ผู้ตั้ง
ข้อความ
เข้าร่วม: 30 May 2009
ตอบ: 713
ที่อยู่: หอพักของ Girl's Generation
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 5:05 pm
วิศวกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ
NPSH (Net Positive Suction Head) ของ Pump นี่คืออะไรหรอครับ

ผมไปเสิจหาอ่านละ ก็ยัง งงๆ


ใครพอมีความรู้ด้านนี้ช่วยแนะนำทีครับ หรือ พอมีแหล่งอ่านหรือหาข้อมูล ช่วยแปะให้ผมทีนะครับ จะภาษาไทยหรืออังกฤษก็ได้ครับ
0
0
เข้าร่วม: 18 Dec 2009
ตอบ: 4353
ที่อยู่: TCC
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 5:11 pm
[RE: วิศวะกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ]
วิศวกร ครับ
0
0


เข้าร่วม: 05 Nov 2008
ตอบ: 5577
ที่อยู่: ได้ก็เพราะรักที่ได้จากเธอ
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 5:13 pm
[RE: วิศวะกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ]
-RaDoNz- พิมพ์ว่า:
วิศวกร ครับ  


เรียน4ปี จนทำงานแล้ว ไม่เคยเขียน วิศวะกรแบบนั้นเลย สาบาน
0
0
ประเทศมึงแล้วแต่มึงเลย

เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 1654
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 5:21 pm
[RE: วิศวะกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ]
KoNGIEzz พิมพ์ว่า:
-RaDoNz- พิมพ์ว่า:
วิศวกร ครับ  


เรียน4ปี จนทำงานแล้ว ไม่เคยเขียน วิศวะกรแบบนั้นเลย สาบาน  


" วิศวกร "
0
0
เข้าร่วม: 06 Apr 2014
ตอบ: 2518
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 5:21 pm
[RE: วิศวะกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ]
วิศวะ กับ วิศวกร ครับ

ไม่มี วิศวะกร
0
0
เข้าร่วม: 02 Dec 2006
ตอบ: 151
ที่อยู่: MSU
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 5:22 pm
[RE: วิศวะกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ]


ลองอ่านดูครับ
รักอารายไม่สู้รักผีแดง
เข้าร่วม: 25 Oct 2006
ตอบ: 54
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 5:35 pm
[RE: วิศวกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ]
holigans พิมพ์ว่า:
NPSH (Net Positive Suction Head) ของ Pump นี่คืออะไรหรอครับ

ผมไปเสิจหาอ่านละ ก็ยัง งงๆ


ใครพอมีความรู้ด้านนี้ช่วยแนะนำทีครับ หรือ พอมีแหล่งอ่านหรือหาข้อมูล ช่วยแปะให้ผมทีนะครับ จะภาษาไทยหรืออังกฤษก็ได้ครับ  


NPSH คือค่าความปลอกภัยระหว่างความต่างของ suction pressure กับ vapor pressure อธิบายคือซึ่งเป็นค่าความต่างที่น้อยที่สุดที่ทำให้สารด้าน suction ไม่ต่ำไปกว่า vapor pressure เหตุคือ ถ้า pressure ขาเข้าปั้ม ไม่มากพอที่จะสามารถกดให้ liquid ยังคงสภาพเป็น liquid ก้อจะทำให้ liquid เกิดการ vaporize บางส่วน หรือ ง่ายๆ การเกิดฟองอากาศใน liquid เป็นสาเหตุให้เกิดการ cavitation โดย ฟองอากาศ จะไปกระแทกเข้ากับใบพักของ ปั้ม ทำให้ใบพัดเกิดการกัดกร่อน ถ้าเกิดนานและมาก จะทำให้ปั้ม พังได้

การคำนวณก้อคิด:
เอาค่า net suction pressure (pressure ต้นทาง - line loss จาก source มาถึงปั้ม) มาลบกับ vapor pressure ของ liquid โดยปกติจะให้ค่า NPSHa ไม่ต้ำกว่า 1 m. เพราะ เวลาสั่งซื้อปั้มจะต้องให้ค่า NPSHa แก่ผู้ขายปั้ม เค้าก้อจะไปเลือก ปั้ม ที่มีค่า NPSHR ต่ำกว่า NPSHa ถ้าค่าต่ำมากๆ ก้ออาจจะต้องยก source ให้สูงขึ้น หรือ ขุดปั้มลงต่ำกว่าพื้นดิน ไม่ก้อ เลือกปั้มแบบ vertical
เข้าร่วม: 30 Oct 2014
ตอบ: 1623
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 7:35 pm
[RE: วิศวกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ]
ง่ายๆคือความดันขั้นต่ำที่ปั๊มต้องการ เทียบกับค่าความดันของระบบที่มีอยู่ว่าใช้ได้ด้วยกันหรือไม่ แต่ค่าความดันระบบควรจะสูงกว่าหน่อย คือให้มีเฮดสูงพอที่จะขับปั๊มได้แน่ๆ ประมาณนี้ ความจริงมันเป็นความดันบรรยากาศ(หรือเปล่านะ) ถ้าความดันบรรยากาศสูงกว่า ก็ตั้งปั๊มให้สูงกว่าแท็งค์น้ำ ถ้าต่ำกว่า ก็ให้ตั้งปั๊มต่ำกว่าแท็งค์น้ำ

//เท่าที่จำได้นะ ไม่ค่อยแม่นเรื่องนี้เท่าไหร่ 55



จะให้สงบใจตอนนี้ มันยาก ...
เข้าร่วม: 22 Aug 2009
ตอบ: 3171
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sun May 17, 2015 8:25 pm
[RE: วิศวกร ขอความรู้เรื่อง NPSH (Net Positive Suction Head) หน่อยครับ]
ขออธิบายตามที่ผมเข้าใจนะ
ืnpsh มันก็คือความดันสมบูรณ์ทั้งหมด หรือ head ที่หน้าห้องสูบที่ทำให้เกิดการไหลเข้าไปในห้องสูบปั้มอะครับ แล้วลบด้วยความดันไอของของเหลวนั้นๆ
ตามสูตร


โดยปกติการทำงานของปั้มทั่วไป จะเป็นการลดความดันในห้องสูบลงให้ต่ำกว่า ความกดดันของชั้นบรรยากาศ ก่อนที่จะเพิ่มพลังงานให้กับของเหลวที่เราต้องการส่ง
คิดเป็นเคสถ้า
1. ของเหลวอยู่ระดับเดียวกับปั้ม แบบนี้จะคิดแค่แรงดันบรรยากาศมาคิดอย่างเดียว
2.ของเหลวต่ำกว่าปั้ม (ทางด้านดูด)แบบนี้ก็จะคิดแรงดันจากของเหลวด้วย โดย
นำ H ความดันสมบูรณ์ ลบกับ ความดันไอของเหลว (แต่ละอุณหภมิูค่าจะไม่เท่ากัน ถ้าจำไม่ผิดต้องอาศัยเปิดตารางเทียบเอา) ลบ Hz
3. ของเหลวสูงกว่าปั้ม (ทางด้านดูด) ก็คิดเหมือนกันแต่ บวก Hz เข้าไป