรคกระจอกแบบนี้ไม่ได้เลยครับ  


กระจอกหรอครับ ตอนอภิสิทธิ์เป็นนายก gdp โต 7.8% ทั้งๆที่บริหารเข้าปีที่ 2

เรื่องเงินสำรองระหว่างประเทศ
ทักษิณใช้เวลา 67 เดือนมีเงินเพิ่มเพียง 28,399 ล้านเหรียญสหรัฐ
มาร์คใช้เวลาแค่ 28 เดือนมีเงินเพิ่มตั้ง 78,876 ล้านเหรียญสหรัฐ

กระจอกจริงๆครับ ถึงได้ไม่มีแผ่นดินอยู่ ล่าสุดน้องสาวเปิดบริษัทที่จีนยังโดนไล่ให้ปิด ตอนแรกออกข่าวซะดิบดี เจอพี่จีนปราบคอร์รัปชั่นจริงจัง ทำไรไม่ดูประเทศที่อยู่เลย
ชนะเลือกตั้งก็จริง แต่แพ้ภัยตัวเองนี่น่าอายนะ

เบื่อไปก็เท่านั้น คุณก็มีสิทธิมีเสียงเลือกตั้งแค่เสียงเดียว ไม่ได้มีสิบเสียง  


กระจอกไม่กระจอก ให้คนทั้งประเทศตัดสินไงครับ ด้วยการเลือกตั้ง ถ้าดีก็ได้เป็นรัฐบาลต่อ กากก็อดเป็น

ซึ่ง ปชป.ไม่ได้ไปต่อไงครับ ไม่ต้องอ้างอะไรทั้งนั้นอะครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ซุปตาร์ฟุตบอลโลก
Status: Pain peko
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 31 Oct 2014
ตอบ: 20516
ที่อยู่: แถวๆนี้แหละครับ
โพสเมื่อ: Fri Feb 22, 2019 17:44
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
Burmlotelli พิมพ์ว่า:
รั่วจริงจริง พิมพ์ว่า:
emula122 พิมพ์ว่า:
รั่วจริงจริง พิมพ์ว่า:
Spoil
indy_xXx พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
indy_xXx พิมพ์ว่า:
testtest พิมพ์ว่า:
ช่วงเหลืองแดงตีกันหนักๆนี่ผมแทบไม่ได้สนใจการเมืองเลย ขอถามคนที่ติดตามมาตลอดหน่อยครับ

ที่อภิสิทธิ์บอกว่าธนาธรข้ามไป มีการสลายการชุมนุมด้วยวิธีไหน ผู้เสียชีวิตกี่คน

 


ขออธิบายแบบบ้านๆละกัน

คือที่ต้องสั่งสลายเพราะผู้ชุมนุมมีการใช้ความรุนแรง เกรงว่าจะกระทบต่อประชาชน เลยเป็นที่มาของคำสั่งสลายการชุมนุม

ส่วนคนตายมีมั้ย มันก็มีอยู่แล้วครับส่วนกี่คนผมไม่แน่ใจ

ส่วนแนวทางปฏิบัติในการสลายการชุมนุมมันก็มีขั้นตอนของมันอยู่ ไม่ใช่ว่าจะใช้ปืนจริงไล่ยิงหมด

ผู้ชุมนุมบางคนใช้อาวุธจริง จะให้ทหาร ตำรวจ ใช้โล่ กระบองก็กระไรอยู่

รัฐบาลตอนนั้นก็ยืนยันว่าไม่ได้ใช้กระสุนจริง ทำตามขั้นตอน แต่พอตอนปฏิบัติจริงๆ คำสั่งน่าจะถูกบิดเบือน ไหนจะมือที่สามอีก ผลก็เลยทำให้มีคนตายมั่ง โดนลูกหลงมั่ง  


ยืนยันว่าไม่ได้ใช้กระสุนจริง แต่ทำไมมีป้ายว่าเขตกระสุนจริงครับ หา google ดูได้เลย

การที่รัฐบาลยืนยันแบบนั้นยิ่งตอกย้ำความหน้าไหว้หลังหลอกความกลับกลอกของมาร์คและ ปชป.  


คือคุณจะเกลียดมาร์คหรือเกลียดปชป. ก็เกลียดไปนะ แต่ผมแค่อธิบายให้ยูส testtest เค้าเข้าใจแค่นั้น ไม่ได้โจมตีใคร

ผมก็เห็นคุณหัวร้อนมาหลายเรปละ บางเรปคุณพูดถูกผมก็กดแผล่บให้ อันไหนผมไม่โอเคผมก็ปล่อยผ่าน

แต่หลายๆเรปที่ตอบ ส่วนใหญ่เป็นคหสต.ของท่านเอง ก็อย่าใส่อารมณ์เลย แสดงแค่ทัศนะก็พอไม่ต้องแสดงออกวุฒิภาวะนะครับ

แล้วขั้นตอนการสลายการชุมนุมตามหลักสากล สามารถใช้กระสุนจริงได้และก็มีป้ายบอกชัดเจน ก็ถูกแล้วนี่ครับ ศึกษานิดนึงนะ

https://www.east.spu.ac.th/journal/booksearch/upload/1492-12-3-13.pdf  
 


หลักสากลนี่ต้องใช้ทหารสลายด้วยเหรอครับ

จริงๆมันต้องใช้หน่วยปราบจราจลก่อนนั่นล่ะ ถ้าจะเอาตามหลักสากล
Spoil

ถ้าจะเทียบด้วยหลักสากล สมัยม๊อบพันธมิตรนั่นล่ะ มาตรฐานสากล ไม่มีทหารเข้าร่วมครับ

หลักสากลไม่ถือว่าทหารคือหน่วยสลายฝูงชนนะ ถ้าระบุตามหน้าที่ตรงตัวก็ไม่ใช่หน้าที่ด้วย

แล้วก็ไม่ใช่ว่าใช้กระสุนอะไรก็ได้ในทันที แต่ต้องมีการประกาศเตือนให้ประชาชนในพื้นที่ชุมนุมรับทราบว่าจะทำอะไรต่อในสถานการณ์ตอนนั้น

ที่พลาดคือ สื่อสารไม่ชัดเจนเอง ตอนประกาศตามทีวีเลย

ที่ ศอฉ แถลงว่าจะใช้การกระชับพื้นที่(เทพเทือกเป็นคนแถลงครับ จำได้เลยเพราะอยู่หน้าทีวี)

แล้วบอกประชาชนที่มาชุมนุมว่า ถ้าออกจากพื้นที่ชุมนุมก็ให้ออกได้ เพราะจะใช้กำลังสลายแล้ว แล้วจะสลายด้วยกระสุนยาง ลูกแบ๊งค์ บลาๆ ยังไม่มีการพูดถึงการใช้กระสุนจริงในขั้นตอนนี้

แต่พอถึงสถานการณ์จริง คนในออกไม่ได้ หนีเข้าวัดก็โดนยิง ก็อย่างที่เห็นกันในข่าวนั่นล่ะ  


 


ผมไม่รู้ว่าหน่วยปราบจราจล เรียกกองทัพได้ไหม

1992 Los Angeles riots
- California Army National Guardsmen


1999 Seattle WTO protests
- The Washington Army National Guard

เป็นข้อมูลเกือบๆ 20 ปี  


ถ้าเรียกตามระบุแบบสังกัดก็เรียกว่าเป็นหน่วยหรือสังกัดละมั้ง?

ถ้าเรียกว่ากองทัพก็ได้ แต่ไม่น่าใช่ของกลาโหมอะในไทย

ผมก็ไม่แน่ใจว่า ของไทยคุ้นๆสังกัดของมหาดไท ปะ ไอหน่วยสลายฝูงชนอะไรนั่น

ที่ขึ้นตรงกับ ตร อะ เห็นมีฝึกซ้อมกันทุกปี

เห็นเอามาใช้จริงๆที่ผมเห็นครั้งแรกก็ช่วงก่อนทำเนียบถูกยึดช่วงปี 47 48นี่ล่ะมั้ง

หลังๆมาก็ไม่ค่อยเห็นละ เห็นส่วนมากก็เห็นเป็นทหารเข้ามาทำจนเหมือนว่ากลายเป็นหน้าที่ทหารไปซะอย่างนั้น  


ของไทยก็คือ กองร้อยปราบจลาจลครับ จัดตั้งจากเจ้าหน้าที่ตำรวจของหน่วยต่างๆตามกองบัญชาการ เช่น กองบัญชาการตำรวจนครบาล หรือ กองบัญชาการตำรวจภูธรภาคต่างๆ
ส่วนทหารโดยทั่วไป เป็นผู้ช่วยเหลือ
ในอเมริกาถ้ามีเหตุก่อจลาจลหรือแม้แต่ภัยพิบัติหรือสถานการณ์ฉุกเฉิน มีกฏหมายว่าห้ามมีการใช้กำลังทหารภายในแผ่นดินอเมริกา แต่ก็ไม่ได้ใช้กำลังตำรวจเช่นกัน จึงจัดตั้งกองกำลัง National Guard ขึ้นมาเพื่อใช้แทนกำลังทหาร ซึ่งเอาจริงๆก็ไม่แตกต่างกันอาวุธยุทโธปกรณ์พอๆกันทั้งหนักและเบา
ส่วนในประเทศแถบเอเชียหรืออาเซียนต่างๆ ส่วนมากก็ใช้กำลังกองร้อยปราบจลาจล อยู่ที่จะจัดตั้งจากกำลังตำรวจหรือทหาร แต่ถ้ามีการประกาศกฏอัยการศึก ซึ่งก็คล้ายคลึงกัน เนื่องด้วยทุกๆประเทศกำลังทหารจะมีความพร้อมมากที่สุด เมื่อสถานการณ์รุนแรงขึ้นยังไงส่วนมากก็ใช้กำลังทหารเข้ามาดูแลกันทั้งนั้นครับ
 


เอ่อ ใช่ ผมลืมไปเลยว่าตอนสลายเสื้อแดง 56 มันประกาศอัยการศึกทับไปอีกทีด้วยนี่

ขอบคุณข้อมูลจริงๆครับ

ลืมไปซะสนิทเลย เพราะปกติถ้าทั่วๆไป จะเป็นเบาไปหาหนัก คือต้องกองร้อยปราบจราจลก่อน

แต่ด้วยมาตรฐานการทำงานในปี 56 เมื่อเอามาเทียบปี 48 มันคนละอย่างกัน

ขออภัยจริงๆ ที่คลาดเคลื่อนในด้านข้อมูล
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ค.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Dec 2015
ตอบ: 3895
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 22, 2019 23:39
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
ยาวได้อีกมู้นี้ ฮ่าๆ

เรื่องสลายการชุมนุม ก็ตามขั้นตอนสากลนั่นละครับ แต่ของเราคือเริ่มต้นใช้กำลังตำรวจเป็นหลัก(กองร้อยควบคุมฝูงชนนั่นละ) ภายใต้คำสั่งของรัฐบาล สูงสุดคือประกาศสถาณการณ์ฉุกเฉินแค่นั้น ส่วนทหารเรียกมาช่วยได้แต่ก็แล้วแต่เขาว่าจะมาไหมอีก(ถ้าจำไม่ผิดจะมีปัญหาเรื่องการเซ็นต์หาคนรับผิดชอบสิ่งที่จะเกิดขึ้น เลยกั๊กๆกันไปมานี่ละ รอบพี่มาร์คน่าจะพี่เทพเซ็นต์มั้ง)

ที่อาจจะขัดใจผมเลยคือ การประกาศกฏอัยการศึก มันไม่จำเป็นต้องผ่านรัฐบาล ผบ.ทบ.ประกาศเองได้เลย อำนาจทหารเลยขี่รัฐบาลอยู่นิดๆในตรงนี้ การยึดอำนาจรัฐประหารส่วนใหญ่ก็เริ่มจากอัยการศึกนี่ละ

