ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 21573
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 03:08
สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)
อเมริกา เม็กซิโก แคนาดา ได้เป็นเจ้าภาพร่วมโดยร่วมกันประมูลชนะที่ 11$ billion หรือประมาณ 363,000,000,000 (สามแสนหกหมื่นสามพันล้านบาท) มากกว่ากาตาร์ที่ชนะประมูลบอลโลก2022 เกือบ2เท่า (กาตาร์ชนะประมูล $6.56 billion ) โดยหัวเรือใหญ่อย่างอเมริกาได้ใช้สนาม 16 สนาม เม็กซิโก 3 สนาม แคนาดาอีก 3 สนาม ซึ่งวันนี้มาเปิดดู16สนามที่ผ่านการรับรองของฟีฟ่ามาเรียบร้อย นอกจากนี้อเมริกามีสนามสำรองใช้ยามฉุกเฉินหากมีปัญหาอีก 7 สนาม

นักเศรษฐศาสตร์ระบุประเมินว่า สามประเทศที่เป็นเจ้าภาพจะได้มีรายได้จากการการจัดฟุตบอลโลกอยู่ที่ประมาณ700,000ล้านบาท-800,000แสนล้านบาท โดยเฉพาะอเมริกาอาจจะได้มากกว่าครึ่งหนึ่ง และอาจจะได้มากกว่านี้หากมีการบริหารที่ดีต่อยอดภายหลังจากการสิ้นสุดฟุตบอลโลก2026 ในขณะเดียวฟีฟ่าก็จะได้กำไรรายได้จากการที่สามเจ้าภาพประเทศประมูล 7-8 $ billion

ปล. ปี 2010 แอฟริกาใต้ใช้งบประมาณ 113,856 ล้านบาท
ปี 2014 บราซิลใช้งบประมาณ 372,160 ล้านบาท
ปี 2018 รัสเซียใช้งบประมาณ 416,000 ล้านบาท

จากตัวเลขสามแสนกว่าล้านบาท ถึงแม้ค่าใช้จ่ายจะมากมายในการเป็นเจ้าภาพร่วม2026 แต่ก็เทียบไม่ได้เลยกับงบกระทรวงกลาโหมกระทรวงเดียวของอเมริกาที่สูงถึง 23 ล้านล้านบาท หรือ มากกว่าGDP ของประเทศไทยทั้งหมด(GDP ของประเทศไทย15.6ล้านล้านบาท )

ปล. ผมเห็นคุณเดียร์ของพลังประชารัฐเสนอให้เราเป็นเจ้าภาพ คิดเล่นๆโปรเจ็คนี้ ถ้าประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพบอลโลกต้องประมูลแข่งครับ ที่แน่ๆต้องมีทุนหลักหนึ่งแสนล้านครับเป็นอย่างต่ำ ยิ่งสนาม หรือระบบขนส่ง ที่พักที่อาศัย ยังไม่มีประสิทธิภาพ ต้องปรับปรุง ทะลุสองแสนล้านแน่นอน ดังนั้นการเป็นเจ้าภาพเดี่ยวไม่น่ารอด เจ้าภาพร่วมก็ยังต้องคิดหนัก เพราะสิ่งที่สำคัญมากๆคือ จะบริหารการจัดการอย่างไรหลังจากจบทัวร์นาเม้นท์




สังเกตุสนามของอเมริกาที่ถูกอนุมัติใช้แข่งมีทั้งสนามเก่าและสนามใหม่ แต่ความจุระดับ6หมื่นคนขึ้นทั้งนั้น นอกจากนี้ระบบขนส่ง สาธารณูปโภคและอุปโภค ค่อนข้างครบครัน
ส่วนสนามราชมังคลา ของไทยเราอยู่ที่1,200 ล้านบาท
ใหญ่เป็นอันดับ55 ของโลก ใหญ่อันดับ17 ของเอเชีย [ ตอนนี้น่าจะเพิ่มไปที่60-65ละ]



