ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
ปลายอาชีพค้าแข้ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Sep 2013
ตอบ: 3616
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Jul 19, 2018 22:14
[RE: Ctrl+c ล่าสุดของท่านคือ ..]
http://tmearn.com/dfhf

แย่ละ ลองดู ๆ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status: ...
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 322
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Thu Jul 19, 2018 22:29
[RE: Ctrl+c ล่าสุดของท่านคือ ..]
Raspberry Pi
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 May 2014
ตอบ: 1044
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Jul 19, 2018 23:09
[RE: Ctrl+c ล่าสุดของท่านคือ ..]
https://auto.mthai.com/app/uploads/manager/imadd/ducati_12_s_3.jpg

ครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน




ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2017
ตอบ: 330
ที่อยู่: ไม่สามารถระบุ
โพสเมื่อ: Thu Jul 19, 2018 23:10
[RE: Ctrl+c ล่าสุดของท่านคือ ..]
ความเป็นมาของโรคไวรัสตับอักเสบ บี
ประเทศไทยนับเป็นประเทศหนึ่งซึ่งเป็นถิ่นที่ไวรัสตับอักเสบบีระบาดมาก โรคไวรัสตับอักเสบบีจึงนับว่ามีความสำคัญมาก เนื่องจากไวรัสตับอักเสบบีทำให้เกิดการอักเสบของเซลล์ตับและทำให้เซลล์ตับถูกทำลาย หากเป็นเรื้อรังจะเกิดพังผืด ตับแข็ง และมะเร็งตับได้ จากหลักฐานการศึกษาในปัจจุบันบ่งชี้ว่าการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุดในการเกิดมะเร็งตับ ซึ่งเป็นโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในคนไทย
โรคไวรัสตับอักเสบ บี (Hepatitis B) คือโรคที่มีการติดเชื้อของตับ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี (HBV) การติดเชื้อนี้อาจนำไปสู่โรคร้ายที่เป็นอันตรายต่อตับและชีวิตได้ เช่น ตับวาย ตับแข็ง และมะเร็งตับ โดยการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี สามารถติดต่อกันได้ผ่านทางสารคัดหลั่งที่มาจากร่างกาย เช่น ติดต่อได้ทางเลือด (การรับเลือดและผลิตภัณฑ์ของเลือด) ติดต่อผ่านเข็มฉีดยา การฝังเข็ม หรืออุปกรณ์ที่มีเชื้อปนเปื้อน หรือติดต่อได้จากการมีเพศสัมพันธ์ทางสารคัดหลั่ง ในปัจจุบันพบว่ามีผู้ป่วยที่เป็นพาหะไวรัสตับอักเสบบี ทั่วโลกประมาณ 350-400 ล้านคน ส่วนในประเทศไทยก็มีการแพร่ระบาดของไวรัสตับอักเสบ บี สูงประมาณร้อยละ 6-10 ของประชากรทั้งหมด คิดเป็นจำนวนประชากร 6-7 ล้านคน โดยการรับเชื้อส่วนใหญ่จะมาจากมารดาเป็นพาหะติดต่อสู่ทารกในตอนคลอด

อันตรายจากโรคไวรัสตับอักเสบ บี
ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี ในบางรายอาจพัฒนาเป็นโรคตับที่มีความรุนแรงได้ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาจนเป็นระยะเรื้อรัง (Chronic) ซึ่งอาจเกิดโรคดังต่อไปนี้

 โรคตับแข็ง (Cirrhosis) จะเกิดขึ้นประมาณ 1 ใน 5 ของผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรัง มีการอักเสบของตับจนเกิดเป็นพังผืดและดำเนินไปจนกลายเป็นตับแข็งในที่สุด ซึ่งมีผลทำให้การทำงานของตับเสื่อมสภาพลง



 มะเร็งตับ ผู้ป่วยที่เป็นตับแข็งอันมีสาเหตุมาจากไวรัสตับอักเสบ บี มีโอกาสพัฒนาไปจนเป็นมะเร็งตับได้ ซึ่งในทุก ๆ ปี จะมีโอกาสเกิดมะเร็งตับได้ประมาณ 1 ใน 20 โดยอาจพบว่ามีอาการได้แก่ น้ำหนักลด เบื่ออาหาร หรือตาเหลือผิวเหลือง (ดีซ่าน) เป็นต้น
 ภาวะตับวายเฉียบพลัน ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบเฉียบพลัน อย่างน้อย 1 ใน 100 คน มีโอกาสที่จะดำเนินไปสู่ตับวายเฉียบพลันได้ การเกิดตับวายเฉียบพลัน เป็นภาวะของส่วนการทำงานของตับที่มีความสำคัญได้หยุดทำงานลง หากเกิดขึ้นแล้วมีความจำเป็นต้องมีการปลูกถ่ายตับเพื่อรักษาชีวิตของผู้ป่วยเอาไว้
 ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ผู้ป่วยที่เป็นไวรัสตับอักเสบ บี อาจมีโรคเกี่ยวกับไต การติดเชื้อในกระแสเลือด หรือภาวะโลหิตจาง ร่วมด้วย
อาการของโรคไวรัสตับอักเสบ บี
อาการของโรคนี้ แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ
1. มีอาการน้อย จนผู้ที่ได้รับเชื้อเข้าไปแทบจะไม่ทราบว่าตัวเองเป็นโรคนี้ ผู้ป่วยกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มาทราบทีหลัง โดยการเจาะเลือด หรือไปบริจาคโลหิตจึงทำให้ทราบว่าเป็นโรคนี้
2. มีอาการชัดเจน ได้แก่ มีไข้ต่ำ ๆ อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหารนำมาก่อน ต่อมามีอาการตาเหลือง ตัวเหลือง ปัสสาวะเหลืองเข้ม เมื่อมีอาการตาเหลืองตัวเหลืองเกิดขึ้นแล้ว อาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหารก็มักจะดีขึ้นหรือหายไป ผู้ป่วยจะมีระยะเวลาที่ตาเหลืองตัวเหลืองไม่เท่ากัน บางคนอาจเป็นเพียงไม่กี่อาทิตย์ แต่บางคนอาจนาน 2-3 เดือน
3. ผู้ป่วยบางรายมีอาการรุนแรงมาก จนมีอาการซึม ตาเหลือง ตัวเหลือง ไม่รู้สึกตัว ตับมีขนาดเล็กลง ผู้ป่วยเหล่านี้จะมีโอกาสสูงที่จะเกิดภาวะตับวายและเสียชีวิตในที่สุด แต่โชคดีมีผู้ป่วยจำนวนน้อยมากที่จะเป็นแบบนี้ ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาใด ๆ ได้ผลดีที่สุด วิธีที่ได้ผลดีในขณะนี้ก็คือ การเปลี่ยนตับ ซึ่งก็มีปัญหาหลาย ๆ อย่างดังนี้
3.1 มีผู้บริจาคตับจำนวนน้อย ทำให้ไม่เพียงพอที่จะนำมาให้กับผู้ป่วยส่วนใหญ่ ตับที่จะนำมาให้กับผู้ป่วยโรคนี้มักจะได้มาจากผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต แต่ตับยังดีอยู่ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากญาตผู้ป่วยด้วย
3.2 เนื้อเยื่อของตับที่จะนำมาให้กับผู้ป่วยต้องเข้ากันได้กับเนื้อเยื่อของผู้ป่วยด้วย
3.3 ผู้ป่วยที่มีภาวะตับวาย มักจะมีโรคแทรกซ้อนหลายอย่าง เช่น สมองบวม, ปอดบวม, เลือดออกในระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น ทำให้ไม่สามารถจะเปลี่ยนตับให้แก่ผู้ป่วยได้
3.4 ผู้ป่วยที่ได้รับการเปลี่ยนตับ จำเป็นต้องได้รับการรับประทานยากดภูมิต้านทาน เพื่องป้องกันไม่ให้ร่างกายนั้น มีปฏิกิริยากับตับที่นำมาเปลี่ยนให้ การได้รับยาชนิดนี้นาน ๆ ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน เช่น ติดเชื้อได้ง่ายขึ้น

กำลังงทำรายงาน
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status: We Cheer Thailand
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 25 Dec 2009
ตอบ: 494
ที่อยู่: ศาลากลางจังหวัด
โพสเมื่อ: Thu Jul 19, 2018 23:38
[RE: Ctrl+c ล่าสุดของท่านคือ ..]
Miku Ohashi

0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอล ดิวิชั่น 1
Status: MCFC&FCB
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 3726
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jul 20, 2018 00:48
Ctrl+c ล่าสุดของท่านคือ ..
https://youtu.be/p92TKpyGNhU
โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
Manchester City since 2006 | FC Barcelona since 2008

ออฟไลน์
ดาวซัลโวฟุตบอลโลก
Status: Let's get crazy!
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 03 Oct 2010
ตอบ: 122182
ที่อยู่: Stretford End
โพสเมื่อ: Fri Jul 20, 2018 01:16
[RE: Ctrl+c ล่าสุดของท่านคือ ..]



0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะหมู่บ้าน
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 5361
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jul 20, 2018 02:50
[RE: Ctrl+c ล่าสุดของท่านคือ ..]
https://www.youtube.com/embed/j5l6ZoVY2zQ&feature=youtu.bea
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel