ผู้ตั้ง
ข้อความ
เข้าร่วม: 02 Nov 2013
ตอบ: 770
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:22 pm
ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม
อยากรู้ครับ งง มากๆเลย


Spoil
 
เข้าร่วม: 12 Jul 2014
ตอบ: 6266
ที่อยู่: Wall Street SS
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:22 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
กรุ๊งกริ๊งๆ

VICTORIA CONCORDIA CRESCIT.
เข้าร่วม: 23 Mar 2010
ตอบ: 38187
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:23 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ใสๆคร่ะ


เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 23961
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:23 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
กุ้งกินสารส้มเพื่อทำความสะอาดร่างกายเข้าไปตั้งแต่ในวัยเด็ก เมื่อมันโตขึ้นปริมาณของสารส้มก็ดันเพิ่มขึ้นตาม จากนั้น เมื่อนำกุ้งไปต้มันเลยมีสีส้มอย่างที่เห็น


ปล.กุมั่ว

เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 1302
ที่อยู่: อยู่ไม่เป็นที่
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:23 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
กุ้งก๊ามกาม


เข้าร่วม: 19 Dec 2008
ตอบ: 13263
ที่อยู่: Mem : 54772
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:24 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เนื่องจากมันรู้ว่าจะต้องตายอย่างแน่นอน มันเลยเปลี่ยนสีหลอกตา เพื่อความอยู่รอด..ธรรมชาติของกุ้งคับ

เข้าร่วม: 05 Sep 2013
ตอบ: 1318
ที่อยู่: thailand
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:24 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ที่มันเปลี่ยนสี ก็เพราะเนื้อมันสุก อะดิ



เข้าร่วม: 11 Oct 2009
ตอบ: 2196
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:24 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ไม่รุ้
เข้าร่วม: 14 Sep 2013
ตอบ: 9835
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:24 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]

เข้าร่วม: 15 Oct 2013
ตอบ: 26310
ที่อยู่: Barca | Bayern | City
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:25 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
คืออะไรหรอ
เข้าร่วม: 05 Feb 2009
ตอบ: 4704
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:26 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เดี๋ยวไปถามไก่ให้ครับ

เข้าร่วม: 30 Oct 2014
ตอบ: 2116
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:26 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เข้าร่วม: 19 Jun 2015
ตอบ: 1623
ที่อยู่: ไม่ยุ่งดิ
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:26 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เข้ามาหาความรู้


เข้าร่วม: 30 Oct 2010
ตอบ: 39174
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:27 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ไม่รู้เหมือนกัน




เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 869
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:27 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ความรู้ๆ


เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 8067
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:27 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]




เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 4683
ที่อยู่: โลกใหม่
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:27 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
มาหาคำตอบเหมือนกัน

เข้าร่วม: 12 Jul 2014
ตอบ: 4929
ที่อยู่: ที่นี่แหละ
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:28 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
สาระ


เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 2565
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:28 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
อยากรู้เหมือนกัน
Life has never been white or black, it's just "Gray" color only.



เข้าร่วม: 22 Jun 2007
ตอบ: 13849
ที่อยู่: ดินแดนอันไกลโพ้น.....
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:28 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ก็มันสุกแล้วไงครับ ไม่เชื่อเอาไข่ใบน้อยๆของท่านลองดูสิ
จะเพื่อนกิน..หรือเพื่อนตาย..ก็เพื่อนเรา..แล้วเราจะไม่เดินเดียวดาย....
เข้าร่วม: 09 Jan 2010
ตอบ: 1499
ที่อยู่: Thousand Sunny
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:28 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
มันโดนความร้อนครับ ทำให้ผิวของมันไหม้ มั๊ง

เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 26750
ที่อยู่: Leo stadiam
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:28 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
กินได้ก็กิน กินไม่ได้ก็โยนทิ้งไป
เข้าร่วม: 08 Mar 2009
ตอบ: 4510
ที่อยู่: http://www.vichayaplace.com/
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:29 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เข้ามาเพราะอยากรู้ครับ
รบกวนเพื่อนๆ ss กดไลค์เพจให้ผมหน่อยนะครับ
https://www.facebook.com/vichayaplace
เข้าร่วม: 09 Apr 2009
ตอบ: 3060
ที่อยู่: ทุ่งแสงตะวัน
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:29 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
กุ้งบางตัวก็สีชมพู นะ

เข้าร่วม: 26 Sep 2010
ตอบ: 1976
ที่อยู่: Dota 2
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:30 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ความรู้ๆ





เข้าร่วม: 04 Jul 2009
ตอบ: 16076
ที่อยู่: On The Top Of The World
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:31 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เพราะเปลือกกุ้งมีโปรตีนที่ชื่อว่าอัลฟ่า-คัสตาไซยานิน และครัสโตคิน

ที่เป็นโปรตีนเชิงซ้อนอยู่บนผิวเปลือกกุ้งและปู เมื่อความร้อนเข้าไปทำถึง

โครงสร้างโปรตีนที่ว่าที่ถูกทำให้เสียสภาพตามธรรมชาติ(denature)จึงทำมให้

เกิดกระบวนการแปรสภาพด้วยสารแอสตาแซนติน แตกตัวออกมาและเปลี่ยนสี

ของเปลือกกุ้งรวมถึงกระดองปูให้เป็นสีส้มอย่างที่เห็นครับ

เครดิต http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?id=57444


ปล.เอ้า ดันตอบมีสาระซะงั้นตรู
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 4630
ที่อยู่: West London
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:32 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ในเปลือกกุ้งหรือกระดองของสัตว์พวกเดคาพอด (decapod เช่น กุ้ง ปู) จะมีโปรตีนชื่ออัลฟา-ครัสตาไซยานิน (α-crustacyanin) เป็นส่วนประกอบ ภายในโมเลกุลนี้จะมีรงควัตถุสีแดงชื่อแอสตาแซนธิน (astaxanthin) อยู่ภายใน แอสตาแซนตินเป็นรงควัตถุในกลุ่มแคโรทีนอยด์ (carotenoid) ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับรงวัตถุชื่อแคโรทีนที่เราพบในแครอท การเกาะกันระหว่างโปรตีนและรงควัตถุนี้ทำให้เป็นโปรตีนเชิงซ้อน (carotenoprotein) จะทำให้ค่าการดูดกลืนแสงสูงขึ้นอยู่ในช่วงแสงสีเขียว-ม่วงในสัตว์ทะเล นี่คือเหตุผลว่าทำไมเราถึงเห็นกุ้งหรือปูมีสีเขียวน้ำเงินหรือสีน้ำตาล การที่สัตว์เหล่านี้มีสีเช่นนี้ก็เพื่อให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมและลดความเสี่ยงในการถูกจับกิน และการมีแอสตาแซนธินจะมีผลต่อการเจริญของสัตว์นั้นๆ อีกด้วย


นอกจากเปลือกกุ้ง (โดยเฉพาะลอบสเตอร์) มีอัลฟา-ครัสโตไซยานินแล้ว ชั้นนอกสุดของเปลือกยังมีโปรตีนที่ให้สีเหลืองที่ชื่อว่าครัสโตคริน (crustochrin) และในไข่กุ้งลอบสเตอร์ที่มีสีเขียวเกิดมาจากโปรตีน (lipoglycoprotein) ชื่อว่าโอโวเวอร์ดิน (ovoverdin)



สีของโปรตีนเชิงซ้อนที่มีแอสตาแซนธินไปเกาะ (จากซ้ายไปขวา): 1. โอโวรูบิน (ovorubin) 2. แอสตาแซนธินในเฮกเซน 3. ครัสโตคริน (crustochrin) 4. โอโวเวอร์ดิน (ovoverdin) 5. Velella V600 6.อัลฟา-ครัสโตไซยานิน (α-crustocyanin) 7. เบตา-ครัสโตไซยานิน (β-crustocyanin)


เมื่อโดนกับความร้อน โปรตีนเชิงซ้อนนี้จะเกิดการเสียสภาพธรรมชาติ (denature) ทำให้แอสตาแซนตินที่อยู่ภายในวิ่งออกมาข้างนอกและเปลี่ยนเป็นสีแดงตามปกติของมันครับ นี่แสดงให้เห็นว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่โปรตีนเสียสภาพ เราจะเห็น เปลือกกุ้ง มีสีแดง นี่เป็นเหตุผลเดียวกับการบีบมะนาวลงในกุ้งเต้น หลายคนคิดว่าการบีบมะนาวลงไปและทำให้กุ้งมีแดงนั้นหมายถึงว่ากุ้งมันสุกแล้ว ที่จริงมันยังไม่สุกนะครับ เปลือกมันแค่แดงเฉยๆ สรุปก็คือปัจจัยที่ทำให้โปรตีนเกิดการเสียสภาพธรรมชาติไปคือ อุณหภูมิสูงและความเป็นกรด-ด่างที่สูงหรือต่ำเกินไป





เรายังสามารถพบรงควัตถุแอสตาแซนธินได้ในเนื้อสีแดงสวยของปลาแซลมอนและขนสีชมพูในนกฟลามิงโกอีกด้วยครับ สัตว์เหล่านี้ไม่สร้างมันขึ้นมาเองหรอกครับ แต่มันได้รับมาจากสาหร่ายและแพลงค์ตอนนั่นเอง


นักวิจัยพบว่าสารสี (pigment)ที่ทำให้เกิดสีในกุ้ง มีชื่อว่า แอสตาแซนทิน (astaxanthin) ซึ่งเป็นสารสีประเภทแคโรทีนอยด์ ซึ่งให้สีแดงสดใส สารแอสตาแซนทินยังเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดสีแดงในพืชและสัตว์อื่นๆ อีก เช่น ส้ม มะเขือเทศ และสีของขนนก เมื่อสารนี้เข้าไปอยู่ในตัวกุ้ง จะเกาะติดกับโปรตีนที่ชื่อว่า ครัสตาไซยานิน (crustacyanin) ถ้าหากกุ้งถูกต้มให้สุก ความร้อนจะทำให้โปรตีนคลายตัว ทำให้สารแอสตาแซนทินหลุดออกมาเป็นอิสระ สารสีที่เป็นอิสระนี้จะให้สีแดง




การเปลี่ยนสีของกุ้งเมื่อสุกนี้ นักวิจัยเข้าใจได้ดีดังกล่าวข้างต้น แต่กลไกที่ทำให้สารสีนี้กลายเป็นสีน้ำเงินดำ เมื่อติดอยู่กับโปรตีนในกุ้งที่มีชีวิต ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน


เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่เชื่อกันว่า โปรตีนที่หุ้มสารสีนี้ ทำให้สารสีมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไป ทำให้เกิดการดูดกลืนแสงในช่วงสเปกตรัมอื่นด้วย แต่ทีมวิจัยของคุณ ฟรานเซสโก บูดา แห่งมหาวิทยาลัยไลเดน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้วัดสถานะพลังงานควอนตัม (quantum energy state) ของสารแอสตาแซนทิน พบว่า ด้วยการเปลี่ยนรูปร่างของสารสีเพียงอย่างเดียว สามารถทำให้เกิดการดูดกลืนแสงในช่วงสเปกตรัม อื่นได้เพียงหนึ่งในสามของทั้งหมดเท่านั้น จึงไม่อาจเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนสีจากสีแดงมาเป็นสีน้ำเงินดำได้



ทีมวิจัยเชื่อว่า คำอธิบายที่น่าจะถูกต้องกว่า ควรจะเป็นของการค้นพบในปี 2545 ที่อธิบายว่า โมเลกุลของสารแอสตาแซนทินที่อยู่ในโปรตีน จะจับกลุ่มกันเป็นคู่ และเกิดการไขว้กันของโมเลกุล ในลักษณะของตัวอักษรเอกซ์ ซึ่งการที่โมเลกุลไขว้กันนี้ ทำให้เกิดการแทรกแซงกันเอง คล้ายกับการเกิดสัญญาณซ้อนกันในสายโทรศัพท์ ซึ่งส่งผลต่อสถานะพลังงานควอนตัมของสาร และทำให้สามารถดูดกลืนแสงในช่วงสเปกตรัมอื่นได้ด้วย ทำให้สีที่ปรากฏค่อนไปทางสีดำ

ความดีในเรื่องนี้ ต้องยกให้ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ครับ เพราะคุณฟรานเซสโกบอกว่า คอมพิวเตอร์เพิ่งจะสามารถคำนวณเชิงกลศาสตร์ควอนตัมที่ซับซ้อนเช่นนี้ได้ ในช่วง 5-10 ปีมานี้เอง



กุ้งมันน่าจะเปลี่ยนได้หลายๆสีหน่อยนะ -*-


http://www.dek-d.com/board/view/1977656/

Chelsea Pride of London


LONDON IS BEST

เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 4084
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:34 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
nOiNhOnGz พิมพ์ว่า:
ในเปลือกกุ้งหรือกระดองของสัตว์พวกเดคาพอด (decapod เช่น กุ้ง ปู) จะมีโปรตีนชื่ออัลฟา-ครัสตาไซยานิน (α-crustacyanin) เป็นส่วนประกอบ ภายในโมเลกุลนี้จะมีรงควัตถุสีแดงชื่อแอสตาแซนธิน (astaxanthin) อยู่ภายใน แอสตาแซนตินเป็นรงควัตถุในกลุ่มแคโรทีนอยด์ (carotenoid) ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับรงวัตถุชื่อแคโรทีนที่เราพบในแครอท การเกาะกันระหว่างโปรตีนและรงควัตถุนี้ทำให้เป็นโปรตีนเชิงซ้อน (carotenoprotein) จะทำให้ค่าการดูดกลืนแสงสูงขึ้นอยู่ในช่วงแสงสีเขียว-ม่วงในสัตว์ทะเล นี่คือเหตุผลว่าทำไมเราถึงเห็นกุ้งหรือปูมีสีเขียวน้ำเงินหรือสีน้ำตาล การที่สัตว์เหล่านี้มีสีเช่นนี้ก็เพื่อให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมและลดความเสี่ยงในการถูกจับกิน และการมีแอสตาแซนธินจะมีผลต่อการเจริญของสัตว์นั้นๆ อีกด้วย


นอกจากเปลือกกุ้ง (โดยเฉพาะลอบสเตอร์) มีอัลฟา-ครัสโตไซยานินแล้ว ชั้นนอกสุดของเปลือกยังมีโปรตีนที่ให้สีเหลืองที่ชื่อว่าครัสโตคริน (crustochrin) และในไข่กุ้งลอบสเตอร์ที่มีสีเขียวเกิดมาจากโปรตีน (lipoglycoprotein) ชื่อว่าโอโวเวอร์ดิน (ovoverdin)



สีของโปรตีนเชิงซ้อนที่มีแอสตาแซนธินไปเกาะ (จากซ้ายไปขวา): 1. โอโวรูบิน (ovorubin) 2. แอสตาแซนธินในเฮกเซน 3. ครัสโตคริน (crustochrin) 4. โอโวเวอร์ดิน (ovoverdin) 5. Velella V600 6.อัลฟา-ครัสโตไซยานิน (α-crustocyanin) 7. เบตา-ครัสโตไซยานิน (β-crustocyanin)


เมื่อโดนกับความร้อน โปรตีนเชิงซ้อนนี้จะเกิดการเสียสภาพธรรมชาติ (denature) ทำให้แอสตาแซนตินที่อยู่ภายในวิ่งออกมาข้างนอกและเปลี่ยนเป็นสีแดงตามปกติของมันครับ นี่แสดงให้เห็นว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่โปรตีนเสียสภาพ เราจะเห็น เปลือกกุ้ง มีสีแดง นี่เป็นเหตุผลเดียวกับการบีบมะนาวลงในกุ้งเต้น หลายคนคิดว่าการบีบมะนาวลงไปและทำให้กุ้งมีแดงนั้นหมายถึงว่ากุ้งมันสุกแล้ว ที่จริงมันยังไม่สุกนะครับ เปลือกมันแค่แดงเฉยๆ สรุปก็คือปัจจัยที่ทำให้โปรตีนเกิดการเสียสภาพธรรมชาติไปคือ อุณหภูมิสูงและความเป็นกรด-ด่างที่สูงหรือต่ำเกินไป





เรายังสามารถพบรงควัตถุแอสตาแซนธินได้ในเนื้อสีแดงสวยของปลาแซลมอนและขนสีชมพูในนกฟลามิงโกอีกด้วยครับ สัตว์เหล่านี้ไม่สร้างมันขึ้นมาเองหรอกครับ แต่มันได้รับมาจากสาหร่ายและแพลงค์ตอนนั่นเอง


นักวิจัยพบว่าสารสี (pigment)ที่ทำให้เกิดสีในกุ้ง มีชื่อว่า แอสตาแซนทิน (astaxanthin) ซึ่งเป็นสารสีประเภทแคโรทีนอยด์ ซึ่งให้สีแดงสดใส สารแอสตาแซนทินยังเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดสีแดงในพืชและสัตว์อื่นๆ อีก เช่น ส้ม มะเขือเทศ และสีของขนนก เมื่อสารนี้เข้าไปอยู่ในตัวกุ้ง จะเกาะติดกับโปรตีนที่ชื่อว่า ครัสตาไซยานิน (crustacyanin) ถ้าหากกุ้งถูกต้มให้สุก ความร้อนจะทำให้โปรตีนคลายตัว ทำให้สารแอสตาแซนทินหลุดออกมาเป็นอิสระ สารสีที่เป็นอิสระนี้จะให้สีแดง




การเปลี่ยนสีของกุ้งเมื่อสุกนี้ นักวิจัยเข้าใจได้ดีดังกล่าวข้างต้น แต่กลไกที่ทำให้สารสีนี้กลายเป็นสีน้ำเงินดำ เมื่อติดอยู่กับโปรตีนในกุ้งที่มีชีวิต ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน


เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่เชื่อกันว่า โปรตีนที่หุ้มสารสีนี้ ทำให้สารสีมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไป ทำให้เกิดการดูดกลืนแสงในช่วงสเปกตรัมอื่นด้วย แต่ทีมวิจัยของคุณ ฟรานเซสโก บูดา แห่งมหาวิทยาลัยไลเดน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้วัดสถานะพลังงานควอนตัม (quantum energy state) ของสารแอสตาแซนทิน พบว่า ด้วยการเปลี่ยนรูปร่างของสารสีเพียงอย่างเดียว สามารถทำให้เกิดการดูดกลืนแสงในช่วงสเปกตรัม อื่นได้เพียงหนึ่งในสามของทั้งหมดเท่านั้น จึงไม่อาจเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนสีจากสีแดงมาเป็นสีน้ำเงินดำได้



ทีมวิจัยเชื่อว่า คำอธิบายที่น่าจะถูกต้องกว่า ควรจะเป็นของการค้นพบในปี 2545 ที่อธิบายว่า โมเลกุลของสารแอสตาแซนทินที่อยู่ในโปรตีน จะจับกลุ่มกันเป็นคู่ และเกิดการไขว้กันของโมเลกุล ในลักษณะของตัวอักษรเอกซ์ ซึ่งการที่โมเลกุลไขว้กันนี้ ทำให้เกิดการแทรกแซงกันเอง คล้ายกับการเกิดสัญญาณซ้อนกันในสายโทรศัพท์ ซึ่งส่งผลต่อสถานะพลังงานควอนตัมของสาร และทำให้สามารถดูดกลืนแสงในช่วงสเปกตรัมอื่นได้ด้วย ทำให้สีที่ปรากฏค่อนไปทางสีดำ

ความดีในเรื่องนี้ ต้องยกให้ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ครับ เพราะคุณฟรานเซสโกบอกว่า คอมพิวเตอร์เพิ่งจะสามารถคำนวณเชิงกลศาสตร์ควอนตัมที่ซับซ้อนเช่นนี้ได้ ในช่วง 5-10 ปีมานี้เอง



กุ้งมันน่าจะเปลี่ยนได้หลายๆสีหน่อยนะ -*-


http://www.dek-d.com/board/view/1977656/  


สาระแท้ๆ
เข้าร่วม: 09 Sep 2013
ตอบ: 2663
ที่อยู่: LIVERPOOL
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:34 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ความรู้ใหม่
เข้าร่วม: 30 Oct 2014
ตอบ: 2116
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:35 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เข้าร่วม: 07 Dec 2008
ตอบ: 3840
ที่อยู่: WESTEROS
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:36 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
แปลงร่างไม่ทัน
เข้าร่วม: 12 Aug 2009
ตอบ: 2589
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:36 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เข้ามานึกว่ามีสาระ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 1145
ที่อยู่: Somewhere I belong
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:36 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ไม่งั้นเค้าจะเรียกว่ากุ้งกุลาส้มเหรอ
เข้าร่วม: 06 Apr 2014
ตอบ: 11006
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:38 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ไม่เห็นแปลก มะม่วงตอนแรกสีเขียว สุกมายังเป็นสีเหลืองเลย
-----------------------------I wish I didn't know you, but I do.---------------------------
เข้าร่วม: 05 Sep 2013
ตอบ: 990
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 1:43 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เนื้อหมูสีแดงทำไมพอสุกกลายเป็นสีขาว
เข้าร่วม: 26 Sep 2007
ตอบ: 5098
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 2:04 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 14612
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 2:08 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ใสๆ วัยรุ่นชอบ
เข้าร่วม: 02 Jul 2008
ตอบ: 89
ที่อยู่: อพาร์ตเมนต์คุณป้า
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 2:20 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
แช่น้ำปลาอย่างอร่อย
เข้าร่วม: 15 Sep 2006
ตอบ: 937
ที่อยู่: Nottingham UK
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 2:34 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
อะไรว่ะ งงหว่ะ
Manchester United
EPL 20 Times, UCL 3 Times, FA Cup 12 Times

เข้าร่วม: 26 Sep 2010
ตอบ: 1976
ที่อยู่: Dota 2
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 3:08 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]





เข้าร่วม: 20 May 2011
ตอบ: 18496
ที่อยู่: Liverpool News Active
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 3:35 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
#YNWA#KLOPP#ANFIELD#OWEN#
เข้าร่วม: 14 Jun 2009
ตอบ: 1135
ที่อยู่: Julianne Hough
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 3:44 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
นั่นซิผมก็สงสัย

เข้าร่วม: 20 Mar 2007
ตอบ: 383
ที่อยู่: SoccerSucK
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 4:42 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
กุ้ง ปู กั้งมีกระดอง/เปลือก ถูกไฟทำไมเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นสีส้ม...
เพราะเปลือกกุ้งสุกมี astaxanthin-รงควัตถุสีส้ม จึงเห็นเป็นสีส้ม
แต่เปลือกกุ้งดิบ astaxanthin มี protein chains ห่อคลุม จึงเห็นเป็นสีฟ้า
ความร้อนไปทำลาย protein chains

exoskeletons contain astaxanthin. astaxanthin gives salmon its color
When crustaceans are uncooked, astaxanthin pigments are hidden
because they are covered with protein chains; give shells bluish-gray color
http://www.thekitchn.com/food-science-why-do-crustacean-70822

Spoil
เอามาจากพันทิป  


เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 2684
ที่อยู่: Anfeild
โพสเมื่อ: Mon Aug 31, 2015 7:46 pm
[RE: ทำไมกุ้งเป็นตัวใสๆแต่พอต้มแล้วกลายเป็นสีส้ม]
ครับ
0
0