1.mercides benz stadium ความจุ 75,000 คน

งบก่อสร้าง 39,600,000,000 บาท (สามหมื่นเก้าพันหกร้อยล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,300 ล้านบาท/ปี


Spoil







 


2. M&T BANK stadium ความจุ 71,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 7,260,000,000 บาท (เจ็ดพันสองร้อยหกสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 700ล้าน/ปี

Spoil




 


3. gillette stadium ความจุ 70,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 10,725,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดร้อยยี่สิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 900 ล้านบาท/ปี

Spoil




 


4. paul brown stadium ความจุ 65,515-67,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 15,015,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันสิบห้าล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 800 ล้านบาท/ปี


Spoil








 


4. AT&T Stadium ความจุ 100,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 49,500,000,000 บาท (สี่หมื่นเก้าพันห้าร้อยล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 1,400 ล้านบาท/ปี


Spoil








 



5. Sports Authority Field ความจุ 76,125 คน

งบประมาณก่อสร้าง 18,711,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันเจ็ดร้อยสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี


Spoil





 


6. NRG Stadium ความจุ 72,220 คน

งบประมาณก่อสร้าง 11,616,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันหกร้อยสิบหกล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,200 ล้านบาท/ปี


Spoil








 



7. Arrowhead Stadium 76,416 คน

งบประมาณก่อสร้าง 12,375,000,000 บาท(หนึ่งหมื่นสองพันสามร้อยเจ็บสิบห้าล้านบาท
ค่าบำรุงรักษา 800ล้านบาท/ปี


Spoil










 


8. Los Angeles (Rose Bowl) ความจุ 92,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,976,000,000 บาท (แปดพันเก้าร้อยเจ็ดสิบหกล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 700 ล้านบาท/ปี


Spoil






 



9. Hard Rock Stadium ความจุ 67,518 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,844,000,000 บาท (แปดพันแปดร้อยสี่สิบสี่ล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 890 ล้านบาท/ปี

Spoil










 



10. Nissan Stadium ความจุ 75,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 9,570,000,000 บาท (เก้าพันห้าร้อยเจ็ดสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 830 ล้านบาท/ปี

Spoil










 


11. MetLife Stadium ความจุ 87,157 คน

งบประมาณก่อสร้าง 52,800,000,000 บาท (ห้าหมื่นสองพันแปดร้อยล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,400ล้านบาท/ปี


Spoil







 



12. Camping World Stadium ความจุ 65,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,085,000,000 บาท (แปดพันแปดสิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงก่อสร้าง 770 ล้านบาท/ปี


Spoil









 


13. Lincoln Financial Field ความจุ 69,328 คน

งบประมาณก่อสร้าง 16,005,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นหกพันห้าล้านบาท)
ค่าบำรุกรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี

Spoil










 



14. Levi's Stadium ความจุ 75,000 คน

งบก่อสร้าง 17,325,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดพันสามร้อยยี่สิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี


Spoil















 



15. CenturyLink Field ความจุ 72,000 คน
งบประมาณก่อสร้าง 14,190,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหนึ่งร้อยเก้าสิบล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 1050 ล้านบาท/ปี


Spoil












 



16. FedEx Field ความจุ 82,000 คน

งบประมาณการก่อสร้าง 14,520,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันห้าร้อยยี่สิบล้านบาท)
ค่าบำรุกรักษา 1,000 ล้านบาท/ปี


Spoil












 


คราวหน้ามาต่อกันที่เม็กซิโกและแคนาดาครับ


แก้ไขล่าสุดโดย Hell_Yeah เมื่อ Thu Nov 14, 2019 03:37, ทั้งหมด 1 ครั้ง
โหวตเป็นกระทู้แนะนำ
ออฟไลน์
รีไทร์ผู้จัดการ
Status: YNWA : )
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 7993
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 04:33
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
Spoil
Hell_Yeah พิมพ์ว่า:
อเมริกา เม็กซิโก แคนาดา ได้เป็นเจ้าภาพร่วมโดยร่วมกันประมูลชนะที่ 11$ billion หรือประมาณ 363,000,000,000 (สามแสนหกหมื่นสามพันล้านบาท) มากกว่ากาตาร์ที่ชนะประมูลบอลโลก2022 เกือบ2เท่า (กาตาร์ชนะประมูล $6.56 billion ) โดยหัวเรือใหญ่อย่างอเมริกาได้ใช้สนาม 16 สนาม เม็กซิโก 3 สนาม แคนาดาอีก 3 สนาม ซึ่งวันนี้มาเปิดดู16สนามที่ผ่านการรับรองของฟีฟ่ามาเรียบร้อย นอกจากนี้อเมริกามีสนามสำรองใช้ยามฉุกเฉินหากมีปัญหาอีก 7 สนาม

นักเศรษฐศาสตร์ระบุประเมินว่า สามประเทศที่เป็นเจ้าภาพจะได้มีรายได้จากการการจัดฟุตบอลโลกอยู่ที่ประมาณ700,000ล้านบาท-800,000แสนล้านบาท โดยเฉพาะอเมริกาอาจจะได้มากกว่าครึ่งหนึ่ง และอาจจะได้มากกว่านี้หากมีการบริหารที่ดีต่อยอดภายหลังจากการสิ้นสุดฟุตบอลโลก2026 ในขณะเดียวฟีฟ่าก็จะได้กำไรรายได้จากการที่สามเจ้าภาพประเทศประมูล 7-8 $ billion

ปล. ปี 2010 แอฟริกาใต้ใช้งบประมาณ 113,856 ล้านบาท
ปี 2014 บราซิลใช้งบประมาณ 372,160 ล้านบาท
ปี 2018 รัสเซียใช้งบประมาณ 416,000 ล้านบาท

จากตัวเลขสามแสนกว่าล้านบาท ถึงแม้ค่าใช้จ่ายจะมากมายในการเป็นเจ้าภาพร่วม2026 แต่ก็เทียบไม่ได้เลยกับงบกระทรวงกลาโหมกระทรวงเดียวของอเมริกาที่สูงถึง 23 ล้านล้านบาท หรือ มากกว่าGDP ของประเทศไทยทั้งหมด(GDP ของประเทศไทย15.6ล้านล้านบาท )

ปล. ผมเห็นคุณเดียร์ของพลังประชารัฐเสนอให้เราเป็นเจ้าภาพ คิดเล่นๆโปรเจ็คนี้ ถ้าประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพบอลโลกต้องประมูลแข่งครับ ที่แน่ๆต้องมีทุนหลักหนึ่งแสนล้านครับเป็นอย่างต่ำ ยิ่งสนาม หรือระบบขนส่ง ที่พักที่อาศัย ยังไม่มีประสิทธิภาพ ต้องปรับปรุง ทะลุสองแสนล้านแน่นอน ดังนั้นการเป็นเจ้าภาพเดี่ยวไม่น่ารอด เจ้าภาพร่วมก็ยังต้องคิดหนัก เพราะสิ่งที่สำคัญมากๆคือ จะบริหารการจัดการอย่างไรหลังจากจบทัวร์นาเม้นท์




สังเกตุสนามของอเมริกาที่ถูกอนุมัติใช้แข่งมีทั้งสนามเก่าและสนามใหม่ แต่ความจุระดับ6หมื่นคนขึ้นทั้งนั้น นอกจากนี้ระบบขนส่ง สาธารณูปโภคและอุปโภค ค่อนข้างครบครัน
ส่วนสนามราชมังคลา ของไทยเราอยู่ที่1,200 ล้านบาท
ใหญ่เป็นอันดับ55 ของโลก ใหญ่อันดับ17 ของเอเชีย [ ตอนนี้น่าจะเพิ่มไปที่60-65ละ]



1.mercides benz stadium ความจุ 75,000 คน

งบก่อสร้าง 39,600,000,000 บาท (สามหมื่นเก้าพันหกร้อยล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,300 ล้านบาท/ปี


Spoil







 


2. M&T BANK stadium ความจุ 71,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 7,260,000,000 บาท (เจ็ดพันสองร้อยหกสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 700ล้าน/ปี

Spoil




 


3. gillette stadium ความจุ 70,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 10,725,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดร้อยยี่สิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 900 ล้านบาท/ปี

Spoil




 


4. paul brown stadium ความจุ 65,515-67,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 15,015,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันสิบห้าล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 800 ล้านบาท/ปี


Spoil








 


4. AT&T Stadium ความจุ 100,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 49,500,000,000 บาท (สี่หมื่นเก้าพันห้าร้อยล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 1,400 ล้านบาท/ปี


Spoil








 



5. Sports Authority Field ความจุ 76,125 คน

งบประมาณก่อสร้าง 18,711,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันเจ็ดร้อยสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี


Spoil





 


6. NRG Stadium ความจุ 72,220 คน

งบประมาณก่อสร้าง 11,616,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันหกร้อยสิบหกล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,200 ล้านบาท/ปี


Spoil








 



7. Arrowhead Stadium 76,416 คน

งบประมาณก่อสร้าง 12,375,000,000 บาท(หนึ่งหมื่นสองพันสามร้อยเจ็บสิบห้าล้านบาท
ค่าบำรุงรักษา 800ล้านบาท/ปี


Spoil










 


8. Los Angeles (Rose Bowl) ความจุ 92,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,976,000,000 บาท (แปดพันเก้าร้อยเจ็ดสิบหกล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 700 ล้านบาท/ปี


Spoil






 



9. Hard Rock Stadium ความจุ 67,518 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,844,000,000 บาท (แปดพันแปดร้อยสี่สิบสี่ล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 890 ล้านบาท/ปี

Spoil










 



10. Nissan Stadium ความจุ 75,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 9,570,000,000 บาท (เก้าพันห้าร้อยเจ็ดสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 830 ล้านบาท/ปี

Spoil










 


11. MetLife Stadium ความจุ 87,157 คน

งบประมาณก่อสร้าง 52,800,000,000 บาท (ห้าหมื่นสองพันแปดร้อยล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,400ล้านบาท/ปี


Spoil







 



12. Camping World Stadium ความจุ 65,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,085,000,000 บาท (แปดพันแปดสิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงก่อสร้าง 770 ล้านบาท/ปี


Spoil









 


13. Lincoln Financial Field ความจุ 69,328 คน

งบประมาณก่อสร้าง 16,005,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นหกพันห้าล้านบาท)
ค่าบำรุกรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี

Spoil










 



14. Levi's Stadium ความจุ 75,000 คน

งบก่อสร้าง 17,325,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดพันสามร้อยยี่สิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี


Spoil















 



15. CenturyLink Field ความจุ 72,000 คน
งบประมาณก่อสร้าง 14,190,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหนึ่งร้อยเก้าสิบล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 1050 ล้านบาท/ปี


Spoil












 



16. FedEx Field ความจุ 82,000 คน

งบประมาณการก่อสร้าง 14,520,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันห้าร้อยยี่สิบล้านบาท)
ค่าบำรุกรักษา 1,000 ล้านบาท/ปี


Spoil












 


คราวหน้ามาต่อกันที่เม็กซิโกและแคนาดาครับ


 
 



สุดยอดดเลยท่านโคตรเจ๋ง

เห็นสนามในเมกาแล้วแบบโอ้โหใหญ่ชิ้บไม่พอนะคนเข้าไปดูเต็มยอมเลยย

อยากเหนแอนฟิลด์ซั้ก 70,000 ที่นั่งโว้ยยยยยยย

ปล.AT&T ของ ดัลลัส คาวบอย 100K คน โอ้โหใหญ่ไปไหนนนนนนนนนนนนนน

อยากเหนลิพูแข่งสนามนั้นซั้กตาอยากรู้จะเต็มไม๊ 555
แก้ไขล่าสุดโดย quepidkyu เมื่อ Thu Nov 14, 2019 04:36, ทั้งหมด 3 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
I'm much more me when I'm with you

YNWA







ออฟไลน์
ผู้จัดการทีม
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 30 Oct 2009
ตอบ: 168457
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 05:01
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
ยิ่งใหญ่จริงๆสนาม
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน


ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 21573
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 06:37
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
quepidkyu พิมพ์ว่า:
Spoil
Hell_Yeah พิมพ์ว่า:
อเมริกา เม็กซิโก แคนาดา ได้เป็นเจ้าภาพร่วมโดยร่วมกันประมูลชนะที่ 11$ billion หรือประมาณ 363,000,000,000 (สามแสนหกหมื่นสามพันล้านบาท) มากกว่ากาตาร์ที่ชนะประมูลบอลโลก2022 เกือบ2เท่า (กาตาร์ชนะประมูล $6.56 billion ) โดยหัวเรือใหญ่อย่างอเมริกาได้ใช้สนาม 16 สนาม เม็กซิโก 3 สนาม แคนาดาอีก 3 สนาม ซึ่งวันนี้มาเปิดดู16สนามที่ผ่านการรับรองของฟีฟ่ามาเรียบร้อย นอกจากนี้อเมริกามีสนามสำรองใช้ยามฉุกเฉินหากมีปัญหาอีก 7 สนาม

นักเศรษฐศาสตร์ระบุประเมินว่า สามประเทศที่เป็นเจ้าภาพจะได้มีรายได้จากการการจัดฟุตบอลโลกอยู่ที่ประมาณ700,000ล้านบาท-800,000แสนล้านบาท โดยเฉพาะอเมริกาอาจจะได้มากกว่าครึ่งหนึ่ง และอาจจะได้มากกว่านี้หากมีการบริหารที่ดีต่อยอดภายหลังจากการสิ้นสุดฟุตบอลโลก2026 ในขณะเดียวฟีฟ่าก็จะได้กำไรรายได้จากการที่สามเจ้าภาพประเทศประมูล 7-8 $ billion

ปล. ปี 2010 แอฟริกาใต้ใช้งบประมาณ 113,856 ล้านบาท
ปี 2014 บราซิลใช้งบประมาณ 372,160 ล้านบาท
ปี 2018 รัสเซียใช้งบประมาณ 416,000 ล้านบาท

จากตัวเลขสามแสนกว่าล้านบาท ถึงแม้ค่าใช้จ่ายจะมากมายในการเป็นเจ้าภาพร่วม2026 แต่ก็เทียบไม่ได้เลยกับงบกระทรวงกลาโหมกระทรวงเดียวของอเมริกาที่สูงถึง 23 ล้านล้านบาท หรือ มากกว่าGDP ของประเทศไทยทั้งหมด(GDP ของประเทศไทย15.6ล้านล้านบาท )

ปล. ผมเห็นคุณเดียร์ของพลังประชารัฐเสนอให้เราเป็นเจ้าภาพ คิดเล่นๆโปรเจ็คนี้ ถ้าประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพบอลโลกต้องประมูลแข่งครับ ที่แน่ๆต้องมีทุนหลักหนึ่งแสนล้านครับเป็นอย่างต่ำ ยิ่งสนาม หรือระบบขนส่ง ที่พักที่อาศัย ยังไม่มีประสิทธิภาพ ต้องปรับปรุง ทะลุสองแสนล้านแน่นอน ดังนั้นการเป็นเจ้าภาพเดี่ยวไม่น่ารอด เจ้าภาพร่วมก็ยังต้องคิดหนัก เพราะสิ่งที่สำคัญมากๆคือ จะบริหารการจัดการอย่างไรหลังจากจบทัวร์นาเม้นท์




สังเกตุสนามของอเมริกาที่ถูกอนุมัติใช้แข่งมีทั้งสนามเก่าและสนามใหม่ แต่ความจุระดับ6หมื่นคนขึ้นทั้งนั้น นอกจากนี้ระบบขนส่ง สาธารณูปโภคและอุปโภค ค่อนข้างครบครัน
ส่วนสนามราชมังคลา ของไทยเราอยู่ที่1,200 ล้านบาท
ใหญ่เป็นอันดับ55 ของโลก ใหญ่อันดับ17 ของเอเชีย [ ตอนนี้น่าจะเพิ่มไปที่60-65ละ]



1.mercides benz stadium ความจุ 75,000 คน

งบก่อสร้าง 39,600,000,000 บาท (สามหมื่นเก้าพันหกร้อยล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,300 ล้านบาท/ปี


Spoil







 


2. M&T BANK stadium ความจุ 71,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 7,260,000,000 บาท (เจ็ดพันสองร้อยหกสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 700ล้าน/ปี

Spoil




 


3. gillette stadium ความจุ 70,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 10,725,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดร้อยยี่สิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 900 ล้านบาท/ปี

Spoil




 


4. paul brown stadium ความจุ 65,515-67,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 15,015,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันสิบห้าล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 800 ล้านบาท/ปี


Spoil








 


4. AT&T Stadium ความจุ 100,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 49,500,000,000 บาท (สี่หมื่นเก้าพันห้าร้อยล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 1,400 ล้านบาท/ปี


Spoil








 



5. Sports Authority Field ความจุ 76,125 คน

งบประมาณก่อสร้าง 18,711,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันเจ็ดร้อยสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี


Spoil





 


6. NRG Stadium ความจุ 72,220 คน

งบประมาณก่อสร้าง 11,616,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันหกร้อยสิบหกล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,200 ล้านบาท/ปี


Spoil








 



7. Arrowhead Stadium 76,416 คน

งบประมาณก่อสร้าง 12,375,000,000 บาท(หนึ่งหมื่นสองพันสามร้อยเจ็บสิบห้าล้านบาท
ค่าบำรุงรักษา 800ล้านบาท/ปี


Spoil










 


8. Los Angeles (Rose Bowl) ความจุ 92,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,976,000,000 บาท (แปดพันเก้าร้อยเจ็ดสิบหกล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 700 ล้านบาท/ปี


Spoil






 



9. Hard Rock Stadium ความจุ 67,518 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,844,000,000 บาท (แปดพันแปดร้อยสี่สิบสี่ล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 890 ล้านบาท/ปี

Spoil










 



10. Nissan Stadium ความจุ 75,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 9,570,000,000 บาท (เก้าพันห้าร้อยเจ็ดสิบล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 830 ล้านบาท/ปี

Spoil










 


11. MetLife Stadium ความจุ 87,157 คน

งบประมาณก่อสร้าง 52,800,000,000 บาท (ห้าหมื่นสองพันแปดร้อยล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,400ล้านบาท/ปี


Spoil







 



12. Camping World Stadium ความจุ 65,000 คน

งบประมาณก่อสร้าง 8,085,000,000 บาท (แปดพันแปดสิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงก่อสร้าง 770 ล้านบาท/ปี


Spoil









 


13. Lincoln Financial Field ความจุ 69,328 คน

งบประมาณก่อสร้าง 16,005,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นหกพันห้าล้านบาท)
ค่าบำรุกรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี

Spoil










 



14. Levi's Stadium ความจุ 75,000 คน

งบก่อสร้าง 17,325,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดพันสามร้อยยี่สิบห้าล้านบาท)
ค่าบำรุงรักษา 1,100 ล้านบาท/ปี


Spoil















 



15. CenturyLink Field ความจุ 72,000 คน
งบประมาณก่อสร้าง 14,190,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันหนึ่งร้อยเก้าสิบล้านบาท)
ค่าดูแลรักษา 1050 ล้านบาท/ปี


Spoil












 



16. FedEx Field ความจุ 82,000 คน

งบประมาณการก่อสร้าง 14,520,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันห้าร้อยยี่สิบล้านบาท)
ค่าบำรุกรักษา 1,000 ล้านบาท/ปี


Spoil












 


คราวหน้ามาต่อกันที่เม็กซิโกและแคนาดาครับ


 
 



สุดยอดดเลยท่านโคตรเจ๋ง

เห็นสนามในเมกาแล้วแบบโอ้โหใหญ่ชิ้บไม่พอนะคนเข้าไปดูเต็มยอมเลยย

อยากเหนแอนฟิลด์ซั้ก 70,000 ที่นั่งโว้ยยยยยยย

ปล.AT&T ของ ดัลลัส คาวบอย 100K คน โอ้โหใหญ่ไปไหนนนนนนนนนนนนนน

อยากเหนลิพูแข่งสนามนั้นซั้กตาอยากรู้จะเต็มไม๊ 555
 

สนามเขาอเนกประสงค์ครับ ใช้ได้หลายประเภท ไม่ต้องกลัวเขาขาดทุน ฟุตบอลจบ ก็มีอเมริกันฟุตบอล คอนเสิร์ต มี อีเว้นท์ทุกปีไม่เคยขาด ถ้าเราจะทำแบบเขาต้องบริหารพอที่จะมีงบประมาณดูแลสนามได้ สังเกตุสนามเขาเป็นชื่อบริษัทเอกชนบริหารหมดครับ บางสนามเก่าๆใช้มา20ปีแต่ข้างในทันสมัยครับ

ที่จริงเจ้าภาพอเมริกามีสนามที่ยื่นให้ฟีฟ่า40 สนาม แต่ฟีฟ่าเลือกสนามใหญ่ไว้ก่อน คัดได้16สนาม สำรองอีก7 ที่เหลือเป็นสนามขนาดกลาง

ค่าบำรุงสนามแพงกว่างบสมาคมบอลไทยอีก
2
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 21573
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 06:38
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
Spyjung พิมพ์ว่า:
ยิ่งใหญ่จริงๆสนาม  

ดูงบบำรุงสนามสิ เยอะกว่างบสมาคมบอลไทยอีก
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ปลายอาชีพค้าแข้ง
Status: I hear you say.
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 18730
ที่อยู่: อยู่ในใจเสมอ
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 07:51
สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)
ผมดูอเมริกันฟุตบอลทุกวีค สนามนี่คนแน่นทุกวีค ยิ่งสนามเซจูรี่ลิ้งฟิล ของซีฮอล์คนะ อย่างกระหึ่มอ่ะ สนามแต่ละทีมบอกเลยว่าอย่างสวยอ่ะ สนามมีให้เลือกใช้เยอะมากเมกา แค่ของอเมริกันฟุตบอลก็ 32 ทีมละ
โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน





ออฟไลน์
นักเตะกลางซอย
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 13 Oct 2007
ตอบ: 1736
ที่อยู่: Old Trafford
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 07:55
สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)
เอาแค่ไทยไปบอลให้ได้ก่อนไหมแล้วดูสนามของเมกาแต่ละอันถ้ามาสร้างที่ไทยได้เห็นปติมากรรมร้างแน่นอน555
โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ซุปตาร์ยูโร
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9556
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 08:10
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
อเมริกาแทบไม่ต้องสร้างสนามใหม่เลย

เพราะสนามอเมริกันฟุตบอล ใหญ่เกือบทุกทีมอยู่แล้ว

เหนื่อยแค่ต้องนั่งเครื่องบินข้ามรัฐแค่นั้นเอง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน

ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 21573
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 08:42
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
Swain - B พิมพ์ว่า:
ผมดูอเมริกันฟุตบอลทุกวีค สนามนี่คนแน่นทุกวีค ยิ่งสนามเซจูรี่ลิ้งฟิล ของซีฮอล์คนะ อย่างกระหึ่มอ่ะ สนามแต่ละทีมบอกเลยว่าอย่างสวยอ่ะ สนามมีให้เลือกใช้เยอะมากเมกา แค่ของอเมริกันฟุตบอลก็ 32 ทีมละ  

ไม่ต้องสนามแบบนี้ก็ได้เอาแค่สนามกีฬามหาลัยบ้านเขาบางที่ใหญ่กว่าสนามสนามกีฬาประจำจังหวัดซะอีกครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 21573
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 08:43
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
Black _Hawk พิมพ์ว่า:
อเมริกาแทบไม่ต้องสร้างสนามใหม่เลย

เพราะสนามอเมริกันฟุตบอล ใหญ่เกือบทุกทีมอยู่แล้ว

เหนื่อยแค่ต้องนั่งเครื่องบินข้ามรัฐแค่นั้นเอง  

แทบไม่ต้องลงทุนไรกับสนาม ระบบขนส่งมวลชน สาธารณูปโภค เสียแค่ค่าประมูล ที่เหลือก็รอรับรับตังค์ครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะลา ลีกา
Status: in klopp we trust
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 03 Oct 2010
ตอบ: 9555
ที่อยู่: แอนฟิลด์
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 08:47
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
อเมริกาเป็นเจ้าภาพ เวลาไทยจะกี่โมงเนี่ยทคู่แรก ตี4 งี้ดูไม่ไหวนะ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน


THE END OF THE F***ING WORLD
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 21573
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 08:52
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
Little พิมพ์ว่า:
เอาแค่ไทยไปบอลให้ได้ก่อนไหมแล้วดูสนามของเมกาแต่ละอันถ้ามาสร้างที่ไทยได้เห็นปติมากรรมร้างแน่นอน555  

ไม่มีงบบำรุง? วิ่งไล่หาสปอนเซอร์แน่นอน ถ้าอยากมีสนามแบบนี้ต้องมีเอกชน+รัฐช่วยกันสร้างครับ แต่เอกชนต้องบริหารครับ แต่เอกชนต้องใจกล้าลงทุนมากๆ เพราะเม็ดเงินที่ลงไปไม่ใช่น้อยๆแน่นอน อีกอย่างเราต้องมีแผนจัดการที่ดี
บ้านเขามีกีฬาอย่างอเมริกันฟุตบอลที่เป็นฐานอยู่แล้ว อีเว้นท์อื่นๆก็เยอะ ของเรามีฟุตบอลอย่างเดียว
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 21573
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 08:53
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
newredkop พิมพ์ว่า:
อเมริกาเป็นเจ้าภาพ เวลาไทยจะกี่โมงเนี่ยทคู่แรก ตี4 งี้ดูไม่ไหวนะ  

เวลาคล้ายๆที่เคยจัดในบราซิลครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะอบต.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 3016
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 09:11
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
ขอบคุณสำหรับข้อมูลมากครับ เห็นสนามที่ใช้แข่ง NFL แล้วต้องบอกว่าสุดจริงๆ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
แข้งเจลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 15 Mar 2008
ตอบ: 8971
ที่อยู่: อาร์เซน่อล
โพสเมื่อ: Thu Nov 14, 2019 09:11
[RE: สนามที่ใช้จัดฟุตบอลโลก 2026 (Part 1)]
นึกถึงบรรยากาศที่ดูบอลโลก 94 เลยแหะ

ปล.สนามอลังการณ์มากๆๆ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel