ผู้ตั้ง
ข้อความ
เข้าร่วม: 29 Jan 2009
ตอบ: 396
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 9:51 pm
ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ
ผู้ว่าการรัฐที่อเมริกา เหมือนจะมีอำนาจมากกว่า ผู้ว่าราชการแบบไทยเรา

หรือเปล่าครับ สามารถสั่งทหารที่อยู่ประจำรัฐนั้นๆได้หรือไม่
0
0
เข้าร่วม: 09 Apr 2009
ตอบ: 6001
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 9:53 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
elected governors and appointed governor
เข้าร่วม: 11 Feb 2017
ตอบ: 2570
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:01 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
คำว่ารัฐ และ คำว่าจังหวัด เป็นรูปแบบการปกครองที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่จะใช้เทียบเคียงให้เป็นระดับเดียวกัน
ในการทำธุรกรรมต่างๆ กับหน่วยงานของทางราชการ หรือธนาคารค่ะ

รัฐในที่นี้คือ 50 รัฐ (มลรัฐ) ซึ่งมีการปกครองแบบสหพันธรัฐ ในประเทศอเมริกา (รัฐรวม)

ส่วนคำว่าจังหวัด เป็นรูปแบบการปกครองส่วนภูมิภาค ในประเทศไทย (รัฐเดี่ยว)

ความแตกต่างที่เห็นเด่นชัดมากที่สุดในเรื่องโครงสร้างการปกครองคือ

ผู้ว่าการมลรัฐ (Governor) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยทั่วไปผู้ว่าการมลรัฐมีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี
ส่วนผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นข้าราชการประจำ มาจากการคัดเลือกของกระทรวงมหาดไทย เกษียณราชการ เมื่ออายุครบ 60 ปี

ประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States of America) มีรูปแบบการปกครองแบบสหพันธรัฐ (Federal Republic)

ประกอบด้วยมลรัฐต่างๆ 50 มลรัฐ แบ่งการปกครอง หรือมีโครงสร้างภายนอกเป็นสามส่วน (Three – tier system) คือ

1. การปกครองส่วนกลาง (Federal Government)
2. การปกครองในมลรัฐ (State Government)
3. การปกครองท้องถิ่น (Local Government)

การปกครองส่วนกลาง (Federal Government) แบ่งออกเป็น

1. Executive Branch
มีรัฐบาลกลาง คณะรัฐมนตรี Cabinet (Department Directors) ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการปกครองทั่วทั้งประเทศ คือ
เป็นหน่วยการปกครองสูงสุด และมีรัฐธรรมนูญของสหพันธ์ มีฝ่ายบริหารซึ่งมีประธานาธิบดี (President) เป็นผู้นำ

2. Legislative Branch
มีรัฐสภา (Congress) ประกอบด้วยสองสภาได้แก่สภาสูงหรือวุฒิสภา (House of Senate)
จำนวน 100 คนมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนมลรัฐละ 2 คน และสภาล่างหรือสภาผู้แทนราษฎร (House of Representative)
ซึ่งมาจากการเลือกตั้งจากประชาชนเช่นกัน จำนวนของสมาชิกสภาขึ้นอยู่กับจำนวนของประชาชนในแต่ละมลรัฐ

3. Judicial Branch
ประกอบด้วย Supreme Court (ศาลสูง) และ Other Federal Courts (ศาลรัฐบาลกลางอื่น ๆ)
ศาลสูง (Supreme Court) ทำหน้าที่ฝ่ายตุลาการในกรณีที่มีการอุทธรณ์มาจากศาลอุทธรณ์ หรือทำหน้าที่ตัดสินความขัดแย้งใน
เรื่องอำนาจระหว่างรัฐบาลแต่ละรัฐบาล หัวหน้าศาลสูงจะมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดี

การปกครองในระดับมลรัฐ (State Government)

มลรัฐมีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองเพื่อกำหนดรูปแบบการปกครอง หรือความสัมพันธ์ของอำนาจต่างๆ การปกครอง ในมลรัฐจะแยก
อำนาจในการปกครองออกเป็น 3 ฝ่าย เช่นเดียวกับรัฐบาลกลาง (Federal Government) คือ

1. ฝ่ายบริหาร – ผู้ว่าการมลรัฐ (Governor) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนเป็นหัวหน้าสูงสุด
2. ฝ่ายนิติบัญญัติหรือ สภามลรัฐ ก็มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ทำหน้าที่ในการออกกฎหมายต่างๆ
3. ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วยผู้พิพากษา มาจากการเลือตั้งของประชาชน ทำหน้าที่ในการตัดสินคดีต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในมลรัฐ

การปกครองท้องถิ่น (Local Government)

การปกครองท้องถิ่นเป็นผลผลิตของรัฐบาลมลรัฐ กฎหมายต่างๆ ที่บังคับใช้เกี่ยวการปกครอง
ท้องถิ่นขึ้นอยู่กับแต่ละมลรัฐ หน่วยการปกครองท้องถิ่นทั้งซิตี้ (City) ทาวน์และทาวน์ชิพ (Town
and Township) เคาน์ตี้ (County) เขตพิเศษ (Special District) และเขตโรงเรียน (School District)
ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมลรัฐ มลรัฐจะเป็นผู้กำหนดขอบเขตอำนาจ เป็นผู้กำหนด รูปแบบของหน่วยการ
ปกครองท้องถิ่น กระทั่งเป็นผู้ยกเลิกหน่วยการปกครองท้องถิ่น แต่ในความเป็นจริงองค์กร
ปกครองท้องถิ่นจำนวนมากเกิดขึ้นหรือถูกจัดตั้งขึ้นจากการเรียกร้องของประชาชน มลรัฐเป็นเพียง
ผู้ทำหน้าที่รับรองสถานภาพเท่านั้น

แผนผังการจัดโครงสร้างหรือจัดชั้นในการปกครองของสหรัฐอเมริกา



cr.Khun-Data
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 14457
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:06 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
ขอตอบนะครับ ผู้ว่าการรัฐของอเมริกามีอำนาจมากกว่าครับ
ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า อเมริกาใช้รูปแบบการปกครองแบบรัฐรวม โดยแบ่งอำนาจให้กับรัฐต่างๆ เหตุผลที่ต้องใช้ในหลักการแบ่งอำนาจ
1. ประเทศอเมริกามีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลมากครับ และมีประชากรถึง300 ล้านกว่าคน
2. ความหลากทางด้านเชื้อชาติ ชาติพันธุ์

ดังนั้นการจะปกครองโดยใช้รูปแบบการปกครองที่เน้นเรื่องของความเอกภาพ ที่ใช้แบบแผนเดียวกันในการปกครองค่อนข้างยุ่งยาก ดังนั้นการปกครองจึงถูกหาทางแยกทั้งสองทางครับ
คือการใช้รูปแบบการปกครองจากส่วนกลางหรือเรียกอีกอย่างว่ารวมอำนาจที่ปกครองโดยรัฐบาลกลาง ซึ่งรัฐบาลกลางจะมีหน้าที่ดูแลจัดการเกี่ยวกับการเมืองระหว่างประเทศ การเงิน เป็นหลัก

รัฐบาลท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งภายในพื้นที่แต่ละมลรัฐครับ เพื่อตอบสนองความต้องการและแก้ปัญหาในแต่ละพื้นที่ได้ดีกว่า เข้าใจและเข้าถึงปัญหาได้ดีกว่า ซึ่งบางอย่างแบบแผนหรือนโยบายจากส่วนกลางไม่อาจจะจัดการแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพครับ

ยกตัวอย่างให้เหตุได้ชัดก็คือเรื่องของกฎหมายของแต่ละรัฐจะไม่เหมือนกัน ความรุนแรงและการคุ้มครองก็ย่อมต่างกัน
รัฐบาลท้องถิ่นจึงดูแลในเรื่องของการศึกษา ระบบการขนส่ง สวัสดิการบางอย่าง เป็นต้น


ดังนั้นตำแหน่งผู้ว่าการรัฐจึงค่อนข้างมีอำนาจมากพอสมควรครับ การเลือกตั้งของผู้ว่าการรัฐนี่เรียกได้ว่าเป็นวาระของชาติเลยก็ว่าได้ครับ เพราะส่งผลต่อเสถียรภาพของประเทศเลยทีเดียว

แต่ถึงจะมีแบ่งอำนาจแล้ว มลรัฐต่างๆก็ยังขึ้นตรงกับส่วนกลางอยู่ แต่ก็ให้อิสระในการปกครองจัดการตนเองครับ ยกตัวอย่างที่ยังขึ้นตรงกับส่วนกลางนั่นคือเรื่องของความมั่นคงครับ


เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 14457
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:08 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
Internal2Afair พิมพ์ว่า:
คำว่ารัฐ และ คำว่าจังหวัด เป็นรูปแบบการปกครองที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่จะใช้เทียบเคียงให้เป็นระดับเดียวกัน
ในการทำธุรกรรมต่างๆ กับหน่วยงานของทางราชการ หรือธนาคารค่ะ

รัฐในที่นี้คือ 50 รัฐ (มลรัฐ) ซึ่งมีการปกครองแบบสหพันธรัฐ ในประเทศอเมริกา (รัฐรวม)

ส่วนคำว่าจังหวัด เป็นรูปแบบการปกครองส่วนภูมิภาค ในประเทศไทย (รัฐเดี่ยว)

ความแตกต่างที่เห็นเด่นชัดมากที่สุดในเรื่องโครงสร้างการปกครองคือ

ผู้ว่าการมลรัฐ (Governor) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยทั่วไปผู้ว่าการมลรัฐมีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี
ส่วนผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นข้าราชการประจำ มาจากการคัดเลือกของกระทรวงมหาดไทย เกษียณราชการ เมื่ออายุครบ 60 ปี

ประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States of America) มีรูปแบบการปกครองแบบสหพันธรัฐ (Federal Republic)

ประกอบด้วยมลรัฐต่างๆ 50 มลรัฐ แบ่งการปกครอง หรือมีโครงสร้างภายนอกเป็นสามส่วน (Three – tier system) คือ

1. การปกครองส่วนกลาง (Federal Government)
2. การปกครองในมลรัฐ (State Government)
3. การปกครองท้องถิ่น (Local Government)

การปกครองส่วนกลาง (Federal Government) แบ่งออกเป็น

1. Executive Branch
มีรัฐบาลกลาง คณะรัฐมนตรี Cabinet (Department Directors) ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการปกครองทั่วทั้งประเทศ คือ
เป็นหน่วยการปกครองสูงสุด และมีรัฐธรรมนูญของสหพันธ์ มีฝ่ายบริหารซึ่งมีประธานาธิบดี (President) เป็นผู้นำ

2. Legislative Branch
มีรัฐสภา (Congress) ประกอบด้วยสองสภาได้แก่สภาสูงหรือวุฒิสภา (House of Senate)
จำนวน 100 คนมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนมลรัฐละ 2 คน และสภาล่างหรือสภาผู้แทนราษฎร (House of Representative)
ซึ่งมาจากการเลือกตั้งจากประชาชนเช่นกัน จำนวนของสมาชิกสภาขึ้นอยู่กับจำนวนของประชาชนในแต่ละมลรัฐ

3. Judicial Branch
ประกอบด้วย Supreme Court (ศาลสูง) และ Other Federal Courts (ศาลรัฐบาลกลางอื่น ๆ)
ศาลสูง (Supreme Court) ทำหน้าที่ฝ่ายตุลาการในกรณีที่มีการอุทธรณ์มาจากศาลอุทธรณ์ หรือทำหน้าที่ตัดสินความขัดแย้งใน
เรื่องอำนาจระหว่างรัฐบาลแต่ละรัฐบาล หัวหน้าศาลสูงจะมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดี

การปกครองในระดับมลรัฐ (State Government)

มลรัฐมีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองเพื่อกำหนดรูปแบบการปกครอง หรือความสัมพันธ์ของอำนาจต่างๆ การปกครอง ในมลรัฐจะแยก
อำนาจในการปกครองออกเป็น 3 ฝ่าย เช่นเดียวกับรัฐบาลกลาง (Federal Government) คือ

1. ฝ่ายบริหาร – ผู้ว่าการมลรัฐ (Governor) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนเป็นหัวหน้าสูงสุด
2. ฝ่ายนิติบัญญัติหรือ สภามลรัฐ ก็มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ทำหน้าที่ในการออกกฎหมายต่างๆ
3. ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วยผู้พิพากษา มาจากการเลือตั้งของประชาชน ทำหน้าที่ในการตัดสินคดีต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในมลรัฐ

การปกครองท้องถิ่น (Local Government)

การปกครองท้องถิ่นเป็นผลผลิตของรัฐบาลมลรัฐ กฎหมายต่างๆ ที่บังคับใช้เกี่ยวการปกครอง
ท้องถิ่นขึ้นอยู่กับแต่ละมลรัฐ หน่วยการปกครองท้องถิ่นทั้งซิตี้ (City) ทาวน์และทาวน์ชิพ (Town
and Township) เคาน์ตี้ (County) เขตพิเศษ (Special District) และเขตโรงเรียน (School District)
ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมลรัฐ มลรัฐจะเป็นผู้กำหนดขอบเขตอำนาจ เป็นผู้กำหนด รูปแบบของหน่วยการ
ปกครองท้องถิ่น กระทั่งเป็นผู้ยกเลิกหน่วยการปกครองท้องถิ่น แต่ในความเป็นจริงองค์กร
ปกครองท้องถิ่นจำนวนมากเกิดขึ้นหรือถูกจัดตั้งขึ้นจากการเรียกร้องของประชาชน มลรัฐเป็นเพียง
ผู้ทำหน้าที่รับรองสถานภาพเท่านั้น

แผนผังการจัดโครงสร้างหรือจัดชั้นในการปกครองของสหรัฐอเมริกา



cr.Khun-Data  

ถูกต้องครับ ในความคิดผม ผู้ว่าราชการรัฐเรียกได้ว่าแทบจะเป็นตัวแทนของคนในรัฐนั้นเลยทีเดียว การใช้หลักรวมอำนาจอาจจะตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นได้ไม่เพียงพอ และอาจจะมีปัจจัยทางด้านภูมิศาสร์และมนุษย์ศาสตร์มาเกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงต้องใช้หลีกการแบ่งอำนาจ เพื่อความเป็นอิสระในการทำงานของรัฐต่างๆ
0
0
เข้าร่วม: 29 Jan 2009
ตอบ: 396
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:16 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
Hell_Yeah พิมพ์ว่า:
Internal2Afair พิมพ์ว่า:
คำว่ารัฐ และ คำว่าจังหวัด เป็นรูปแบบการปกครองที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่จะใช้เทียบเคียงให้เป็นระดับเดียวกัน
ในการทำธุรกรรมต่างๆ กับหน่วยงานของทางราชการ หรือธนาคารค่ะ

รัฐในที่นี้คือ 50 รัฐ (มลรัฐ) ซึ่งมีการปกครองแบบสหพันธรัฐ ในประเทศอเมริกา (รัฐรวม)

ส่วนคำว่าจังหวัด เป็นรูปแบบการปกครองส่วนภูมิภาค ในประเทศไทย (รัฐเดี่ยว)

ความแตกต่างที่เห็นเด่นชัดมากที่สุดในเรื่องโครงสร้างการปกครองคือ

ผู้ว่าการมลรัฐ (Governor) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยทั่วไปผู้ว่าการมลรัฐมีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี
ส่วนผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นข้าราชการประจำ มาจากการคัดเลือกของกระทรวงมหาดไทย เกษียณราชการ เมื่ออายุครบ 60 ปี

ประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States of America) มีรูปแบบการปกครองแบบสหพันธรัฐ (Federal Republic)

ประกอบด้วยมลรัฐต่างๆ 50 มลรัฐ แบ่งการปกครอง หรือมีโครงสร้างภายนอกเป็นสามส่วน (Three – tier system) คือ

1. การปกครองส่วนกลาง (Federal Government)
2. การปกครองในมลรัฐ (State Government)
3. การปกครองท้องถิ่น (Local Government)

การปกครองส่วนกลาง (Federal Government) แบ่งออกเป็น

1. Executive Branch
มีรัฐบาลกลาง คณะรัฐมนตรี Cabinet (Department Directors) ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการปกครองทั่วทั้งประเทศ คือ
เป็นหน่วยการปกครองสูงสุด และมีรัฐธรรมนูญของสหพันธ์ มีฝ่ายบริหารซึ่งมีประธานาธิบดี (President) เป็นผู้นำ

2. Legislative Branch
มีรัฐสภา (Congress) ประกอบด้วยสองสภาได้แก่สภาสูงหรือวุฒิสภา (House of Senate)
จำนวน 100 คนมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนมลรัฐละ 2 คน และสภาล่างหรือสภาผู้แทนราษฎร (House of Representative)
ซึ่งมาจากการเลือกตั้งจากประชาชนเช่นกัน จำนวนของสมาชิกสภาขึ้นอยู่กับจำนวนของประชาชนในแต่ละมลรัฐ

3. Judicial Branch
ประกอบด้วย Supreme Court (ศาลสูง) และ Other Federal Courts (ศาลรัฐบาลกลางอื่น ๆ)
ศาลสูง (Supreme Court) ทำหน้าที่ฝ่ายตุลาการในกรณีที่มีการอุทธรณ์มาจากศาลอุทธรณ์ หรือทำหน้าที่ตัดสินความขัดแย้งใน
เรื่องอำนาจระหว่างรัฐบาลแต่ละรัฐบาล หัวหน้าศาลสูงจะมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดี

การปกครองในระดับมลรัฐ (State Government)

มลรัฐมีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองเพื่อกำหนดรูปแบบการปกครอง หรือความสัมพันธ์ของอำนาจต่างๆ การปกครอง ในมลรัฐจะแยก
อำนาจในการปกครองออกเป็น 3 ฝ่าย เช่นเดียวกับรัฐบาลกลาง (Federal Government) คือ

1. ฝ่ายบริหาร – ผู้ว่าการมลรัฐ (Governor) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนเป็นหัวหน้าสูงสุด
2. ฝ่ายนิติบัญญัติหรือ สภามลรัฐ ก็มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ทำหน้าที่ในการออกกฎหมายต่างๆ
3. ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วยผู้พิพากษา มาจากการเลือตั้งของประชาชน ทำหน้าที่ในการตัดสินคดีต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในมลรัฐ

การปกครองท้องถิ่น (Local Government)

การปกครองท้องถิ่นเป็นผลผลิตของรัฐบาลมลรัฐ กฎหมายต่างๆ ที่บังคับใช้เกี่ยวการปกครอง
ท้องถิ่นขึ้นอยู่กับแต่ละมลรัฐ หน่วยการปกครองท้องถิ่นทั้งซิตี้ (City) ทาวน์และทาวน์ชิพ (Town
and Township) เคาน์ตี้ (County) เขตพิเศษ (Special District) และเขตโรงเรียน (School District)
ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมลรัฐ มลรัฐจะเป็นผู้กำหนดขอบเขตอำนาจ เป็นผู้กำหนด รูปแบบของหน่วยการ
ปกครองท้องถิ่น กระทั่งเป็นผู้ยกเลิกหน่วยการปกครองท้องถิ่น แต่ในความเป็นจริงองค์กร
ปกครองท้องถิ่นจำนวนมากเกิดขึ้นหรือถูกจัดตั้งขึ้นจากการเรียกร้องของประชาชน มลรัฐเป็นเพียง
ผู้ทำหน้าที่รับรองสถานภาพเท่านั้น

แผนผังการจัดโครงสร้างหรือจัดชั้นในการปกครองของสหรัฐอเมริกา



cr.Khun-Data  

ถูกต้องครับ ในความคิดผม ผู้ว่าราชการรัฐเรียกได้ว่าแทบจะเป็นตัวแทนของคนในรัฐนั้นเลยทีเดียว การใช้หลักรวมอำนาจอาจจะตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นได้ไม่เพียงพอ และอาจจะมีปัจจัยทางด้านภูมิศาสร์และมนุษย์ศาสตร์มาเกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงต้องใช้หลีกการแบ่งอำนาจ เพื่อความเป็นอิสระในการทำงานของรัฐต่างๆ  


ทำไมเราไม่เอาแบบเค้ามั้งอะครับ ฟังดูดีนะ
0
0
เข้าร่วม: 12 Aug 2017
ตอบ: 409
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:26 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
ผู้ว่าการรัฐสหรัฐ มีอาสารักษาดินแดน (National Guard) เป็นกำลังในมือ

เช่นเหตุการณ์จราจลที่เมือง Ferguson รัฐ Missouri ก็ใช้กำลัง National Guard



------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผู้ว่าราชการจังหวัดไทย ก็มีอาสาสมัครรักษาดินแดน (สังกัดกระทรวงมหาดไทย) เป็นกำลังในมือ

เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 14457
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:28 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
UNZ3NZ3R พิมพ์ว่า:
Hell_Yeah พิมพ์ว่า:
Internal2Afair พิมพ์ว่า:
คำว่ารัฐ และ คำว่าจังหวัด เป็นรูปแบบการปกครองที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่จะใช้เทียบเคียงให้เป็นระดับเดียวกัน
ในการทำธุรกรรมต่างๆ กับหน่วยงานของทางราชการ หรือธนาคารค่ะ

รัฐในที่นี้คือ 50 รัฐ (มลรัฐ) ซึ่งมีการปกครองแบบสหพันธรัฐ ในประเทศอเมริกา (รัฐรวม)

ส่วนคำว่าจังหวัด เป็นรูปแบบการปกครองส่วนภูมิภาค ในประเทศไทย (รัฐเดี่ยว)

ความแตกต่างที่เห็นเด่นชัดมากที่สุดในเรื่องโครงสร้างการปกครองคือ

ผู้ว่าการมลรัฐ (Governor) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยทั่วไปผู้ว่าการมลรัฐมีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี
ส่วนผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นข้าราชการประจำ มาจากการคัดเลือกของกระทรวงมหาดไทย เกษียณราชการ เมื่ออายุครบ 60 ปี

ประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States of America) มีรูปแบบการปกครองแบบสหพันธรัฐ (Federal Republic)

ประกอบด้วยมลรัฐต่างๆ 50 มลรัฐ แบ่งการปกครอง หรือมีโครงสร้างภายนอกเป็นสามส่วน (Three – tier system) คือ

1. การปกครองส่วนกลาง (Federal Government)
2. การปกครองในมลรัฐ (State Government)
3. การปกครองท้องถิ่น (Local Government)

การปกครองส่วนกลาง (Federal Government) แบ่งออกเป็น

1. Executive Branch
มีรัฐบาลกลาง คณะรัฐมนตรี Cabinet (Department Directors) ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการปกครองทั่วทั้งประเทศ คือ
เป็นหน่วยการปกครองสูงสุด และมีรัฐธรรมนูญของสหพันธ์ มีฝ่ายบริหารซึ่งมีประธานาธิบดี (President) เป็นผู้นำ

2. Legislative Branch
มีรัฐสภา (Congress) ประกอบด้วยสองสภาได้แก่สภาสูงหรือวุฒิสภา (House of Senate)
จำนวน 100 คนมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนมลรัฐละ 2 คน และสภาล่างหรือสภาผู้แทนราษฎร (House of Representative)
ซึ่งมาจากการเลือกตั้งจากประชาชนเช่นกัน จำนวนของสมาชิกสภาขึ้นอยู่กับจำนวนของประชาชนในแต่ละมลรัฐ

3. Judicial Branch
ประกอบด้วย Supreme Court (ศาลสูง) และ Other Federal Courts (ศาลรัฐบาลกลางอื่น ๆ)
ศาลสูง (Supreme Court) ทำหน้าที่ฝ่ายตุลาการในกรณีที่มีการอุทธรณ์มาจากศาลอุทธรณ์ หรือทำหน้าที่ตัดสินความขัดแย้งใน
เรื่องอำนาจระหว่างรัฐบาลแต่ละรัฐบาล หัวหน้าศาลสูงจะมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดี

การปกครองในระดับมลรัฐ (State Government)

มลรัฐมีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองเพื่อกำหนดรูปแบบการปกครอง หรือความสัมพันธ์ของอำนาจต่างๆ การปกครอง ในมลรัฐจะแยก
อำนาจในการปกครองออกเป็น 3 ฝ่าย เช่นเดียวกับรัฐบาลกลาง (Federal Government) คือ

1. ฝ่ายบริหาร – ผู้ว่าการมลรัฐ (Governor) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนเป็นหัวหน้าสูงสุด
2. ฝ่ายนิติบัญญัติหรือ สภามลรัฐ ก็มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ทำหน้าที่ในการออกกฎหมายต่างๆ
3. ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วยผู้พิพากษา มาจากการเลือตั้งของประชาชน ทำหน้าที่ในการตัดสินคดีต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในมลรัฐ

การปกครองท้องถิ่น (Local Government)

การปกครองท้องถิ่นเป็นผลผลิตของรัฐบาลมลรัฐ กฎหมายต่างๆ ที่บังคับใช้เกี่ยวการปกครอง
ท้องถิ่นขึ้นอยู่กับแต่ละมลรัฐ หน่วยการปกครองท้องถิ่นทั้งซิตี้ (City) ทาวน์และทาวน์ชิพ (Town
and Township) เคาน์ตี้ (County) เขตพิเศษ (Special District) และเขตโรงเรียน (School District)
ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมลรัฐ มลรัฐจะเป็นผู้กำหนดขอบเขตอำนาจ เป็นผู้กำหนด รูปแบบของหน่วยการ
ปกครองท้องถิ่น กระทั่งเป็นผู้ยกเลิกหน่วยการปกครองท้องถิ่น แต่ในความเป็นจริงองค์กร
ปกครองท้องถิ่นจำนวนมากเกิดขึ้นหรือถูกจัดตั้งขึ้นจากการเรียกร้องของประชาชน มลรัฐเป็นเพียง
ผู้ทำหน้าที่รับรองสถานภาพเท่านั้น

แผนผังการจัดโครงสร้างหรือจัดชั้นในการปกครองของสหรัฐอเมริกา



cr.Khun-Data  

ถูกต้องครับ ในความคิดผม ผู้ว่าราชการรัฐเรียกได้ว่าแทบจะเป็นตัวแทนของคนในรัฐนั้นเลยทีเดียว การใช้หลักรวมอำนาจอาจจะตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นได้ไม่เพียงพอ และอาจจะมีปัจจัยทางด้านภูมิศาสร์และมนุษย์ศาสตร์มาเกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงต้องใช้หลีกการแบ่งอำนาจ เพื่อความเป็นอิสระในการทำงานของรัฐต่างๆ  


ทำไมเราไม่เอาแบบเค้ามั้งอะครับ ฟังดูดีนะ  

ต้องมองบริบทหลายอย่างเลยครับ ทั้งภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เป็นต้น

ไทยใช้การหลักการรวมอำนาจเป้นสายหลักครับ แต่ก็มีบางอย่างที่แบ่งอำนาจและกระจายอำนาจบ้าง แต่เหตุผลหลักๆเลยคือเรื่องของความเป็นเอกภาพยูนิตี้เดียวกัน เพื่อความมั่นคง ดังนั้นแบบแผนของกฏหมายจึงครอบคลุมทั้งหมด แบบแผนกฎต่างๆจึงมีลักษณะไปทางเดียวกัน พูด3วันก็ไม่หมดหรอกครับ ค่อนข้างละเอียดอ่อน

มีเคสประเทศหนึ่งที่พื้นที่ไม่ได้กว้างใหญ่มาก ใกล้เกคยงประเทศไทยพอสมควร แต่ใช้หลักรัฐรวมคือ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ครับ ถึงแม้ประเทศนี้ไม่ได้กว้างใหญ่ แต่มีพื้นที่อาณาเขตติดกับประเทศอื่นเป็นจำนวนมาก ดังนั้นความหลากหลายค่อนข้างสูงทั้งภาษา วัฒนธรรม เชื้อชาติ ศาสนา เป็นต้น ถ้าผมจำไม่ผิดสวิสเซอร์แลนด์ถูกล้อมรอบด้วยประเทศต่างๆ เช่น ฝรั่งเศส อิตาลี ออสเตรีย เยอรมัน

เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 14457
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:30 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
ป๋อง ปิ่นเกล้า พิมพ์ว่า:
ผู้ว่าการรัฐสหรัฐ มีอาสารักษาดินแดน (National Guard) เป็นกำลังในมือ

เช่นเหตุการณ์จราจลที่เมือง Ferguson รัฐ Missouri ก็ใช้กำลัง National Guard



------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผู้ว่าราชการจังหวัดไทย ก็มีอาสาสมัครรักษาดินแดน (สังกัดกระทรวงมหาดไทย) เป็นกำลังในมือ

 

ใช่ครับ ในแต่ละรัฐ มีกองกำลังเป็นของตนเอง เพื่อใช้รักษาความสงบและความมั่นคง
ผู้ว่าราชการรัฐมีสิทธิใช้กฏอัยการศึกได้ ตามแต่ละสถานการณ์ตามความเหมาะสม ซึ่งผู้ว่าราชการมลรัฐมีสิทธิใช้อำนาจนี้ แต่ก็ต้องฟังหลายฝ่ายเหมือนกัน
0
0
เข้าร่วม: 29 Jan 2009
ตอบ: 396
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:40 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
Hell_Yeah พิมพ์ว่า:
ป๋อง ปิ่นเกล้า พิมพ์ว่า:
ผู้ว่าการรัฐสหรัฐ มีอาสารักษาดินแดน (National Guard) เป็นกำลังในมือ

เช่นเหตุการณ์จราจลที่เมือง Ferguson รัฐ Missouri ก็ใช้กำลัง National Guard



------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผู้ว่าราชการจังหวัดไทย ก็มีอาสาสมัครรักษาดินแดน (สังกัดกระทรวงมหาดไทย) เป็นกำลังในมือ

 

ใช่ครับ ในแต่ละรัฐ มีกองกำลังเป็นของตนเอง เพื่อใช้รักษาความสงบและความมั่นคง
ผู้ว่าราชการรัฐมีสิทธิใช้กฏอัยการศึกได้ ตามแต่ละสถานการณ์ตามความเหมาะสม ซึ่งผู้ว่าราชการมลรัฐมีสิทธิใช้อำนาจนี้ แต่ก็ต้องฟังหลายฝ่ายเหมือนกัน  


แสดงว่าแบบนี้การเกิดรัฐประหารก็ทำได้ยากตามไปด้วยจริงมั้ย
0
0
เข้าร่วม: 12 Aug 2016
ตอบ: 14457
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Wed Jan 17, 2018 10:49 pm
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
UNZ3NZ3R พิมพ์ว่า:
Hell_Yeah พิมพ์ว่า:
ป๋อง ปิ่นเกล้า พิมพ์ว่า:
ผู้ว่าการรัฐสหรัฐ มีอาสารักษาดินแดน (National Guard) เป็นกำลังในมือ

เช่นเหตุการณ์จราจลที่เมือง Ferguson รัฐ Missouri ก็ใช้กำลัง National Guard



------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผู้ว่าราชการจังหวัดไทย ก็มีอาสาสมัครรักษาดินแดน (สังกัดกระทรวงมหาดไทย) เป็นกำลังในมือ

 

ใช่ครับ ในแต่ละรัฐ มีกองกำลังเป็นของตนเอง เพื่อใช้รักษาความสงบและความมั่นคง
ผู้ว่าราชการรัฐมีสิทธิใช้กฏอัยการศึกได้ ตามแต่ละสถานการณ์ตามความเหมาะสม ซึ่งผู้ว่าราชการมลรัฐมีสิทธิใช้อำนาจนี้ แต่ก็ต้องฟังหลายฝ่ายเหมือนกัน  


แสดงว่าแบบนี้การเกิดรัฐประหารก็ทำได้ยากตามไปด้วยจริงมั้ย  

ถึงแม้ผุ้ว่าราชการมลรัฐจะมีอำนาจมาก แต่หลายๆอำนาจก็ยังมีปัจจัยการคานอำนาจครับ
อย่างเช่นถึงแม้ผู้ว่าราชการมลรัฐ จะมีอำนาจในด้านการทหารในเขตพื้นที่ตนเอง แต่ก็ยังต้องมีลงประชามติทั้งในสภาและประชาชนครับ อย่างองค์กรทหารของแต่ละรัฐก็ยังขึ้นตรงกับกลาโหม ซึ่งหน่วยงานของกลาโหมเป็นหน่วยงานหนึ่งของส่วนกลางที่ยังขึ้นตรงต่อประธานาธิบดี เพียงแต่ส่วนกลางให้อำนาจทางทหารแก่มลรัฐเพื่อความเรียบร้อย

การก่อกบฏ รัฐประหารในอเมริกา ค่อนข้างทำไปได้ยากครับ เพราะวัฒนธรรมของชาวอเมริกันปลูกฝังให้รักชาติ ผลประโยชน์ของชาติต้องมาก่อนผลประโยชน์ส่วนบุคคล นอกจากเรื่องของอำนาจ และ ผลประโยชน์แล้ว ด้านคุณค่าจิตใจก็มีผลต่อการอยู่รอดของชาติเช่นกัน เรียกง่ายๆ ยูนิตี้เดียวกัน


0
0
เข้าร่วม: 12 Aug 2017
ตอบ: 977
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Thu Jan 18, 2018 9:08 am
[RE: ผู้ว่าการรัฐ กับ ผู้ว่าราชการ]
มู้สาระชัดๆ โดยเฉพาะเรื่อง Federal Republic
ยิ่งกำลังดูเรื่อง Madam Secretary อยู่ด้วย
0
0