0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
คอมเมนเตเตอร์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Feb 2011
ตอบ: 6423
ที่อยู่: แถวตู้หนังสือ
โพสเมื่อ: Fri Feb 22, 2019 23:49
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
- เรื่องคดีความ อย่าให้พูดเลยนะ มีคนเอามาบิดเบือนเยอะ
ยกตัวอย่าง คดีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิพากษา
(จำเลขคดีไม่ได้ น่าจะ อม.1/25....)ที่ทักษิณ ชินวัตร ต้องโทษจำคุก เป็นคดี
อันเกิดจากการที่ให้ภรรยาของตัวเองซื้อที่ดินจากกองทุนที่ตนเองมีหน้าที่กำกับ ดูแลอยู่
ซึ่งเป็นเรื่องการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ตามมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับปี 42 (ฉบับเดิม)แล้วกฎหมายก็กำหนด
ชัดเจนว่า ความผิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ถือเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ แต่คนชอบเอาไปพูดกันว่า
โห แค่เซ็นชื่อให้เมียซื้อที่ดินก็ติดคุก แล้วคนก็จำแต่เรื่องแบบนี้ จนเข้าใจว่าถูกกลั่นแกล้ง หลังจากนั้น ก็เอาไปโยงว่า คดีนี้คือคดีการเมือง แล้วนี่คือมันใช่ไหม

- คนที่บอกศาลพวกเดียวกัน เคยอ่านคำวินิจฉัยเต็มหรือยัง หรืออ่านจากข่าว หรือฟังเขาพูดมา แล้วเอามาพูดต่อ คำวินิจฉัย จะมีข้อเท็จจริงที่รับฟังเป็นยุติ ข้อกฎหมายที่นำมาปรับแก่คดี บางครั้งอาจจะบรรยายถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายที่นำมาปรับด้วยซ้ำ ก่อนที่จะถึงข้อพิจารณา แล้วจบด้วยผลของการวินิจฉัย รบกวนอ่านก่อน แล้วถ้าไม่เห็นด้วย ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้ ที่เป็นเหตุเป็นผลในทางกฎหมาย
 


คุณพูดไปเรื่อย นิสัยไม่ดีไม่พูดความจริงทั้งหมด นิสัยแบบนี้แย่นะทำคนไทยแตกแยกหมด

คุณพูดได้ไงว่าคุณทักษิณให้ภรรยาซื้อที่ดิน ทั้งที่ประเด็นนี้แม้แต่ในศาลยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยซ้ำ

คุณนี่มันแย่จริงๆ

 


งั้นความจริงเป็นยังไงครับ รบกวนสรุปข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย ตามที่ท่านเข้าใจหน่อย เพราะที่ผมอ่านคำวินิจฉัย มีข้อเท็จจริงว่า จำเลยที่ 1 (นาย ท.) ลงลายมือชื่อให้ ความยินยอมจำเลยที่ 2 (นาง พ.) ซื้อที่ดิน... แบบนี้ถ้าผมระบุว่า ให้ภรรยาซืื้อที่ดิน ไม่ถูกใช่ไหมครับ  


ให้ความยินยอมก็คือให้ความยินยอมแต่ไม่ได้หมายถึงให้ภรรยาซื้อ

เหมือนแฟนคุณอยากซื้อกระเป๋าใบละ 20000 แม้คุณไม่ได้บอกให้ภรรยาคุณซื้อแต่คุณก็ต้องยินยอม

เหตุที่คุณทักษิณต้องเซ็นยินยอมเพราะเป็นคู่สมรสถ้าคู่สมรสไม่เซ็นยินยอมก็โอนที่ดินไม่ได้ ถ้าโอนไม่ได้การประมูลซื้อที่ดินก็จะเป็นโมฆะแน่นอนว่าต้องถูกริบเงินมัดจำแน่นอน

ประเด็นคือการประมูลที่ดินตรงนี้คุณทักษิณมีส่วนร่วมรู้เห็นซึ่งแสดงถึงเจตนาตั้งแต่แรกหรือไม่ คุณลองกลับไปอ่านคำวินิจฉัยตรงนี้ใหม่ให้ดีๆครับ ศาลท่านได้บอกไว้แล้ว

สำคัญคือหากไม่สามารถพิสูจน์เจตนาตรงนี้ได้ศาลควรมีแนวทางอย่างไร หากคุณเชื่อว่าคุณมีเหตุมีผลที่ดีจริง

คุณต้องพบความย้อนแย้งกันเองแน่นอน
 


การกระทำของจำเลยที่ 2 ใหุ้ถือเป็นการกระทำของจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 100 วรรคท้าย พ.ร.บ.ป.ช.ช. ครับ  


มันไม่ง่ายขนาดที่คุณจะยกแค่ประโยคเดียวมาพูดห้วนๆเพื่อตัดจบหรอกครับ

พอดีผมใช้มือถือไม่สะดวกพิมพ์สรุปให้ชัดเจน ไว้กลับถึงบ้านก่อนค่อยมาเพิ่มให้หล่ะกัน

 

- แล้วที่บอกว่าสั้นนี่ ข้อกฎหมายทั้งนั้น ผมว่าคุณไปศึกษาข้อกฎหมาย มาตรา 100 วรรคท้าย ประกอบ มาตรา 122 วรรคสอง แล้วค่อยมาคุยกับผมดีกว่า เพราะข้อเท็จจรืง มันยุติแล้วว่าจำเลยที่ 1 ยืนยอมให้จำเลยที่ 2 ซื้อที่ดิน หากจำเลยที่ 1 ต้องการจะพ้นผิด ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ไม่ได้รู้เห็นกับการที่จำเลยที่ 2 ไปซื้อที่ดิน ตามมาตรา 122 วรรคสอง
- เอาจริงๆ ผมไม่อยากอะไรนะ แต่แค่โควทแรก คุณมากล่าวหาผมเสียๆ หายไป ด้วยซ้ำ แต่ก็นะ ให้อภัย
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แขวนสตั๊ด
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Dec 2016
ตอบ: 9790
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 23, 2019 00:32
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
- เรื่องคดีความ อย่าให้พูดเลยนะ มีคนเอามาบิดเบือนเยอะ
ยกตัวอย่าง คดีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิพากษา
(จำเลขคดีไม่ได้ น่าจะ อม.1/25....)ที่ทักษิณ ชินวัตร ต้องโทษจำคุก เป็นคดี
อันเกิดจากการที่ให้ภรรยาของตัวเองซื้อที่ดินจากกองทุนที่ตนเองมีหน้าที่กำกับ ดูแลอยู่
ซึ่งเป็นเรื่องการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ตามมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับปี 42 (ฉบับเดิม)แล้วกฎหมายก็กำหนด
ชัดเจนว่า ความผิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ถือเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ แต่คนชอบเอาไปพูดกันว่า
โห แค่เซ็นชื่อให้เมียซื้อที่ดินก็ติดคุก แล้วคนก็จำแต่เรื่องแบบนี้ จนเข้าใจว่าถูกกลั่นแกล้ง หลังจากนั้น ก็เอาไปโยงว่า คดีนี้คือคดีการเมือง แล้วนี่คือมันใช่ไหม

- คนที่บอกศาลพวกเดียวกัน เคยอ่านคำวินิจฉัยเต็มหรือยัง หรืออ่านจากข่าว หรือฟังเขาพูดมา แล้วเอามาพูดต่อ คำวินิจฉัย จะมีข้อเท็จจริงที่รับฟังเป็นยุติ ข้อกฎหมายที่นำมาปรับแก่คดี บางครั้งอาจจะบรรยายถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายที่นำมาปรับด้วยซ้ำ ก่อนที่จะถึงข้อพิจารณา แล้วจบด้วยผลของการวินิจฉัย รบกวนอ่านก่อน แล้วถ้าไม่เห็นด้วย ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้ ที่เป็นเหตุเป็นผลในทางกฎหมาย
 


คุณพูดไปเรื่อย นิสัยไม่ดีไม่พูดความจริงทั้งหมด นิสัยแบบนี้แย่นะทำคนไทยแตกแยกหมด

คุณพูดได้ไงว่าคุณทักษิณให้ภรรยาซื้อที่ดิน ทั้งที่ประเด็นนี้แม้แต่ในศาลยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยซ้ำ

คุณนี่มันแย่จริงๆ

 


งั้นความจริงเป็นยังไงครับ รบกวนสรุปข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย ตามที่ท่านเข้าใจหน่อย เพราะที่ผมอ่านคำวินิจฉัย มีข้อเท็จจริงว่า จำเลยที่ 1 (นาย ท.) ลงลายมือชื่อให้ ความยินยอมจำเลยที่ 2 (นาง พ.) ซื้อที่ดิน... แบบนี้ถ้าผมระบุว่า ให้ภรรยาซืื้อที่ดิน ไม่ถูกใช่ไหมครับ  


ให้ความยินยอมก็คือให้ความยินยอมแต่ไม่ได้หมายถึงให้ภรรยาซื้อ

เหมือนแฟนคุณอยากซื้อกระเป๋าใบละ 20000 แม้คุณไม่ได้บอกให้ภรรยาคุณซื้อแต่คุณก็ต้องยินยอม

เหตุที่คุณทักษิณต้องเซ็นยินยอมเพราะเป็นคู่สมรสถ้าคู่สมรสไม่เซ็นยินยอมก็โอนที่ดินไม่ได้ ถ้าโอนไม่ได้การประมูลซื้อที่ดินก็จะเป็นโมฆะแน่นอนว่าต้องถูกริบเงินมัดจำแน่นอน

ประเด็นคือการประมูลที่ดินตรงนี้คุณทักษิณมีส่วนร่วมรู้เห็นซึ่งแสดงถึงเจตนาตั้งแต่แรกหรือไม่ คุณลองกลับไปอ่านคำวินิจฉัยตรงนี้ใหม่ให้ดีๆครับ ศาลท่านได้บอกไว้แล้ว

สำคัญคือหากไม่สามารถพิสูจน์เจตนาตรงนี้ได้ศาลควรมีแนวทางอย่างไร หากคุณเชื่อว่าคุณมีเหตุมีผลที่ดีจริง

คุณต้องพบความย้อนแย้งกันเองแน่นอน
 


การกระทำของจำเลยที่ 2 ใหุ้ถือเป็นการกระทำของจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 100 วรรคท้าย พ.ร.บ.ป.ช.ช. ครับ  


มันไม่ง่ายขนาดที่คุณจะยกแค่ประโยคเดียวมาพูดห้วนๆเพื่อตัดจบหรอกครับ

พอดีผมใช้มือถือไม่สะดวกพิมพ์สรุปให้ชัดเจน ไว้กลับถึงบ้านก่อนค่อยมาเพิ่มให้หล่ะกัน

 

- แล้วที่บอกว่าสั้นนี่ ข้อกฎหมายทั้งนั้น ผมว่าคุณไปศึกษาข้อกฎหมาย มาตรา 100 วรรคท้าย ประกอบ มาตรา 122 วรรคสอง แล้วค่อยมาคุยกับผมดีกว่า เพราะข้อเท็จจรืง มันยุติแล้วว่าจำเลยที่ 1 ยืนยอมให้จำเลยที่ 2 ซื้อที่ดิน หากจำเลยที่ 1 ต้องการจะพ้นผิด ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ไม่ได้รู้เห็นกับการที่จำเลยที่ 2 ไปซื้อที่ดิน ตามมาตรา 122 วรรคสอง
- เอาจริงๆ ผมไม่อยากอะไรนะ แต่แค่โควทแรก คุณมากล่าวหาผมเสียๆ หายไป ด้วยซ้ำ แต่ก็นะ ให้อภัย  


ตามคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า การกระทำของจำเลยที่ 1 ตามที่โจทก์(อัยการสูงสุด) บรรยายฟ้องมา มีเพียงการที่จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในการร่วมประมูลซื้อและทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท และจากการไต่สวนพยานของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ประกอบรายงานสรุปสำนวนการตรวจสอบไต่สวนของ คตส. (คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ) ได้ความว่า

การดำเนินการตั้งแต่ร่วมเสนอราคา ทำสัญญาจะซื้อจะขาย จนกระทั่งทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกับกองทุนฟื้นฟูฯ นั้น เป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เพียงคนเดียว โดยไม่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 มีการกระทำการอย่างใด ที่แสดงให้เห็นว่าร่วมกระทำการดังกล่าวกับจำเลยที่ 2 ด้วย จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 มีส่วนกระทำหรือเกี่ยวข้องในอันที่จะแสดงให้เห็นถึงเจตนาของจำเลยที่ 1 ว่าประสงค์จะมีเจตนาร่วมซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2


พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 100 บัญญัติว่า “ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ดำเนินกิจการ
ต่อไปนี้ (1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่กำกับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีอำนาจ กำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี”

วรรคสองบัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐตำแหน่งใดที่ต้องห้ามมิให้ดำเนินกิจการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา” (ซึ่งรวมถึง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีด้วย) และวรรคสามบัญญัติว่า

“ให้นำบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคสอง โดยให้ถือว่าการดำเนินกิจการของคู่สมรส ดังกล่าวเป็นการดำเนินกิจการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ”

มาตรา 122 บัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรา 100 มาตรา 101 หรือมาตรา 103 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ” และวรรคสองบัญญัติว่า “กรณีความผิดตามมาตรา 100 วรรคสาม หากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด พิสูจน์ได้ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่คู่สมรสของตนดำเนินกิจการตามมาตรา 100 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่า ผู้นั้นไม่มีความผิด”

ดังนี้ จะเห็นได้ว่า ตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้น พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมเสนอราคาในการประมูลซื้อที่ดินพิพาทกับคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาท ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท แต่เป็นการดำเนินการของคุณหญิงพจมาน จำเลยที่ 2 แต่เพียงผู้เดียว

ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏชัดแจ้งต่อศาลดังที่ปรากฏในคำวินิจฉัยของศาลเอง เช่นนี้แล้ว การดำเนินกิจการดังกล่าวของจำเลยที่ 2 ในฐานะคู่สมรสของจำเลยที่ 1 จึงเป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เองตามลำพัง จำเลยที่ 1 จึงไม่ได้รู้เห็นด้วย เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่ได้รู้เห็นตั้งแต่ต้นเสียแล้ว โอกาสที่จำเลยที่ 1 จะให้หรือไม่ให้ความยินยอม จึงไม่มีหรือเป็นไม่ได้อยู่ในตัว ซึ่งก็ไม่ผิดวิสัยที่ครอบครัวที่ร่ำรวยมั่งคั่งมีทรัพย์สินนับแสนล้านบาท อย่างเช่น จำเลยที่ 1 และ จำเลยที่ 2 จะทำเช่นนั้นได้

และเมื่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยมาแล้วว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกระทำของจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 1 ไม่ประสงค์ที่จะมีเจตนาซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2 แล้ว การที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า จำเลยทั้งสองไม่มีพยานหลักฐานใด มาพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 มิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่จำเลยที่ 2 ดำเนินการตามมาตรา 100 นั้น ย่อมเท่ากับบังคับให้จำเลยที่ 1 หรือจำเลยที่ 2 นำพยานหลักฐานมาสืบพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่ศาลรู้เองอยู่แล้ว

ขอข้ามไปที่บทสรุปเลยนะครับ

ปรากฏจากคำพิพากษาที่อ่านและเปิดเผยแล้วว่า คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คนลงมติด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 ว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดให้จำคุก 2 ปี ย่อมแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า ในชั้นที่ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ทำหน้าที่ประธานสอบถามความเห็นผู้พิพากษา อีก 8 คนนั้น มีผู้พิพากษา 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดแต่ผู้พิพากษาอีก 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด คะแนนเสียงจึงเป็น 4 ต่อ 4 เท่ากัน แย้งกันอยู่

กรณีเช่นนี้ ณ เวลานั้น ขณะนั้น จึงต้องด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดังกล่าวข้างต้นว่า ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิดและกรณียังเป็นที่สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงหรือไม่ เพราะมีคะแนนเสียงเท่ากัน หาเสียงข้างมากไม่ได้ ซึ่งกรณีย่อมต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 184 ที่บัญญัติว่า

“ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า” อีกด้วย

ดังนั้น ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนคดีนี้ ซึ่งเป็นประธานและต้องออกเสียงเป็นคนสุดท้าย จึงต้องถูกผูกมัดและถูกบังคับด้วยบทกฎหมายที่บัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งดังกล่าว ให้จำต้องลงมติว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด เพราะเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า แม้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน จะมีความเห็นขณะนั้นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดก็ตาม

แต่สุดท้ายผลก็ออกมาว่าคุณทักษิณผิด


อ้างอิง

https://www.dlo.co.th/node/204

ตามนี้เนาะ คนที่ใจมีความเป็นธรรมย่อมเห็นถึงความไม่สมเหตุสมผลแต่ก็อย่างว่าอ่ะนะ

สำหรับคุณหรือใครๆอีกหลายคนผมเข้าใจครับ

พวกคุณเป็นแบบนั้นแหล่ะ


0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
คอมเมนเตเตอร์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Feb 2011
ตอบ: 6423
ที่อยู่: แถวตู้หนังสือ
โพสเมื่อ: Sat Feb 23, 2019 07:16
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
niali พิมพ์ว่า:
Spoil
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
- เรื่องคดีความ อย่าให้พูดเลยนะ มีคนเอามาบิดเบือนเยอะ
ยกตัวอย่าง คดีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิพากษา
(จำเลขคดีไม่ได้ น่าจะ อม.1/25....)ที่ทักษิณ ชินวัตร ต้องโทษจำคุก เป็นคดี
อันเกิดจากการที่ให้ภรรยาของตัวเองซื้อที่ดินจากกองทุนที่ตนเองมีหน้าที่กำกับ ดูแลอยู่
ซึ่งเป็นเรื่องการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ตามมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับปี 42 (ฉบับเดิม)แล้วกฎหมายก็กำหนด
ชัดเจนว่า ความผิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ถือเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ แต่คนชอบเอาไปพูดกันว่า
โห แค่เซ็นชื่อให้เมียซื้อที่ดินก็ติดคุก แล้วคนก็จำแต่เรื่องแบบนี้ จนเข้าใจว่าถูกกลั่นแกล้ง หลังจากนั้น ก็เอาไปโยงว่า คดีนี้คือคดีการเมือง แล้วนี่คือมันใช่ไหม

- คนที่บอกศาลพวกเดียวกัน เคยอ่านคำวินิจฉัยเต็มหรือยัง หรืออ่านจากข่าว หรือฟังเขาพูดมา แล้วเอามาพูดต่อ คำวินิจฉัย จะมีข้อเท็จจริงที่รับฟังเป็นยุติ ข้อกฎหมายที่นำมาปรับแก่คดี บางครั้งอาจจะบรรยายถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายที่นำมาปรับด้วยซ้ำ ก่อนที่จะถึงข้อพิจารณา แล้วจบด้วยผลของการวินิจฉัย รบกวนอ่านก่อน แล้วถ้าไม่เห็นด้วย ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้ ที่เป็นเหตุเป็นผลในทางกฎหมาย
 


คุณพูดไปเรื่อย นิสัยไม่ดีไม่พูดความจริงทั้งหมด นิสัยแบบนี้แย่นะทำคนไทยแตกแยกหมด

คุณพูดได้ไงว่าคุณทักษิณให้ภรรยาซื้อที่ดิน ทั้งที่ประเด็นนี้แม้แต่ในศาลยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยซ้ำ

คุณนี่มันแย่จริงๆ

 


งั้นความจริงเป็นยังไงครับ รบกวนสรุปข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย ตามที่ท่านเข้าใจหน่อย เพราะที่ผมอ่านคำวินิจฉัย มีข้อเท็จจริงว่า จำเลยที่ 1 (นาย ท.) ลงลายมือชื่อให้ ความยินยอมจำเลยที่ 2 (นาง พ.) ซื้อที่ดิน... แบบนี้ถ้าผมระบุว่า ให้ภรรยาซืื้อที่ดิน ไม่ถูกใช่ไหมครับ  


ให้ความยินยอมก็คือให้ความยินยอมแต่ไม่ได้หมายถึงให้ภรรยาซื้อ

เหมือนแฟนคุณอยากซื้อกระเป๋าใบละ 20000 แม้คุณไม่ได้บอกให้ภรรยาคุณซื้อแต่คุณก็ต้องยินยอม

เหตุที่คุณทักษิณต้องเซ็นยินยอมเพราะเป็นคู่สมรสถ้าคู่สมรสไม่เซ็นยินยอมก็โอนที่ดินไม่ได้ ถ้าโอนไม่ได้การประมูลซื้อที่ดินก็จะเป็นโมฆะแน่นอนว่าต้องถูกริบเงินมัดจำแน่นอน

ประเด็นคือการประมูลที่ดินตรงนี้คุณทักษิณมีส่วนร่วมรู้เห็นซึ่งแสดงถึงเจตนาตั้งแต่แรกหรือไม่ คุณลองกลับไปอ่านคำวินิจฉัยตรงนี้ใหม่ให้ดีๆครับ ศาลท่านได้บอกไว้แล้ว

สำคัญคือหากไม่สามารถพิสูจน์เจตนาตรงนี้ได้ศาลควรมีแนวทางอย่างไร หากคุณเชื่อว่าคุณมีเหตุมีผลที่ดีจริง

คุณต้องพบความย้อนแย้งกันเองแน่นอน
 


การกระทำของจำเลยที่ 2 ใหุ้ถือเป็นการกระทำของจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 100 วรรคท้าย พ.ร.บ.ป.ช.ช. ครับ  


มันไม่ง่ายขนาดที่คุณจะยกแค่ประโยคเดียวมาพูดห้วนๆเพื่อตัดจบหรอกครับ

พอดีผมใช้มือถือไม่สะดวกพิมพ์สรุปให้ชัดเจน ไว้กลับถึงบ้านก่อนค่อยมาเพิ่มให้หล่ะกัน

 

- แล้วที่บอกว่าสั้นนี่ ข้อกฎหมายทั้งนั้น ผมว่าคุณไปศึกษาข้อกฎหมาย มาตรา 100 วรรคท้าย ประกอบ มาตรา 122 วรรคสอง แล้วค่อยมาคุยกับผมดีกว่า เพราะข้อเท็จจรืง มันยุติแล้วว่าจำเลยที่ 1 ยืนยอมให้จำเลยที่ 2 ซื้อที่ดิน หากจำเลยที่ 1 ต้องการจะพ้นผิด ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ไม่ได้รู้เห็นกับการที่จำเลยที่ 2 ไปซื้อที่ดิน ตามมาตรา 122 วรรคสอง
- เอาจริงๆ ผมไม่อยากอะไรนะ แต่แค่โควทแรก คุณมากล่าวหาผมเสียๆ หายไป ด้วยซ้ำ แต่ก็นะ ให้อภัย  


ตามคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า การกระทำของจำเลยที่ 1 ตามที่โจทก์(อัยการสูงสุด) บรรยายฟ้องมา มีเพียงการที่จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในการร่วมประมูลซื้อและทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท และจากการไต่สวนพยานของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ประกอบรายงานสรุปสำนวนการตรวจสอบไต่สวนของ คตส. (คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ) ได้ความว่า

การดำเนินการตั้งแต่ร่วมเสนอราคา ทำสัญญาจะซื้อจะขาย จนกระทั่งทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกับกองทุนฟื้นฟูฯ นั้น เป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เพียงคนเดียว โดยไม่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 มีการกระทำการอย่างใด ที่แสดงให้เห็นว่าร่วมกระทำการดังกล่าวกับจำเลยที่ 2 ด้วย จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 มีส่วนกระทำหรือเกี่ยวข้องในอันที่จะแสดงให้เห็นถึงเจตนาของจำเลยที่ 1 ว่าประสงค์จะมีเจตนาร่วมซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2


พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 100 บัญญัติว่า “ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ดำเนินกิจการ
ต่อไปนี้ (1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่กำกับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีอำนาจ กำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี”

วรรคสองบัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐตำแหน่งใดที่ต้องห้ามมิให้ดำเนินกิจการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา” (ซึ่งรวมถึง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีด้วย) และวรรคสามบัญญัติว่า

“ให้นำบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคสอง โดยให้ถือว่าการดำเนินกิจการของคู่สมรส ดังกล่าวเป็นการดำเนินกิจการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ”

มาตรา 122 บัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรา 100 มาตรา 101 หรือมาตรา 103 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ” และวรรคสองบัญญัติว่า “กรณีความผิดตามมาตรา 100 วรรคสาม หากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด พิสูจน์ได้ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่คู่สมรสของตนดำเนินกิจการตามมาตรา 100 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่า ผู้นั้นไม่มีความผิด”

ดังนี้ จะเห็นได้ว่า ตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้น พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมเสนอราคาในการประมูลซื้อที่ดินพิพาทกับคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาท ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท แต่เป็นการดำเนินการของคุณหญิงพจมาน จำเลยที่ 2 แต่เพียงผู้เดียว

ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏชัดแจ้งต่อศาลดังที่ปรากฏในคำวินิจฉัยของศาลเอง เช่นนี้แล้ว การดำเนินกิจการดังกล่าวของจำเลยที่ 2 ในฐานะคู่สมรสของจำเลยที่ 1 จึงเป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เองตามลำพัง จำเลยที่ 1 จึงไม่ได้รู้เห็นด้วย เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่ได้รู้เห็นตั้งแต่ต้นเสียแล้ว โอกาสที่จำเลยที่ 1 จะให้หรือไม่ให้ความยินยอม จึงไม่มีหรือเป็นไม่ได้อยู่ในตัว ซึ่งก็ไม่ผิดวิสัยที่ครอบครัวที่ร่ำรวยมั่งคั่งมีทรัพย์สินนับแสนล้านบาท อย่างเช่น จำเลยที่ 1 และ จำเลยที่ 2 จะทำเช่นนั้นได้

และเมื่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยมาแล้วว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกระทำของจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 1 ไม่ประสงค์ที่จะมีเจตนาซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2 แล้ว การที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า จำเลยทั้งสองไม่มีพยานหลักฐานใด มาพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 มิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่จำเลยที่ 2 ดำเนินการตามมาตรา 100 นั้น ย่อมเท่ากับบังคับให้จำเลยที่ 1 หรือจำเลยที่ 2 นำพยานหลักฐานมาสืบพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่ศาลรู้เองอยู่แล้ว

ขอข้ามไปที่บทสรุปเลยนะครับ

ปรากฏจากคำพิพากษาที่อ่านและเปิดเผยแล้วว่า คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คนลงมติด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 ว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดให้จำคุก 2 ปี ย่อมแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า ในชั้นที่ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ทำหน้าที่ประธานสอบถามความเห็นผู้พิพากษา อีก 8 คนนั้น มีผู้พิพากษา 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดแต่ผู้พิพากษาอีก 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด คะแนนเสียงจึงเป็น 4 ต่อ 4 เท่ากัน แย้งกันอยู่

กรณีเช่นนี้ ณ เวลานั้น ขณะนั้น จึงต้องด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดังกล่าวข้างต้นว่า ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิดและกรณียังเป็นที่สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงหรือไม่ เพราะมีคะแนนเสียงเท่ากัน หาเสียงข้างมากไม่ได้ ซึ่งกรณีย่อมต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 184 ที่บัญญัติว่า

“ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า” อีกด้วย

ดังนั้น ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนคดีนี้ ซึ่งเป็นประธานและต้องออกเสียงเป็นคนสุดท้าย จึงต้องถูกผูกมัดและถูกบังคับด้วยบทกฎหมายที่บัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งดังกล่าว ให้จำต้องลงมติว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด เพราะเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า แม้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน จะมีความเห็นขณะนั้นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดก็ตาม

แต่สุดท้ายผลก็ออกมาว่าคุณทักษิณผิด


อ้างอิง

https://www.dlo.co.th/node/204

ตามนี้เนาะ คนที่ใจมีความเป็นธรรมย่อมเห็นถึงความไม่สมเหตุสมผลแต่ก็อย่างว่าอ่ะนะ

สำหรับคุณหรือใครๆอีกหลายคนผมเข้าใจครับ

พวกคุณเป็นแบบนั้นแหล่ะ
 


-ที่คุณอ้างอิง คุณเอาบทความมาอ้าง ผมถึงได้บอกไง (ตั้งแต่โพสต์แรก) ว่าให้อ่านคำวินิจฉัยของศาลก่อน เพราะศาลวินิจฉัยเป็นประเด็น เท่าที่ผมอ่านบทความที่คุณอ้างบางส่วน คือ เหมือนจะโต้แย้งว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ในการซื้อที่ดิน แต่คดีนี้ การจะวินิจฉัยว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิดตามมาตรา 100 ประกอบมาตรา 122 หรือไม่ ไม่ต้องพิสูจน์ถึงขนาดว่า ร่วมกันกระทำความผิด อันเป็นลักษณะตัวการ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 ซึ่งก็ขอพูดตรงนี้เลยว่า ถ้าอ่านคำวินิจฉัย ระบุเลยว่า ตั้งแต่ในชั้นไต่สวนข้อเท็จจริง จำเลยที่ 1 ยื่นคำชี้แจงข้อกล่าวหาว่า จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในฐานะสามี ซึ่งเป็นฐานะส่วนตัว ไม่ใช่ในฐานะนายกรัฐมนตรี (หน้า 7 ต่อเนื่องหน้า 8 ตามลิงก์ที่แนบมา) แล้วเรื่องนี้ อสส. โจทก์ นอกจาก จะฟ้อง มาตรา 100 แล้ว ยังฟ้อง มาตรา 157 ตามประมวลกฎหมายอาญาด้วย แต่ศาลก็ยก ซึ่งมาตรา 100 ศาลก็วินิจฉัยชัดเจนว่า ความผิดตามมาตรานี้ มุ่งเอาผิดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยตรง ไม่เกี่ยวกับเอกชน จึงยกฟ้องในส่วนของจำเลยที่ 2 มันไม่ได้เกี่ยวอะไรกับใจเป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรมหรอก เอาข้อกฎหมายก่อน ผมว่าหลักกฎหมายที่ศาลนำมาวินิจฉัยคดีนี้ หลายคนไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจด้วยซ้ำ

-ขอเปรียบเทียบให้ฟังเลยนะ อย่างมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับเดิม กับ มาตรา 152 ตามประมวลกฎหมายอาญา (เข้ามีส่วนได้เสีย) ลักษณะการกระทำความผิดใกล้เคียงกัน แต่การหาข้อเท็จจริงมาสนับสนุนการกระทำความผิดก็แตกต่างกันแล้ว เพราะมาตรา 100 ลำพัง แค่คู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้าทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่กำกับ ดูแล อยู่ ก็เพียงพอแล้วที่ฟ้องคดี แต่เป็นเรื่องของเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างหาก ที่มีภาระการพิสูจน์ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอม ให้คู่สมรสของตน จึงจะเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ของรัฐคนนั้นพ้นผิด ตามมาตรา 122 วรรคสอง
โดยเรื่องนี้ จำเลยที่ 1 เจ้าหน้าที่ของรัฐ พิสูจน์ไม่ได้ ซึ่งแตกต่างจากฐานความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152 ที่ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ว่า จำเลยในฐานะเจ้าพนักงาน เข้ามีส่วนได้เสียในกิจการที่เจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการ ดูแล กิจการ เพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่นนั้น อย่างไร

ผมแนบให้แล้วกัน คำวินิจฉัย ลองอ่านดู
http://www.supremecourt.or.th/file/criminal/1-50%20kumpiparksar.pdf
แก้ไขล่าสุดโดย Zyxel_Thaibar62 เมื่อ Sat Feb 23, 2019 07:20, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แขวนสตั๊ด
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Dec 2016
ตอบ: 9790
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 23, 2019 08:25
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Spoil
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
- เรื่องคดีความ อย่าให้พูดเลยนะ มีคนเอามาบิดเบือนเยอะ
ยกตัวอย่าง คดีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิพากษา
(จำเลขคดีไม่ได้ น่าจะ อม.1/25....)ที่ทักษิณ ชินวัตร ต้องโทษจำคุก เป็นคดี
อันเกิดจากการที่ให้ภรรยาของตัวเองซื้อที่ดินจากกองทุนที่ตนเองมีหน้าที่กำกับ ดูแลอยู่
ซึ่งเป็นเรื่องการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ตามมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับปี 42 (ฉบับเดิม)แล้วกฎหมายก็กำหนด
ชัดเจนว่า ความผิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ถือเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ แต่คนชอบเอาไปพูดกันว่า
โห แค่เซ็นชื่อให้เมียซื้อที่ดินก็ติดคุก แล้วคนก็จำแต่เรื่องแบบนี้ จนเข้าใจว่าถูกกลั่นแกล้ง หลังจากนั้น ก็เอาไปโยงว่า คดีนี้คือคดีการเมือง แล้วนี่คือมันใช่ไหม

- คนที่บอกศาลพวกเดียวกัน เคยอ่านคำวินิจฉัยเต็มหรือยัง หรืออ่านจากข่าว หรือฟังเขาพูดมา แล้วเอามาพูดต่อ คำวินิจฉัย จะมีข้อเท็จจริงที่รับฟังเป็นยุติ ข้อกฎหมายที่นำมาปรับแก่คดี บางครั้งอาจจะบรรยายถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายที่นำมาปรับด้วยซ้ำ ก่อนที่จะถึงข้อพิจารณา แล้วจบด้วยผลของการวินิจฉัย รบกวนอ่านก่อน แล้วถ้าไม่เห็นด้วย ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้ ที่เป็นเหตุเป็นผลในทางกฎหมาย
 


คุณพูดไปเรื่อย นิสัยไม่ดีไม่พูดความจริงทั้งหมด นิสัยแบบนี้แย่นะทำคนไทยแตกแยกหมด

คุณพูดได้ไงว่าคุณทักษิณให้ภรรยาซื้อที่ดิน ทั้งที่ประเด็นนี้แม้แต่ในศาลยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยซ้ำ

คุณนี่มันแย่จริงๆ

 


งั้นความจริงเป็นยังไงครับ รบกวนสรุปข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย ตามที่ท่านเข้าใจหน่อย เพราะที่ผมอ่านคำวินิจฉัย มีข้อเท็จจริงว่า จำเลยที่ 1 (นาย ท.) ลงลายมือชื่อให้ ความยินยอมจำเลยที่ 2 (นาง พ.) ซื้อที่ดิน... แบบนี้ถ้าผมระบุว่า ให้ภรรยาซืื้อที่ดิน ไม่ถูกใช่ไหมครับ  


ให้ความยินยอมก็คือให้ความยินยอมแต่ไม่ได้หมายถึงให้ภรรยาซื้อ

เหมือนแฟนคุณอยากซื้อกระเป๋าใบละ 20000 แม้คุณไม่ได้บอกให้ภรรยาคุณซื้อแต่คุณก็ต้องยินยอม

เหตุที่คุณทักษิณต้องเซ็นยินยอมเพราะเป็นคู่สมรสถ้าคู่สมรสไม่เซ็นยินยอมก็โอนที่ดินไม่ได้ ถ้าโอนไม่ได้การประมูลซื้อที่ดินก็จะเป็นโมฆะแน่นอนว่าต้องถูกริบเงินมัดจำแน่นอน

ประเด็นคือการประมูลที่ดินตรงนี้คุณทักษิณมีส่วนร่วมรู้เห็นซึ่งแสดงถึงเจตนาตั้งแต่แรกหรือไม่ คุณลองกลับไปอ่านคำวินิจฉัยตรงนี้ใหม่ให้ดีๆครับ ศาลท่านได้บอกไว้แล้ว

สำคัญคือหากไม่สามารถพิสูจน์เจตนาตรงนี้ได้ศาลควรมีแนวทางอย่างไร หากคุณเชื่อว่าคุณมีเหตุมีผลที่ดีจริง

คุณต้องพบความย้อนแย้งกันเองแน่นอน
 


การกระทำของจำเลยที่ 2 ใหุ้ถือเป็นการกระทำของจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 100 วรรคท้าย พ.ร.บ.ป.ช.ช. ครับ  


มันไม่ง่ายขนาดที่คุณจะยกแค่ประโยคเดียวมาพูดห้วนๆเพื่อตัดจบหรอกครับ

พอดีผมใช้มือถือไม่สะดวกพิมพ์สรุปให้ชัดเจน ไว้กลับถึงบ้านก่อนค่อยมาเพิ่มให้หล่ะกัน

 

- แล้วที่บอกว่าสั้นนี่ ข้อกฎหมายทั้งนั้น ผมว่าคุณไปศึกษาข้อกฎหมาย มาตรา 100 วรรคท้าย ประกอบ มาตรา 122 วรรคสอง แล้วค่อยมาคุยกับผมดีกว่า เพราะข้อเท็จจรืง มันยุติแล้วว่าจำเลยที่ 1 ยืนยอมให้จำเลยที่ 2 ซื้อที่ดิน หากจำเลยที่ 1 ต้องการจะพ้นผิด ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ไม่ได้รู้เห็นกับการที่จำเลยที่ 2 ไปซื้อที่ดิน ตามมาตรา 122 วรรคสอง
- เอาจริงๆ ผมไม่อยากอะไรนะ แต่แค่โควทแรก คุณมากล่าวหาผมเสียๆ หายไป ด้วยซ้ำ แต่ก็นะ ให้อภัย  


ตามคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า การกระทำของจำเลยที่ 1 ตามที่โจทก์(อัยการสูงสุด) บรรยายฟ้องมา มีเพียงการที่จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในการร่วมประมูลซื้อและทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท และจากการไต่สวนพยานของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ประกอบรายงานสรุปสำนวนการตรวจสอบไต่สวนของ คตส. (คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ) ได้ความว่า

การดำเนินการตั้งแต่ร่วมเสนอราคา ทำสัญญาจะซื้อจะขาย จนกระทั่งทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกับกองทุนฟื้นฟูฯ นั้น เป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เพียงคนเดียว โดยไม่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 มีการกระทำการอย่างใด ที่แสดงให้เห็นว่าร่วมกระทำการดังกล่าวกับจำเลยที่ 2 ด้วย จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 มีส่วนกระทำหรือเกี่ยวข้องในอันที่จะแสดงให้เห็นถึงเจตนาของจำเลยที่ 1 ว่าประสงค์จะมีเจตนาร่วมซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2


พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 100 บัญญัติว่า “ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ดำเนินกิจการ
ต่อไปนี้ (1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่กำกับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีอำนาจ กำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี”

วรรคสองบัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐตำแหน่งใดที่ต้องห้ามมิให้ดำเนินกิจการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา” (ซึ่งรวมถึง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีด้วย) และวรรคสามบัญญัติว่า

“ให้นำบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคสอง โดยให้ถือว่าการดำเนินกิจการของคู่สมรส ดังกล่าวเป็นการดำเนินกิจการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ”

มาตรา 122 บัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรา 100 มาตรา 101 หรือมาตรา 103 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ” และวรรคสองบัญญัติว่า “กรณีความผิดตามมาตรา 100 วรรคสาม หากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด พิสูจน์ได้ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่คู่สมรสของตนดำเนินกิจการตามมาตรา 100 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่า ผู้นั้นไม่มีความผิด”

ดังนี้ จะเห็นได้ว่า ตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้น พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมเสนอราคาในการประมูลซื้อที่ดินพิพาทกับคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาท ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท แต่เป็นการดำเนินการของคุณหญิงพจมาน จำเลยที่ 2 แต่เพียงผู้เดียว

ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏชัดแจ้งต่อศาลดังที่ปรากฏในคำวินิจฉัยของศาลเอง เช่นนี้แล้ว การดำเนินกิจการดังกล่าวของจำเลยที่ 2 ในฐานะคู่สมรสของจำเลยที่ 1 จึงเป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เองตามลำพัง จำเลยที่ 1 จึงไม่ได้รู้เห็นด้วย เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่ได้รู้เห็นตั้งแต่ต้นเสียแล้ว โอกาสที่จำเลยที่ 1 จะให้หรือไม่ให้ความยินยอม จึงไม่มีหรือเป็นไม่ได้อยู่ในตัว ซึ่งก็ไม่ผิดวิสัยที่ครอบครัวที่ร่ำรวยมั่งคั่งมีทรัพย์สินนับแสนล้านบาท อย่างเช่น จำเลยที่ 1 และ จำเลยที่ 2 จะทำเช่นนั้นได้

และเมื่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยมาแล้วว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกระทำของจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 1 ไม่ประสงค์ที่จะมีเจตนาซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2 แล้ว การที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า จำเลยทั้งสองไม่มีพยานหลักฐานใด มาพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 มิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่จำเลยที่ 2 ดำเนินการตามมาตรา 100 นั้น ย่อมเท่ากับบังคับให้จำเลยที่ 1 หรือจำเลยที่ 2 นำพยานหลักฐานมาสืบพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่ศาลรู้เองอยู่แล้ว

ขอข้ามไปที่บทสรุปเลยนะครับ

ปรากฏจากคำพิพากษาที่อ่านและเปิดเผยแล้วว่า คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คนลงมติด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 ว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดให้จำคุก 2 ปี ย่อมแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า ในชั้นที่ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ทำหน้าที่ประธานสอบถามความเห็นผู้พิพากษา อีก 8 คนนั้น มีผู้พิพากษา 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดแต่ผู้พิพากษาอีก 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด คะแนนเสียงจึงเป็น 4 ต่อ 4 เท่ากัน แย้งกันอยู่

กรณีเช่นนี้ ณ เวลานั้น ขณะนั้น จึงต้องด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดังกล่าวข้างต้นว่า ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิดและกรณียังเป็นที่สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงหรือไม่ เพราะมีคะแนนเสียงเท่ากัน หาเสียงข้างมากไม่ได้ ซึ่งกรณีย่อมต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 184 ที่บัญญัติว่า

“ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า” อีกด้วย

ดังนั้น ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนคดีนี้ ซึ่งเป็นประธานและต้องออกเสียงเป็นคนสุดท้าย จึงต้องถูกผูกมัดและถูกบังคับด้วยบทกฎหมายที่บัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งดังกล่าว ให้จำต้องลงมติว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด เพราะเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า แม้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน จะมีความเห็นขณะนั้นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดก็ตาม

แต่สุดท้ายผลก็ออกมาว่าคุณทักษิณผิด


อ้างอิง

https://www.dlo.co.th/node/204

ตามนี้เนาะ คนที่ใจมีความเป็นธรรมย่อมเห็นถึงความไม่สมเหตุสมผลแต่ก็อย่างว่าอ่ะนะ

สำหรับคุณหรือใครๆอีกหลายคนผมเข้าใจครับ

พวกคุณเป็นแบบนั้นแหล่ะ
 


-ที่คุณอ้างอิง คุณเอาบทความมาอ้าง ผมถึงได้บอกไง (ตั้งแต่โพสต์แรก) ว่าให้อ่านคำวินิจฉัยของศาลก่อน เพราะศาลวินิจฉัยเป็นประเด็น เท่าที่ผมอ่านบทความที่คุณอ้างบางส่วน คือ เหมือนจะโต้แย้งว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ในการซื้อที่ดิน แต่คดีนี้ การจะวินิจฉัยว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิดตามมาตรา 100 ประกอบมาตรา 122 หรือไม่ ไม่ต้องพิสูจน์ถึงขนาดว่า ร่วมกันกระทำความผิด อันเป็นลักษณะตัวการ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 ซึ่งก็ขอพูดตรงนี้เลยว่า ถ้าอ่านคำวินิจฉัย ระบุเลยว่า ตั้งแต่ในชั้นไต่สวนข้อเท็จจริง จำเลยที่ 1 ยื่นคำชี้แจงข้อกล่าวหาว่า จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในฐานะสามี ซึ่งเป็นฐานะส่วนตัว ไม่ใช่ในฐานะนายกรัฐมนตรี (หน้า 7 ต่อเนื่องหน้า 8 ตามลิงก์ที่แนบมา) แล้วเรื่องนี้ อสส. โจทก์ นอกจาก จะฟ้อง มาตรา 100 แล้ว ยังฟ้อง มาตรา 157 ตามประมวลกฎหมายอาญาด้วย แต่ศาลก็ยก ซึ่งมาตรา 100 ศาลก็วินิจฉัยชัดเจนว่า ความผิดตามมาตรานี้ มุ่งเอาผิดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยตรง ไม่เกี่ยวกับเอกชน จึงยกฟ้องในส่วนของจำเลยที่ 2 มันไม่ได้เกี่ยวอะไรกับใจเป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรมหรอก เอาข้อกฎหมายก่อน ผมว่าหลักกฎหมายที่ศาลนำมาวินิจฉัยคดีนี้ หลายคนไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจด้วยซ้ำ

-ขอเปรียบเทียบให้ฟังเลยนะ อย่างมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับเดิม กับ มาตรา 152 ตามประมวลกฎหมายอาญา (เข้ามีส่วนได้เสีย) ลักษณะการกระทำความผิดใกล้เคียงกัน แต่การหาข้อเท็จจริงมาสนับสนุนการกระทำความผิดก็แตกต่างกันแล้ว เพราะมาตรา 100 ลำพัง แค่คู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้าทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่กำกับ ดูแล อยู่ ก็เพียงพอแล้วที่ฟ้องคดี แต่เป็นเรื่องของเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างหาก ที่มีภาระการพิสูจน์ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอม ให้คู่สมรสของตน จึงจะเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ของรัฐคนนั้นพ้นผิด ตามมาตรา 122 วรรคสอง
โดยเรื่องนี้ จำเลยที่ 1 เจ้าหน้าที่ของรัฐ พิสูจน์ไม่ได้ ซึ่งแตกต่างจากฐานความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152 ที่ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ว่า จำเลยในฐานะเจ้าพนักงาน เข้ามีส่วนได้เสียในกิจการที่เจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการ ดูแล กิจการ เพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่นนั้น อย่างไร

ผมแนบให้แล้วกัน คำวินิจฉัย ลองอ่านดู
http://www.supremecourt.or.th/file/criminal/1-50%20kumpiparksar.pdf  


ขอบคุณที่นำมาฉบับเต็มมาให้อ่านครับ แต่ยอมรับตามตรงนะทนอ่านไปถึงครึ่งเดียวผมก็จะอ้วกแล้ว

ผมสะอิดสะเอียนในความทุเรศทุรังความไม่ยุติธรรมและความเอาแต่ได้ของอีกฝ่าย ผมจำไม่ได้แล้วว่าศาลพูดถึงการรัฐประหารไปกี่ครั้ง จำไม่ได้แล้วว่าศาลพูดถึงการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาความผิดที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารไปกี่ครั้ง

สรุปง่ายๆเลยคือในภาวะปกติที่เป็นประชาธิปไตย คุณทักษิณไม่มีทางผิดแน่นอน

คงมีแต่คนจำพวกแบบคุณแล้วครับ คนจำพวกที่ไม่ได้ศรัทธาประชาธิปไตยยอมรับอำนาจเผด็จการถึงได้กล้า

เอาคดีนี้มาพูดพล่อยๆตลอดเวลา คดีนี้ถึงกลายเป็นเรื่องตลกที่นานาประเทศเค้าหัวเราะเข้าใส่เวลาที่ไทยทำเรื่องขอส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน

รายละเอียดมันชัดจริงๆ ถามจริงๆนี่คุณไม่อายเลยหรอครับที่เอาผลการตัดสินที่เกิดขึ้นเพราะการรัฐประหารมาอ้างน่ะ อ่อผมลืมไปก็พวกเดียวกันจะอายไปทำไมเนาะ





0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
คอมเมนเตเตอร์
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Feb 2011
ตอบ: 6423
ที่อยู่: แถวตู้หนังสือ
โพสเมื่อ: Sat Feb 23, 2019 08:44
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Spoil
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
- เรื่องคดีความ อย่าให้พูดเลยนะ มีคนเอามาบิดเบือนเยอะ
ยกตัวอย่าง คดีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิพากษา
(จำเลขคดีไม่ได้ น่าจะ อม.1/25....)ที่ทักษิณ ชินวัตร ต้องโทษจำคุก เป็นคดี
อันเกิดจากการที่ให้ภรรยาของตัวเองซื้อที่ดินจากกองทุนที่ตนเองมีหน้าที่กำกับ ดูแลอยู่
ซึ่งเป็นเรื่องการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ตามมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับปี 42 (ฉบับเดิม)แล้วกฎหมายก็กำหนด
ชัดเจนว่า ความผิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ถือเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ แต่คนชอบเอาไปพูดกันว่า
โห แค่เซ็นชื่อให้เมียซื้อที่ดินก็ติดคุก แล้วคนก็จำแต่เรื่องแบบนี้ จนเข้าใจว่าถูกกลั่นแกล้ง หลังจากนั้น ก็เอาไปโยงว่า คดีนี้คือคดีการเมือง แล้วนี่คือมันใช่ไหม

- คนที่บอกศาลพวกเดียวกัน เคยอ่านคำวินิจฉัยเต็มหรือยัง หรืออ่านจากข่าว หรือฟังเขาพูดมา แล้วเอามาพูดต่อ คำวินิจฉัย จะมีข้อเท็จจริงที่รับฟังเป็นยุติ ข้อกฎหมายที่นำมาปรับแก่คดี บางครั้งอาจจะบรรยายถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายที่นำมาปรับด้วยซ้ำ ก่อนที่จะถึงข้อพิจารณา แล้วจบด้วยผลของการวินิจฉัย รบกวนอ่านก่อน แล้วถ้าไม่เห็นด้วย ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้ ที่เป็นเหตุเป็นผลในทางกฎหมาย
 


คุณพูดไปเรื่อย นิสัยไม่ดีไม่พูดความจริงทั้งหมด นิสัยแบบนี้แย่นะทำคนไทยแตกแยกหมด

คุณพูดได้ไงว่าคุณทักษิณให้ภรรยาซื้อที่ดิน ทั้งที่ประเด็นนี้แม้แต่ในศาลยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยซ้ำ

คุณนี่มันแย่จริงๆ

 


งั้นความจริงเป็นยังไงครับ รบกวนสรุปข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย ตามที่ท่านเข้าใจหน่อย เพราะที่ผมอ่านคำวินิจฉัย มีข้อเท็จจริงว่า จำเลยที่ 1 (นาย ท.) ลงลายมือชื่อให้ ความยินยอมจำเลยที่ 2 (นาง พ.) ซื้อที่ดิน... แบบนี้ถ้าผมระบุว่า ให้ภรรยาซืื้อที่ดิน ไม่ถูกใช่ไหมครับ  


ให้ความยินยอมก็คือให้ความยินยอมแต่ไม่ได้หมายถึงให้ภรรยาซื้อ

เหมือนแฟนคุณอยากซื้อกระเป๋าใบละ 20000 แม้คุณไม่ได้บอกให้ภรรยาคุณซื้อแต่คุณก็ต้องยินยอม

เหตุที่คุณทักษิณต้องเซ็นยินยอมเพราะเป็นคู่สมรสถ้าคู่สมรสไม่เซ็นยินยอมก็โอนที่ดินไม่ได้ ถ้าโอนไม่ได้การประมูลซื้อที่ดินก็จะเป็นโมฆะแน่นอนว่าต้องถูกริบเงินมัดจำแน่นอน

ประเด็นคือการประมูลที่ดินตรงนี้คุณทักษิณมีส่วนร่วมรู้เห็นซึ่งแสดงถึงเจตนาตั้งแต่แรกหรือไม่ คุณลองกลับไปอ่านคำวินิจฉัยตรงนี้ใหม่ให้ดีๆครับ ศาลท่านได้บอกไว้แล้ว

สำคัญคือหากไม่สามารถพิสูจน์เจตนาตรงนี้ได้ศาลควรมีแนวทางอย่างไร หากคุณเชื่อว่าคุณมีเหตุมีผลที่ดีจริง

คุณต้องพบความย้อนแย้งกันเองแน่นอน
 


การกระทำของจำเลยที่ 2 ใหุ้ถือเป็นการกระทำของจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 100 วรรคท้าย พ.ร.บ.ป.ช.ช. ครับ  


มันไม่ง่ายขนาดที่คุณจะยกแค่ประโยคเดียวมาพูดห้วนๆเพื่อตัดจบหรอกครับ

พอดีผมใช้มือถือไม่สะดวกพิมพ์สรุปให้ชัดเจน ไว้กลับถึงบ้านก่อนค่อยมาเพิ่มให้หล่ะกัน

 

- แล้วที่บอกว่าสั้นนี่ ข้อกฎหมายทั้งนั้น ผมว่าคุณไปศึกษาข้อกฎหมาย มาตรา 100 วรรคท้าย ประกอบ มาตรา 122 วรรคสอง แล้วค่อยมาคุยกับผมดีกว่า เพราะข้อเท็จจรืง มันยุติแล้วว่าจำเลยที่ 1 ยืนยอมให้จำเลยที่ 2 ซื้อที่ดิน หากจำเลยที่ 1 ต้องการจะพ้นผิด ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ไม่ได้รู้เห็นกับการที่จำเลยที่ 2 ไปซื้อที่ดิน ตามมาตรา 122 วรรคสอง
- เอาจริงๆ ผมไม่อยากอะไรนะ แต่แค่โควทแรก คุณมากล่าวหาผมเสียๆ หายไป ด้วยซ้ำ แต่ก็นะ ให้อภัย  


ตามคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า การกระทำของจำเลยที่ 1 ตามที่โจทก์(อัยการสูงสุด) บรรยายฟ้องมา มีเพียงการที่จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในการร่วมประมูลซื้อและทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท และจากการไต่สวนพยานของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ประกอบรายงานสรุปสำนวนการตรวจสอบไต่สวนของ คตส. (คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ) ได้ความว่า

การดำเนินการตั้งแต่ร่วมเสนอราคา ทำสัญญาจะซื้อจะขาย จนกระทั่งทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกับกองทุนฟื้นฟูฯ นั้น เป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เพียงคนเดียว โดยไม่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 มีการกระทำการอย่างใด ที่แสดงให้เห็นว่าร่วมกระทำการดังกล่าวกับจำเลยที่ 2 ด้วย จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 มีส่วนกระทำหรือเกี่ยวข้องในอันที่จะแสดงให้เห็นถึงเจตนาของจำเลยที่ 1 ว่าประสงค์จะมีเจตนาร่วมซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2


พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 100 บัญญัติว่า “ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ดำเนินกิจการ
ต่อไปนี้ (1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่กำกับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีอำนาจ กำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี”

วรรคสองบัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐตำแหน่งใดที่ต้องห้ามมิให้ดำเนินกิจการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา” (ซึ่งรวมถึง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีด้วย) และวรรคสามบัญญัติว่า

“ให้นำบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคสอง โดยให้ถือว่าการดำเนินกิจการของคู่สมรส ดังกล่าวเป็นการดำเนินกิจการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ”

มาตรา 122 บัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรา 100 มาตรา 101 หรือมาตรา 103 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ” และวรรคสองบัญญัติว่า “กรณีความผิดตามมาตรา 100 วรรคสาม หากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด พิสูจน์ได้ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่คู่สมรสของตนดำเนินกิจการตามมาตรา 100 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่า ผู้นั้นไม่มีความผิด”

ดังนี้ จะเห็นได้ว่า ตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้น พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมเสนอราคาในการประมูลซื้อที่ดินพิพาทกับคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาท ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท แต่เป็นการดำเนินการของคุณหญิงพจมาน จำเลยที่ 2 แต่เพียงผู้เดียว

ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏชัดแจ้งต่อศาลดังที่ปรากฏในคำวินิจฉัยของศาลเอง เช่นนี้แล้ว การดำเนินกิจการดังกล่าวของจำเลยที่ 2 ในฐานะคู่สมรสของจำเลยที่ 1 จึงเป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เองตามลำพัง จำเลยที่ 1 จึงไม่ได้รู้เห็นด้วย เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่ได้รู้เห็นตั้งแต่ต้นเสียแล้ว โอกาสที่จำเลยที่ 1 จะให้หรือไม่ให้ความยินยอม จึงไม่มีหรือเป็นไม่ได้อยู่ในตัว ซึ่งก็ไม่ผิดวิสัยที่ครอบครัวที่ร่ำรวยมั่งคั่งมีทรัพย์สินนับแสนล้านบาท อย่างเช่น จำเลยที่ 1 และ จำเลยที่ 2 จะทำเช่นนั้นได้

และเมื่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยมาแล้วว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกระทำของจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 1 ไม่ประสงค์ที่จะมีเจตนาซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2 แล้ว การที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า จำเลยทั้งสองไม่มีพยานหลักฐานใด มาพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 มิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่จำเลยที่ 2 ดำเนินการตามมาตรา 100 นั้น ย่อมเท่ากับบังคับให้จำเลยที่ 1 หรือจำเลยที่ 2 นำพยานหลักฐานมาสืบพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่ศาลรู้เองอยู่แล้ว

ขอข้ามไปที่บทสรุปเลยนะครับ

ปรากฏจากคำพิพากษาที่อ่านและเปิดเผยแล้วว่า คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คนลงมติด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 ว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดให้จำคุก 2 ปี ย่อมแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า ในชั้นที่ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ทำหน้าที่ประธานสอบถามความเห็นผู้พิพากษา อีก 8 คนนั้น มีผู้พิพากษา 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดแต่ผู้พิพากษาอีก 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด คะแนนเสียงจึงเป็น 4 ต่อ 4 เท่ากัน แย้งกันอยู่

กรณีเช่นนี้ ณ เวลานั้น ขณะนั้น จึงต้องด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดังกล่าวข้างต้นว่า ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิดและกรณียังเป็นที่สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงหรือไม่ เพราะมีคะแนนเสียงเท่ากัน หาเสียงข้างมากไม่ได้ ซึ่งกรณีย่อมต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 184 ที่บัญญัติว่า

“ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า” อีกด้วย

ดังนั้น ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนคดีนี้ ซึ่งเป็นประธานและต้องออกเสียงเป็นคนสุดท้าย จึงต้องถูกผูกมัดและถูกบังคับด้วยบทกฎหมายที่บัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งดังกล่าว ให้จำต้องลงมติว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด เพราะเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า แม้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน จะมีความเห็นขณะนั้นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดก็ตาม

แต่สุดท้ายผลก็ออกมาว่าคุณทักษิณผิด


อ้างอิง

https://www.dlo.co.th/node/204

ตามนี้เนาะ คนที่ใจมีความเป็นธรรมย่อมเห็นถึงความไม่สมเหตุสมผลแต่ก็อย่างว่าอ่ะนะ

สำหรับคุณหรือใครๆอีกหลายคนผมเข้าใจครับ

พวกคุณเป็นแบบนั้นแหล่ะ
 


-ที่คุณอ้างอิง คุณเอาบทความมาอ้าง ผมถึงได้บอกไง (ตั้งแต่โพสต์แรก) ว่าให้อ่านคำวินิจฉัยของศาลก่อน เพราะศาลวินิจฉัยเป็นประเด็น เท่าที่ผมอ่านบทความที่คุณอ้างบางส่วน คือ เหมือนจะโต้แย้งว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ในการซื้อที่ดิน แต่คดีนี้ การจะวินิจฉัยว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิดตามมาตรา 100 ประกอบมาตรา 122 หรือไม่ ไม่ต้องพิสูจน์ถึงขนาดว่า ร่วมกันกระทำความผิด อันเป็นลักษณะตัวการ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 ซึ่งก็ขอพูดตรงนี้เลยว่า ถ้าอ่านคำวินิจฉัย ระบุเลยว่า ตั้งแต่ในชั้นไต่สวนข้อเท็จจริง จำเลยที่ 1 ยื่นคำชี้แจงข้อกล่าวหาว่า จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในฐานะสามี ซึ่งเป็นฐานะส่วนตัว ไม่ใช่ในฐานะนายกรัฐมนตรี (หน้า 7 ต่อเนื่องหน้า 8 ตามลิงก์ที่แนบมา) แล้วเรื่องนี้ อสส. โจทก์ นอกจาก จะฟ้อง มาตรา 100 แล้ว ยังฟ้อง มาตรา 157 ตามประมวลกฎหมายอาญาด้วย แต่ศาลก็ยก ซึ่งมาตรา 100 ศาลก็วินิจฉัยชัดเจนว่า ความผิดตามมาตรานี้ มุ่งเอาผิดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยตรง ไม่เกี่ยวกับเอกชน จึงยกฟ้องในส่วนของจำเลยที่ 2 มันไม่ได้เกี่ยวอะไรกับใจเป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรมหรอก เอาข้อกฎหมายก่อน ผมว่าหลักกฎหมายที่ศาลนำมาวินิจฉัยคดีนี้ หลายคนไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจด้วยซ้ำ

-ขอเปรียบเทียบให้ฟังเลยนะ อย่างมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับเดิม กับ มาตรา 152 ตามประมวลกฎหมายอาญา (เข้ามีส่วนได้เสีย) ลักษณะการกระทำความผิดใกล้เคียงกัน แต่การหาข้อเท็จจริงมาสนับสนุนการกระทำความผิดก็แตกต่างกันแล้ว เพราะมาตรา 100 ลำพัง แค่คู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้าทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่กำกับ ดูแล อยู่ ก็เพียงพอแล้วที่ฟ้องคดี แต่เป็นเรื่องของเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างหาก ที่มีภาระการพิสูจน์ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอม ให้คู่สมรสของตน จึงจะเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ของรัฐคนนั้นพ้นผิด ตามมาตรา 122 วรรคสอง
โดยเรื่องนี้ จำเลยที่ 1 เจ้าหน้าที่ของรัฐ พิสูจน์ไม่ได้ ซึ่งแตกต่างจากฐานความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152 ที่ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ว่า จำเลยในฐานะเจ้าพนักงาน เข้ามีส่วนได้เสียในกิจการที่เจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการ ดูแล กิจการ เพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่นนั้น อย่างไร

ผมแนบให้แล้วกัน คำวินิจฉัย ลองอ่านดู
http://www.supremecourt.or.th/file/criminal/1-50%20kumpiparksar.pdf  


ขอบคุณที่นำมาฉบับเต็มมาให้อ่านครับ แต่ยอมรับตามตรงนะทนอ่านไปถึงครึ่งเดียวผมก็จะอ้วกแล้ว

ผมสะอิดสะเอียนในความทุเรศทุรังความไม่ยุติธรรมและความเอาแต่ได้ของอีกฝ่าย ผมจำไม่ได้แล้วว่าศาลพูดถึงการรัฐประหารไปกี่ครั้ง จำไม่ได้แล้วว่าศาลพูดถึงการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาความผิดที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารไปกี่ครั้ง

สรุปง่ายๆเลยคือในภาวะปกติที่เป็นประชาธิปไตย คุณทักษิณไม่มีทางผิดแน่นอน

คงมีแต่คนจำพวกแบบคุณแล้วครับ คนจำพวกที่ไม่ได้ศรัทธาประชาธิปไตยยอมรับอำนาจเผด็จการถึงได้กล้า

เอาคดีนี้มาพูดพล่อยๆตลอดเวลา คดีนี้ถึงกลายเป็นเรื่องตลกที่นานาประเทศเค้าหัวเราะเข้าใส่เวลาที่ไทยทำเรื่องขอส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน

รายละเอียดมันชัดจริงๆ ถามจริงๆนี่คุณไม่อายเลยหรอครับที่เอาผลการตัดสินที่เกิดขึ้นเพราะการรัฐประหารมาอ้างน่ะ อ่อผมลืมไปก็พวกเดียวกันจะอายไปทำไมเนาะ





 

คงเป็นโควทสุดท้าย เพราะเชื่อว่าคุณอ่านไม่รู้เริ่อง สันนิษฐานว่าคงไม่ได้เรียนกฎหมายมา อย่างหลักการ หรือเจตนารมณ์ของมาตรา 100 คืออะไร ผมว่าวันนี้คุณก็ไม่รู้เรื่อง แล้วก็มากล่าวหาว่าผมเป็นคนไม่ดี พูดความจริงไม่หมด
แบบนี้สินะ คนมีคุณภาพ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แขวนสตั๊ด
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Dec 2016
ตอบ: 9790
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 23, 2019 09:24
[RE: อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ฉะเดือด! ธนาธร หลังได้ฟังนโยบายปราบปรามรัฐประหาร]
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Spoil
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
niali พิมพ์ว่า:
Zyxel_Thaibar62 พิมพ์ว่า:
- เรื่องคดีความ อย่าให้พูดเลยนะ มีคนเอามาบิดเบือนเยอะ
ยกตัวอย่าง คดีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิพากษา
(จำเลขคดีไม่ได้ น่าจะ อม.1/25....)ที่ทักษิณ ชินวัตร ต้องโทษจำคุก เป็นคดี
อันเกิดจากการที่ให้ภรรยาของตัวเองซื้อที่ดินจากกองทุนที่ตนเองมีหน้าที่กำกับ ดูแลอยู่
ซึ่งเป็นเรื่องการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ตามมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับปี 42 (ฉบับเดิม)แล้วกฎหมายก็กำหนด
ชัดเจนว่า ความผิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ถือเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ แต่คนชอบเอาไปพูดกันว่า
โห แค่เซ็นชื่อให้เมียซื้อที่ดินก็ติดคุก แล้วคนก็จำแต่เรื่องแบบนี้ จนเข้าใจว่าถูกกลั่นแกล้ง หลังจากนั้น ก็เอาไปโยงว่า คดีนี้คือคดีการเมือง แล้วนี่คือมันใช่ไหม

- คนที่บอกศาลพวกเดียวกัน เคยอ่านคำวินิจฉัยเต็มหรือยัง หรืออ่านจากข่าว หรือฟังเขาพูดมา แล้วเอามาพูดต่อ คำวินิจฉัย จะมีข้อเท็จจริงที่รับฟังเป็นยุติ ข้อกฎหมายที่นำมาปรับแก่คดี บางครั้งอาจจะบรรยายถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายที่นำมาปรับด้วยซ้ำ ก่อนที่จะถึงข้อพิจารณา แล้วจบด้วยผลของการวินิจฉัย รบกวนอ่านก่อน แล้วถ้าไม่เห็นด้วย ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้ ที่เป็นเหตุเป็นผลในทางกฎหมาย
 


คุณพูดไปเรื่อย นิสัยไม่ดีไม่พูดความจริงทั้งหมด นิสัยแบบนี้แย่นะทำคนไทยแตกแยกหมด

คุณพูดได้ไงว่าคุณทักษิณให้ภรรยาซื้อที่ดิน ทั้งที่ประเด็นนี้แม้แต่ในศาลยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยซ้ำ

คุณนี่มันแย่จริงๆ

 


งั้นความจริงเป็นยังไงครับ รบกวนสรุปข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย ตามที่ท่านเข้าใจหน่อย เพราะที่ผมอ่านคำวินิจฉัย มีข้อเท็จจริงว่า จำเลยที่ 1 (นาย ท.) ลงลายมือชื่อให้ ความยินยอมจำเลยที่ 2 (นาง พ.) ซื้อที่ดิน... แบบนี้ถ้าผมระบุว่า ให้ภรรยาซืื้อที่ดิน ไม่ถูกใช่ไหมครับ  


ให้ความยินยอมก็คือให้ความยินยอมแต่ไม่ได้หมายถึงให้ภรรยาซื้อ

เหมือนแฟนคุณอยากซื้อกระเป๋าใบละ 20000 แม้คุณไม่ได้บอกให้ภรรยาคุณซื้อแต่คุณก็ต้องยินยอม

เหตุที่คุณทักษิณต้องเซ็นยินยอมเพราะเป็นคู่สมรสถ้าคู่สมรสไม่เซ็นยินยอมก็โอนที่ดินไม่ได้ ถ้าโอนไม่ได้การประมูลซื้อที่ดินก็จะเป็นโมฆะแน่นอนว่าต้องถูกริบเงินมัดจำแน่นอน

ประเด็นคือการประมูลที่ดินตรงนี้คุณทักษิณมีส่วนร่วมรู้เห็นซึ่งแสดงถึงเจตนาตั้งแต่แรกหรือไม่ คุณลองกลับไปอ่านคำวินิจฉัยตรงนี้ใหม่ให้ดีๆครับ ศาลท่านได้บอกไว้แล้ว

สำคัญคือหากไม่สามารถพิสูจน์เจตนาตรงนี้ได้ศาลควรมีแนวทางอย่างไร หากคุณเชื่อว่าคุณมีเหตุมีผลที่ดีจริง

คุณต้องพบความย้อนแย้งกันเองแน่นอน
 


การกระทำของจำเลยที่ 2 ใหุ้ถือเป็นการกระทำของจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 100 วรรคท้าย พ.ร.บ.ป.ช.ช. ครับ  


มันไม่ง่ายขนาดที่คุณจะยกแค่ประโยคเดียวมาพูดห้วนๆเพื่อตัดจบหรอกครับ

พอดีผมใช้มือถือไม่สะดวกพิมพ์สรุปให้ชัดเจน ไว้กลับถึงบ้านก่อนค่อยมาเพิ่มให้หล่ะกัน

 

- แล้วที่บอกว่าสั้นนี่ ข้อกฎหมายทั้งนั้น ผมว่าคุณไปศึกษาข้อกฎหมาย มาตรา 100 วรรคท้าย ประกอบ มาตรา 122 วรรคสอง แล้วค่อยมาคุยกับผมดีกว่า เพราะข้อเท็จจรืง มันยุติแล้วว่าจำเลยที่ 1 ยืนยอมให้จำเลยที่ 2 ซื้อที่ดิน หากจำเลยที่ 1 ต้องการจะพ้นผิด ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ไม่ได้รู้เห็นกับการที่จำเลยที่ 2 ไปซื้อที่ดิน ตามมาตรา 122 วรรคสอง
- เอาจริงๆ ผมไม่อยากอะไรนะ แต่แค่โควทแรก คุณมากล่าวหาผมเสียๆ หายไป ด้วยซ้ำ แต่ก็นะ ให้อภัย  


ตามคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า การกระทำของจำเลยที่ 1 ตามที่โจทก์(อัยการสูงสุด) บรรยายฟ้องมา มีเพียงการที่จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในการร่วมประมูลซื้อและทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท และจากการไต่สวนพยานของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ประกอบรายงานสรุปสำนวนการตรวจสอบไต่สวนของ คตส. (คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ) ได้ความว่า

การดำเนินการตั้งแต่ร่วมเสนอราคา ทำสัญญาจะซื้อจะขาย จนกระทั่งทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกับกองทุนฟื้นฟูฯ นั้น เป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เพียงคนเดียว โดยไม่ได้ความว่า จำเลยที่ 1 มีการกระทำการอย่างใด ที่แสดงให้เห็นว่าร่วมกระทำการดังกล่าวกับจำเลยที่ 2 ด้วย จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 มีส่วนกระทำหรือเกี่ยวข้องในอันที่จะแสดงให้เห็นถึงเจตนาของจำเลยที่ 1 ว่าประสงค์จะมีเจตนาร่วมซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2


พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 100 บัญญัติว่า “ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ดำเนินกิจการ
ต่อไปนี้ (1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่กำกับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีอำนาจ กำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี”

วรรคสองบัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐตำแหน่งใดที่ต้องห้ามมิให้ดำเนินกิจการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา” (ซึ่งรวมถึง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีด้วย) และวรรคสามบัญญัติว่า

“ให้นำบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคสอง โดยให้ถือว่าการดำเนินกิจการของคู่สมรส ดังกล่าวเป็นการดำเนินกิจการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ”

มาตรา 122 บัญญัติว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด ฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรา 100 มาตรา 101 หรือมาตรา 103 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ” และวรรคสองบัญญัติว่า “กรณีความผิดตามมาตรา 100 วรรคสาม หากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด พิสูจน์ได้ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่คู่สมรสของตนดำเนินกิจการตามมาตรา 100 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่า ผู้นั้นไม่มีความผิด”

ดังนี้ จะเห็นได้ว่า ตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้น พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมเสนอราคาในการประมูลซื้อที่ดินพิพาทกับคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาท ไม่ได้เป็นผู้ทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท แต่เป็นการดำเนินการของคุณหญิงพจมาน จำเลยที่ 2 แต่เพียงผู้เดียว

ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏชัดแจ้งต่อศาลดังที่ปรากฏในคำวินิจฉัยของศาลเอง เช่นนี้แล้ว การดำเนินกิจการดังกล่าวของจำเลยที่ 2 ในฐานะคู่สมรสของจำเลยที่ 1 จึงเป็นการดำเนินการของจำเลยที่ 2 เองตามลำพัง จำเลยที่ 1 จึงไม่ได้รู้เห็นด้วย เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่ได้รู้เห็นตั้งแต่ต้นเสียแล้ว โอกาสที่จำเลยที่ 1 จะให้หรือไม่ให้ความยินยอม จึงไม่มีหรือเป็นไม่ได้อยู่ในตัว ซึ่งก็ไม่ผิดวิสัยที่ครอบครัวที่ร่ำรวยมั่งคั่งมีทรัพย์สินนับแสนล้านบาท อย่างเช่น จำเลยที่ 1 และ จำเลยที่ 2 จะทำเช่นนั้นได้

และเมื่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยมาแล้วว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกระทำของจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 1 ไม่ประสงค์ที่จะมีเจตนาซื้อที่ดินพิพาทกับจำเลยที่ 2 แล้ว การที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองวินิจฉัยว่า จำเลยทั้งสองไม่มีพยานหลักฐานใด มาพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าจำเลยที่ 1 มิได้รู้เห็นยินยอมด้วยในการที่จำเลยที่ 2 ดำเนินการตามมาตรา 100 นั้น ย่อมเท่ากับบังคับให้จำเลยที่ 1 หรือจำเลยที่ 2 นำพยานหลักฐานมาสืบพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่ศาลรู้เองอยู่แล้ว

ขอข้ามไปที่บทสรุปเลยนะครับ

ปรากฏจากคำพิพากษาที่อ่านและเปิดเผยแล้วว่า คณะผู้พิพากษาทั้ง 9 คนลงมติด้วยคะแนน 5 ต่อ 4 ว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดให้จำคุก 2 ปี ย่อมแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า ในชั้นที่ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน ทำหน้าที่ประธานสอบถามความเห็นผู้พิพากษา อีก 8 คนนั้น มีผู้พิพากษา 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดแต่ผู้พิพากษาอีก 4 คนเห็นว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด คะแนนเสียงจึงเป็น 4 ต่อ 4 เท่ากัน แย้งกันอยู่

กรณีเช่นนี้ ณ เวลานั้น ขณะนั้น จึงต้องด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดังกล่าวข้างต้นว่า ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิดและกรณียังเป็นที่สงสัยว่าจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงหรือไม่ เพราะมีคะแนนเสียงเท่ากัน หาเสียงข้างมากไม่ได้ ซึ่งกรณีย่อมต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 184 ที่บัญญัติว่า

“ถ้าปัญหาใด มีความเห็นแย้งกันเป็นสองฝ่าย จะหาเสียงข้างมากมิได้ ให้ผู้พิพากษาที่เห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยมากกว่า ยอมเห็นด้วยผู้พิพากษาซึ่งมีความเห็นเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า” อีกด้วย

ดังนั้น ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนคดีนี้ ซึ่งเป็นประธานและต้องออกเสียงเป็นคนสุดท้าย จึงต้องถูกผูกมัดและถูกบังคับด้วยบทกฎหมายที่บัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งดังกล่าว ให้จำต้องลงมติว่า จำเลยที่ 1 ไม่มีความผิด เพราะเป็นผลร้ายแก่จำเลยน้อยกว่า แม้ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวน จะมีความเห็นขณะนั้นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดก็ตาม

แต่สุดท้ายผลก็ออกมาว่าคุณทักษิณผิด


อ้างอิง

https://www.dlo.co.th/node/204

ตามนี้เนาะ คนที่ใจมีความเป็นธรรมย่อมเห็นถึงความไม่สมเหตุสมผลแต่ก็อย่างว่าอ่ะนะ

สำหรับคุณหรือใครๆอีกหลายคนผมเข้าใจครับ

พวกคุณเป็นแบบนั้นแหล่ะ
 


-ที่คุณอ้างอิง คุณเอาบทความมาอ้าง ผมถึงได้บอกไง (ตั้งแต่โพสต์แรก) ว่าให้อ่านคำวินิจฉัยของศาลก่อน เพราะศาลวินิจฉัยเป็นประเด็น เท่าที่ผมอ่านบทความที่คุณอ้างบางส่วน คือ เหมือนจะโต้แย้งว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ในการซื้อที่ดิน แต่คดีนี้ การจะวินิจฉัยว่า จำเลยที่ 1 กระทำความผิดตามมาตรา 100 ประกอบมาตรา 122 หรือไม่ ไม่ต้องพิสูจน์ถึงขนาดว่า ร่วมกันกระทำความผิด อันเป็นลักษณะตัวการ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 ซึ่งก็ขอพูดตรงนี้เลยว่า ถ้าอ่านคำวินิจฉัย ระบุเลยว่า ตั้งแต่ในชั้นไต่สวนข้อเท็จจริง จำเลยที่ 1 ยื่นคำชี้แจงข้อกล่าวหาว่า จำเลยที่ 1 ให้ความยินยอมแก่จำเลยที่ 2 ในฐานะสามี ซึ่งเป็นฐานะส่วนตัว ไม่ใช่ในฐานะนายกรัฐมนตรี (หน้า 7 ต่อเนื่องหน้า 8 ตามลิงก์ที่แนบมา) แล้วเรื่องนี้ อสส. โจทก์ นอกจาก จะฟ้อง มาตรา 100 แล้ว ยังฟ้อง มาตรา 157 ตามประมวลกฎหมายอาญาด้วย แต่ศาลก็ยก ซึ่งมาตรา 100 ศาลก็วินิจฉัยชัดเจนว่า ความผิดตามมาตรานี้ มุ่งเอาผิดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยตรง ไม่เกี่ยวกับเอกชน จึงยกฟ้องในส่วนของจำเลยที่ 2 มันไม่ได้เกี่ยวอะไรกับใจเป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรมหรอก เอาข้อกฎหมายก่อน ผมว่าหลักกฎหมายที่ศาลนำมาวินิจฉัยคดีนี้ หลายคนไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจด้วยซ้ำ

-ขอเปรียบเทียบให้ฟังเลยนะ อย่างมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช. ฉบับเดิม กับ มาตรา 152 ตามประมวลกฎหมายอาญา (เข้ามีส่วนได้เสีย) ลักษณะการกระทำความผิดใกล้เคียงกัน แต่การหาข้อเท็จจริงมาสนับสนุนการกระทำความผิดก็แตกต่างกันแล้ว เพราะมาตรา 100 ลำพัง แค่คู่สมรสของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้าทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่กำกับ ดูแล อยู่ ก็เพียงพอแล้วที่ฟ้องคดี แต่เป็นเรื่องของเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างหาก ที่มีภาระการพิสูจน์ว่า ตนมิได้รู้เห็นยินยอม ให้คู่สมรสของตน จึงจะเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ของรัฐคนนั้นพ้นผิด ตามมาตรา 122 วรรคสอง
โดยเรื่องนี้ จำเลยที่ 1 เจ้าหน้าที่ของรัฐ พิสูจน์ไม่ได้ ซึ่งแตกต่างจากฐานความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152 ที่ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ว่า จำเลยในฐานะเจ้าพนักงาน เข้ามีส่วนได้เสียในกิจการที่เจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการ ดูแล กิจการ เพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่นนั้น อย่างไร

ผมแนบให้แล้วกัน คำวินิจฉัย ลองอ่านดู
http://www.supremecourt.or.th/file/criminal/1-50%20kumpiparksar.pdf  


ขอบคุณที่นำมาฉบับเต็มมาให้อ่านครับ แต่ยอมรับตามตรงนะทนอ่านไปถึงครึ่งเดียวผมก็จะอ้วกแล้ว

ผมสะอิดสะเอียนในความทุเรศทุรังความไม่ยุติธรรมและความเอาแต่ได้ของอีกฝ่าย ผมจำไม่ได้แล้วว่าศาลพูดถึงการรัฐประหารไปกี่ครั้ง จำไม่ได้แล้วว่าศาลพูดถึงการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาความผิดที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารไปกี่ครั้ง

สรุปง่ายๆเลยคือในภาวะปกติที่เป็นประชาธิปไตย คุณทักษิณไม่มีทางผิดแน่นอน

คงมีแต่คนจำพวกแบบคุณแล้วครับ คนจำพวกที่ไม่ได้ศรัทธาประชาธิปไตยยอมรับอำนาจเผด็จการถึงได้กล้า

เอาคดีนี้มาพูดพล่อยๆตลอดเวลา คดีนี้ถึงกลายเป็นเรื่องตลกที่นานาประเทศเค้าหัวเราะเข้าใส่เวลาที่ไทยทำเรื่องขอส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน

รายละเอียดมันชัดจริงๆ ถามจริงๆนี่คุณไม่อายเลยหรอครับที่เอาผลการตัดสินที่เกิดขึ้นเพราะการรัฐประหารมาอ้างน่ะ อ่อผมลืมไปก็พวกเดียวกันจะอายไปทำไมเนาะ





 

คงเป็นโควทสุดท้าย เพราะเชื่อว่าคุณอ่านไม่รู้เริ่อง สันนิษฐานว่าคงไม่ได้เรียนกฎหมายมา อย่างหลักการ หรือเจตนารมณ์ของมาตรา 100 คืออะไร ผมว่าวันนี้คุณก็ไม่รู้เรื่อง แล้วก็มากล่าวหาว่าผมเป็นคนไม่ดี พูดความจริงไม่หมด
แบบนี้สินะ คนมีคุณภาพ  


ผมไม่ได้เรียนกฏหมายมาถูกต้องครับ แต่เจตนาที่จะเอาผิดโดยคณะรัฐประหารก็ชัดเจน

คณะรัฐประหารไม่มีความชอบธรรมใดๆทั้งสิ้น

ไม่ตอบประเด็นการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบโดยคณะรัฐประหารเลย

แสดงว่านักกฏหมายในไทยใจเผด็จการเยอะจริงๆ

คงเป็นความโชคร้ายไม่มีที่สิ้นสุดของประเทศไทยที่คนมีความรู้กลับไม่ศรัทธาระบอบ

ประชาธิปไตย




0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2, 3 ... 11, 12
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel