ผู้ตั้ง
ข้อความ
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 5:47 pm
ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย
เสก "รถไฟไทย-จีน" เป็น "ไฮสปีดเทรน" "ญี่ปุ่น" นอนมารับงานรางขนสินค้าทั่วประเทศ







เนื้อเยอะ ย่อยยากหน่อยนะครับ


ความคืบหน้า "รถไฟไทย-จีน-ญี่ปุ่น" โปรเจ็กต์ความร่วมมือของสองมิตรประเทศมหาอำนาจด้านระบบรางแห่งเอเชีย ที่กำลังรุกหนักในยุค "รัฐบาล คสช."

Spoil
ยุ่นแซงหน้ามังกร

ดูเหมือน "ญี่ปุ่น" จะนำหน้า "จีน" อยู่หลายก้าวกับภาพความสำเร็จกดปุ่มทดสอบเดินรถขนส่งสินค้าขนาด 12 ฟุต ซึ่งเป็น 1 ใน 4 ข้อที่ "ไทย-ญี่ปุ่น" เซ็น MOC ร่วมกัน

งานนี้ญี่ปุ่นไม่ต้องแรงมาก แค่วิเคราะห์การขนส่งสินค้าทางรถไฟทั่วประเทศรูปแบบใหม่ให้เหมาะกับไทย และนำเข้าตู้คอนเทนเนอร์จากญี่ปุ่นมาวิ่งเป็นต้นแบบที่ "สถานีหนองปลาดุก" ชุมทางเส้นทางรถไฟระหว่างท่าเรือแหลมฉบังกับท่าเรือทวาย

ขณะที่ "รถไฟไทย-จีน" ถึงจะเจรจามาร่วมปี มีการปักธงแสดงสัญลักษณ์เริ่มต้นโครงการ แต่ก็ยังสุดลุ่ม ๆ ดอน ๆ ด้วยมูลค่าลงทุนสูงทะลุ 5.3 แสนล้านบาท ผนวกกับเสียงวิจารณ์ถามหาถึงความคุ้มค่าการลงทุน และสิ่งที่ประเทศไทยจะได้รับจากโครงการ ทำให้โปรเจ็กต์อาจจะไปไม่ถึงดวงดาว







แต่เพราะเป็นโครงการความร่วมมือของรัฐบาลสองประเทศที่เซ็น MOU กันไว้ ในช่วงระหว่างนี้จึงยังเดินหน้าหารือกันต่อ ส่วนจะถึงขั้นปักตอม่อหรือไม่ยังต้องลุ้น เมื่ออะไรที่เคยตกลงกันไว้ก่อนหน้านี้ดูจะไม่เหมือนเดิม แถมยังมีรายละเอียดเพิ่มเติมที่นอกเหนือจากข้อตกลง

รื้อใหญ่รถไฟไทย-จีน

ล่าสุดมีความเป็นไปได้สูง โครงการอาจจะถูกแปลงร่างจากรถไฟความเร็วปานกลางวิ่งด้วยความเร็ว 160-180 กม./ชม. ขนทั้งผู้โดยสารและสินค้ามาเป็นรถไฟความเร็วสูง วิ่งด้วยความเร็ว 200-250 กม./ชม. ใช้ขนส่งผู้โดยสารอย่างเดียว







หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว

"ก่อนหน้านี้รัฐบาล คสช. นำโครงการรถไฟความเร็วสูงเส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายมาปรับเป็นรถไฟความเร็วปานกลางและเพิ่มเส้นทางช่วงแก่งคอย-มาบตาพุดล่าสุดเมื่อปรับแบบใหม่ก็กลับมาใช้ผลการศึกษารถไฟความเร็วสูงเหมือนเดิมเพื่อให้โครงการได้เดินหน้าทันกำหนดที่2 รัฐบาลจะก่อสร้างเดือน พ.ค.นี้"

แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

สำหรับแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูงช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" หากไทย-จีนเคาะกลับมาใช้โมเดลรถไฟความเร็วสูง มีจุดเริ่มต้นที่สถานีบางซื่อผ่านดอนเมือง พระนครศรีอยุธยา มาถึงชุมทางบ้านภาชี แยกเข้าสู่เส้นทางรถไฟสายอีสาน จากบ้านภาชีมุ่งหน้าเข้าสู่ จ.สระบุรี ผ่านสถานีปากช่อง แล้วเลียบอ่างเก็บน้ำเขื่อนลำตะคองไปยังสถานีปลายทางที่นครราชสีมา

ที่ตั้งสถานีถัดจากสถานีกลางบางซื่อ ดอนเมือง พระนครศรีอยุธยา ภาชี จะสร้างอยู่ที่เดิม มาถึงสระบุรีจะสร้างอยู่ที่ใหม่ ห่างสถานีรถไฟเดิม 3 กม. เยื้องศูนย์การค้าเซ็นทรัล สถานีปากช่องจะอยู่ที่ราชพัสดุหนองสาหร่าย ห่างสถานีเดิม 5 กม. และสถานีนครราชสีมาจะอยู่ที่เดิม มีเวนคืนที่ดิน 926 ไร่ ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคายมี 3 สถานี คือ สถานีขอนแก่น สถานีอุดรธานี สถานีหนองคาย เบื้องต้นตำแหน่งอยู่ที่สถานีรถไฟเดิม

ขณะที่ "อาคม เติมพิทยาไพสิฐ" รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กล่าวว่า อยู่ระหว่างปรับรายละเอียดยังไม่ได้ข้อสรุป แต่หากจะเป็นไฮสปีดเทรนก็ไม่น่าจะมีปัญหาเพราะจีนออกแบบรองรับความเร็ว 200-250กม./ชม.ไว้อยู่แล้ว "






กลางปีเคาะ SPV ไทย-ญี่ปุ่น

มาดูความคืบหน้ารถไฟไทย-ญี่ปุ่น "อาคม" กล่าวว่า ผลประชุมร่วมกับ นายชิโตะมุ ชิมุระ รองอธิบดีกระทรวงที่ดิน โครงสร้างพื้นฐานการขนส่งและการท่องเที่ยวหรือกระทรวงคมนาคมของประเทศญี่ปุ่น ตามบันทึกข้อตกลงก่อสร้างรถไฟไทย-ญี่ปุ่น

ในเส้นทางกาญจนบุรี-กรุงเทพฯ-แหลมฉบัง-อรัญประเทศ ทางญี่ปุ่นจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเหมาะสมแล้ว ขณะนี้เริ่มศึกษาสภาพเส้นทางที่ต้องปรับปรุง เบื้องต้นเป็นรถไฟขนาด 1 เมตร ในอนาคตจะก่อสร้างเป็นทางคู่เชื่อมต่อไปยังเขตเศรษฐกิจทวายประเทศเมียนมากับท่าเรือแหลมฉบัง

"เปิดทดลองขนส่งสินค้าขนาดเล็ก ที่สถานีหนองปลาดุก จ.ราชบุรี เมื่อวันที่ 5 ก.พ.ที่ผ่านมา ญี่ปุ่นจะช่วยดูในการปรับปรุงเส้นทางการเดินรถ โดยใช้รถตู้ขนส่งสินค้าขนาด 12 ฟุต จำนวน 12 ตู้ สำหรับผู้ประกอบการ SMEs ใช้สถานีหนองปลาดุกเป็นสถานีต้นแบบ วิ่งไปสุพรรณบุรีเข้ากาญจนบุรี ผลศึกษาจัดตั้งบริษัทร่วมทุน หรือ SPV เพื่อเดินรถจะเสร็จกลางปีนี้"

ตามโปรแกรมการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) จะทดลองขนส่งสินค้า 2 เส้นทางประกอบด้วย 1.บางซื่อ-ลำพูน-บางซื่อ ให้สถานีลำพูนเป็นจุดกระจายสินค้าในภาคเหนือ ทดลองวันที่ 15-19 ก.พ.นี้ และ 2.บางซื่อ-กุดจิก-ท่าพระ-กุดจิก-บางซื่อ มีสถานีกุดจิกและสถานีท่าพระเป็นศูนย์กระจายสินค้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือวันที่ 8-12 ก.พ. เบื้องต้นมีบริษัท DAISIN เอกชนให้ความสนใจ เช่าตู้ขนส่งอะไหล่รถยนต์จากขอนแก่นไปท่าเรือแหลมฉบัง

สิ้นปีไฮสปีดไปเชียงใหม่เสร็จ

นายอาคมกล่าวว่า ส่วนรถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ สิ้นปีผลศึกษาจะแล้วเสร็จ ขณะนี้อยู่ระหว่างพิจารณาความเหมาะสมการก่อสร้าง เพราะทับซ้อนกับเส้นทางรถไฟไทย-จีนจากสถานีบ้านภาชี-สถานีบางซื่อ จะต้องมีการหารือแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหา เช่น จีน-ญี่ปุ่นใช้รางร่วมกัน ใช้รางร่วมกับแอร์พอร์ตลิงก์ สร้างแยกกันคนละรางหรือตัดช่วงแอร์พอร์ตลิงก์สร้างจากพญาไท-บางซื่อ เพราะช่วงรังสิต-บางซื่อมีโครงการก่อสร้างถึง 4 ราง

ส่วนรถไฟเส้นทางแม่สอด-มุกดาหาร "อาคม" ระบุว่า ญี่ปุ่นยังไม่ได้เริ่มศึกษา เพราะรัฐบาลต้องการให้เดินหน้าเส้นทางกาญจนบุรี-กรุงเทพฯ-แหลมฉบัง-อรัญประเทศก่อนเป็นลำดับแรก เพื่อรองรับกับเศรษฐกิจด้านใต้ของประเทศไทยที่มีนิคมอุตสาหกรรมอยู่มาก อีกทั้งรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายที่ทั้งไทย-เมียนมา-ญี่ปุ่นร่วมกันพัฒนา












เซ็นมอเตอร์เวย์สายแรก5ตอน



นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยว่า วันที่ 8 ก.พ.ที่ผ่านมา กรมทางหลวง (ทล.) เซ็นสัญญาก่อสร้างมอเตอร์เวย์สายพัทยา-มาบตาพุด 32 กม. จำนวน 5 สัญญา วงเงิน 3,764 ล้านบาท จากทั้งหมด 13 สัญญา ค่าก่อสร้าง 14,200 ล้านบาท คาดว่าทำให้เงินหมุนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจได้ทันทีหลังเบิกจ่าย 15% อีก 8 สัญญาจะทยอยเซ็นให้เสร็จไตรมาสที่ 1

สำหรับ 5 สัญญา ได้แก่ สัญญาที่ 1 ระยะทาง 3.2 กม. ค่าก่อสร้าง 743 ล้านบาท โดย บจ.ชัยนันท์ค้าวัสดุก่อสร้าง 2524 สัญญาที่ 4 ระยะทาง 3.05 กม. ค่าก่อสร้าง 622 ล้านบาท โดย หจก.แพร่วิศวกรรม สัญญาที่ 6 ค่าก่อสร้าง 894 ล้านบาท โดย บจ.เอส.เค.วาย.คอนสตรัคชั่น วิศวกรรม สัญญาที่ 8 ระยะทาง 2.1 กม. ค่าก่อสร้าง 704 ล้านบาท โดย บจ.วนิชชัยก่อสร้าง 1979 และสัญญาที่ 9 ระยะทาง 2.875 กม. ค่าก่อสร้าง 801 ล้านบาท โดย บจ.วิจิตรภัณฑ์ก่อสร้าง

อีก 8 สัญญาได้แก่ สัญญาที่ 2 งานสะพาน 1.4 กม. ค่าก่อสร้าง 827 ล้านบาท โดย บมจ.เนาวรัตน์พัฒนาการ สัญญาที่ 3 งานสะพาน 3.95 กม. ค่าก่อสร้าง 699 ล้านบาท โดย บจ.ทิพากร สัญญาที่ 5 ระยะทาง 2.25 กม. ค่าก่อสร้าง 785 ล้านบาท โดย บมจ.ช.การช่าง สัญญา 7 งานก่อสร้าง ระยะทาง 3.25 กม. ค่าก่อสร้าง 710 ล้านบาท โดย บจ.สี่แสงการโยธา สัญญา 12 ระยะทาง 3.15 กม. ค่าก่อสร้าง 717 ล้านบาท โดย หจก.นภาก่อสร้าง สัญญาที่ 13 ระยะทาง 3.75 กม. ค่าก่อสร้าง 649 ล้านบาท โดย หจก.นภาก่อสร้าง ส่วนสัญญาที่ 10-11 อยู่ระหว่างต่อรองราคา

"จะใช้เงินจากกองทุนค่าธรรมเนียมมาก่อสร้าง หลังเซ็นสัญญาแล้ว คาดว่าเริ่มสร้างปลายเดือน ก.พ.-มี.ค.นี้ เสร็จปี"62

สำหรับมอเตอร์เวย์อีก 2 เส้นทาง คือ บางปะอิน-โคราช 196 กม. เงินลงทุน 84,600 ล้านบาท อยู่ระหว่างประมูลและมีบางส่วนต้องทำการตกลงกับพื้นที่จะเวนคืน คาดว่าปีนี้จะเปิดประมูลได้ 20 สัญญาจากทั้งหมด 40 สัญญา ส่วนบางใหญ่-กาญจนบุรี 96 กม. เงินลงทุน 55,620 ล้านบาท อยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลผลการศึกษาสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) จะแล้วเสร็จกลางปีนี้ จากนั้นเริ่มประกวดราคาได้ คาดว่าปีนี้จะเปิดประมูลได้กว่า 10 สัญญา จากทั้งหมด 25 สัญญา

"เงินทุนก่อสร้างทั้ง 2 สายนี้ ตามมติคณะรัฐมนตรีเดิมให้ใช้เงินกู้ แต่สำนักงบประมาณอยากให้ประหยัดค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ จึงจัดสรรงบประมาณรายปีให้ เป็นงบปี"59-60 เตรียมเสนอ ครม.ขอเปลี่ยนแปลงแหล่งเงินในเร็ว ๆ นี้"  


ติดตามข่าวสารผ่านแฟนเพจเฟซบุ๊ค ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
www.facebook.com/PrachachatOnline
ทวิตเตอร์ @prachachat
เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 8962
ที่อยู่: อยู่ในใจเสมอ
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 5:59 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
"จะสร้างทำไม ทำถนนลูกรังให้มันดีก่อนเหอะ"
0
0







เข้าร่วม: 25 Apr 2015
ตอบ: 6302
ที่อยู่: https://wd.thaibuffer.com/o/photo/773/kapook_world-769765.gif
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:03 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ตอน 2 ล้านๆ ได้ ลดไฟความเร็วสูง 4 สาย ไม่เอา
ตอนนี้ ได้แค่ สปีดเทรน สายเดียว 3 ล้านๆ เงียบกริ๊บ
0
0

เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:06 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
roninyasuo พิมพ์ว่า:
ตอน 2 ล้านๆ ได้ ลดไฟความเร็วสูง 4 สาย ไม่เอา
ตอนนี้ ได้แค่ สปีดเทรน สายเดียว 3 ล้านๆ เงียบกริ๊บ  



อย่าเพิ่งการเมือง


อ่านยังอะ
เข้าร่วม: 25 Apr 2015
ตอบ: 6302
ที่อยู่: https://wd.thaibuffer.com/o/photo/773/kapook_world-769765.gif
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:14 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
ตอน 2 ล้านๆ ได้ ลดไฟความเร็วสูง 4 สาย ไม่เอา
ตอนนี้ ได้แค่ สปีดเทรน สายเดียว 3 ล้านๆ เงียบกริ๊บ  



อย่าเพิ่งการเมือง


อ่านยังอะ  

อ่านแล้ว และคิดว่า วาด ฝัน เพราะที่ผ่านมา พุดไรก้ไม่ได้ตรงตามที่บอก แบบนี้มาหลายรอบแล้ว ครั่งนี้ก้เช่นกันเดี๋ยวก้เลื่อนอีก
ปล นี้ไม่ใช่ครั่งแรก ที่ ออกมา ปล่อยฝันให้ดู แต่ ให้ ดูมาเกือบ 2 ปีแล้ว สุดท้าย แม้แต่ลง นามก็ไม่มี
0
0

เข้าร่วม: 06 Aug 2009
ตอบ: 12565
ที่อยู่: 193
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:20 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
roninyasuo พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
ตอน 2 ล้านๆ ได้ ลดไฟความเร็วสูง 4 สาย ไม่เอา
ตอนนี้ ได้แค่ สปีดเทรน สายเดียว 3 ล้านๆ เงียบกริ๊บ  



อย่าเพิ่งการเมือง


อ่านยังอะ  

อ่านแล้ว และคิดว่า วาด ฝัน เพราะที่ผ่านมา พุดไรก้ไม่ได้ตรงตามที่บอก แบบนี้มาหลายรอบแล้ว ครั่งนี้ก้เช่นกันเดี๋ยวก้เลื่อนอีก
ปล นี้ไม่ใช่ครั่งแรก ที่ ออกมา ปล่อยฝันให้ดู แต่ ให้ ดูมาเกือบ 2 ปีแล้ว สุดท้าย แม้แต่ลง นามก็ไม่มี  


ก็ถูกแล้วไม่ใช่หรอฮะ เสียเปรียบก็ไม่ลง

ข้อเสนอจีนกดไทยมากๆ ก็ไม่เซ็นก็ถูกแล้วนี่ครับ....ส่วนไอนโยบายเก่า(ที่ดี)ที่ตอนนี้มันแพงขึ้น และไม่ได้เท่าเดิม ต้องทำไงอะฮะ ก็มันผ่านไปแล้ว และ ไม่ได้แล้ว รมต.คนเดิมก็ไม่ใช่แล้ว (ป่านนี้ รมต.ที่แกร่งสุดๆคนนั้นคงยิ้มอย่างสบายอารมณ์ และ ไม่เครียดเหมือนก่อนแล้ว)

ก็พอกันทั้ง2 หรือ 3 ฝั่งนั้นแหละ โต้เถียงกันไปมา สุดท้ายประเทศไม่ได้อะไร
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:21 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
roninyasuo พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
ตอน 2 ล้านๆ ได้ ลดไฟความเร็วสูง 4 สาย ไม่เอา
ตอนนี้ ได้แค่ สปีดเทรน สายเดียว 3 ล้านๆ เงียบกริ๊บ  



อย่าเพิ่งการเมือง


อ่านยังอะ  

อ่านแล้ว และคิดว่า วาด ฝัน เพราะที่ผ่านมา พุดไรก้ไม่ได้ตรงตามที่บอก แบบนี้มาหลายรอบแล้ว ครั่งนี้ก้เช่นกันเดี๋ยวก้เลื่อนอีก  



ก่อนท่านจะคิดว่าวาดฝัน
ท่านลดอคติลงก่อน ผมมาเรื่องคมนาคม
ในเนื้อหาก็มีอธิบายอยู่

ผมขออธิบายเพิ่มเติม

ผมไม่รู้ว่าท่านไปได้ วาทะทางการเมืองมาจากที่ไหน
รถไฟมี 4 สายเหมือนเดิม


กลับมาที่เนื้อหาครับ
สายที่ท่านคิดว่าเป็นปัญหานั้น นครราชสีมา-หนองคาย

เนื่องมาจากมีการปรับเปลี่ยนความต้องการเป็นขนสินค้า จึงต้องทำเป็น เร็วปานกลาง และสถานีเพิ่ม จึงเป็นงบประมาณครั้งก่อน แต่ในข่าวบอกว่าถ้าเป็นขนส่งคน ก็ทำความเร็วสูงสุดได้ และมีการศึกษาไว้ก่อนแล้ว


หมายความว่าเส้นทางนั้นเกิดขึ้นโดย 2 จุดประสงค์



มันเป็นเรื่องทำความเข้าใจกับโครงการครับ เป็นข่าวความคืบหน้า
เข้าร่วม: 25 Apr 2015
ตอบ: 6302
ที่อยู่: https://wd.thaibuffer.com/o/photo/773/kapook_world-769765.gif
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:25 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
ตอน 2 ล้านๆ ได้ ลดไฟความเร็วสูง 4 สาย ไม่เอา
ตอนนี้ ได้แค่ สปีดเทรน สายเดียว 3 ล้านๆ เงียบกริ๊บ  



อย่าเพิ่งการเมือง


อ่านยังอะ  

อ่านแล้ว และคิดว่า วาด ฝัน เพราะที่ผ่านมา พุดไรก้ไม่ได้ตรงตามที่บอก แบบนี้มาหลายรอบแล้ว ครั่งนี้ก้เช่นกันเดี๋ยวก้เลื่อนอีก  



ก่อนท่านจะคิดว่าวาดฝัน
ท่านลดอคติลงก่อน ผมมาเรื่องคมนาคม
ในเนื้อหาก็มีอธิบายอยู่

ผมขออธิบายเพิ่มเติม

ผมไม่รู้ว่าท่านไปได้ วาทะทางการเมืองมาจากที่ไหน
รถไฟมี 4 สายเหมือนเดิม


กลับมาที่เนื้อหาครับ
สายที่ท่านคิดว่าเป็นปัญหานั้น นครราชสีมา-หนองคาย

เนื่องมาจากมีการปรับเปลี่ยนความต้องการเป็นขนสินค้า จึงต้องทำเป็น เร็วปานกลาง และสถานีเพิ่ม จึงเป็นงบประมาณครั้งก่อน แต่ในข่าวบอกว่าถ้าเป็นขนส่งคน ก็ทำความเร็วสูงสุดได้ และมีการศึกษาไว้ก่อนแล้ว


หมายความว่าเส้นทางนั้นเกิดขึ้นโดย 2 จุดประสงค์



มันเป็นเรื่องทำความเข้าใจกับโครงการครับ เป็นข่าวความคืบหน้า  


เอาเป็นว่า ไว้ มีการ ลงนามเซ็นสัญญาอย่างเป็นทางการ ว่าสร้างจริง ไม่ใช่แค่โครงการ แล้วเลื่อน ไปเรื่อยๆ บอกศึกษาต่อไปอีกนิด ค่อยเอามาลงอีกทีละกันครับ ตลอด 2 ปี ฟังอ่าน เห็นแบบนี้มาเยอะแล้ว สุดท้าย ก็ไม่ทำอะไรซักที่ และคิดว่าครั่งนี้ก้ไม่ต่างเช่นกัน ออกมา แบบ นี้ จนปลายปี จะได้เซ็นเปล่า หรือเซ็น ในรูปแบบ ที่ให้ดูจริงเปล่าก้ไม่รู้
เอาเป็นอยากทำไรรีบๆทำ เวลามีมูลค่า
0
0

เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:28 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
roninyasuo พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
ตอน 2 ล้านๆ ได้ ลดไฟความเร็วสูง 4 สาย ไม่เอา
ตอนนี้ ได้แค่ สปีดเทรน สายเดียว 3 ล้านๆ เงียบกริ๊บ  



อย่าเพิ่งการเมือง


อ่านยังอะ  

อ่านแล้ว และคิดว่า วาด ฝัน เพราะที่ผ่านมา พุดไรก้ไม่ได้ตรงตามที่บอก แบบนี้มาหลายรอบแล้ว ครั่งนี้ก้เช่นกันเดี๋ยวก้เลื่อนอีก  



ก่อนท่านจะคิดว่าวาดฝัน
ท่านลดอคติลงก่อน ผมมาเรื่องคมนาคม
ในเนื้อหาก็มีอธิบายอยู่

ผมขออธิบายเพิ่มเติม

ผมไม่รู้ว่าท่านไปได้ วาทะทางการเมืองมาจากที่ไหน
รถไฟมี 4 สายเหมือนเดิม


กลับมาที่เนื้อหาครับ
สายที่ท่านคิดว่าเป็นปัญหานั้น นครราชสีมา-หนองคาย

เนื่องมาจากมีการปรับเปลี่ยนความต้องการเป็นขนสินค้า จึงต้องทำเป็น เร็วปานกลาง และสถานีเพิ่ม จึงเป็นงบประมาณครั้งก่อน แต่ในข่าวบอกว่าถ้าเป็นขนส่งคน ก็ทำความเร็วสูงสุดได้ และมีการศึกษาไว้ก่อนแล้ว


หมายความว่าเส้นทางนั้นเกิดขึ้นโดย 2 จุดประสงค์



มันเป็นเรื่องทำความเข้าใจกับโครงการครับ เป็นข่าวความคืบหน้า  


เอาเป็นว่า ไว้ มีการ ลงนามเซ็นสัญญาอย่างเป็นทางการ ว่าสร้างจริง ไม่ใช่แค่โครงการ แล้วเลื่อน ไปเรื่อยๆ บอกศึกษาต่อไปอีกนิด ค่อยเอามาลงอีกทีละกันครับ ตลอด 2 ปี ฟังอ่าน เห็นแบบนี้มาเยอะแล้ว สุดท้าย ก็ไม่ทำอะไรซักที่ และคิดว่าครั่งนี้ก้ไม่ต่างเช่นกัน ออกมา แบบ นี้ จนปลายปี จะได้เซ็นเปล่า หรือเซ็น ในรูปแบบ ที่ให้ดูจริงเปล่าก้ไม่รู้
เอาเป็นอยากทำไรรีบๆทำ เวลามีมูลค่า  



ผมก็ตั้งกระทู้ว่าความคืบหน้านิครับ โครงการยังไม่สรุป
ขนาดโครงการยังไม่สรุปท่านยังมีวาทะกรรมได้เลย

ปกติผมก็ลงข่าว เศรษฐกิจ และ คมนาคมอยู่แล้ว
0
0
เข้าร่วม: 25 Apr 2015
ตอบ: 6302
ที่อยู่: https://wd.thaibuffer.com/o/photo/773/kapook_world-769765.gif
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:34 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
roninyasuo พิมพ์ว่า:
ตอน 2 ล้านๆ ได้ ลดไฟความเร็วสูง 4 สาย ไม่เอา
ตอนนี้ ได้แค่ สปีดเทรน สายเดียว 3 ล้านๆ เงียบกริ๊บ  



อย่าเพิ่งการเมือง


อ่านยังอะ  

อ่านแล้ว และคิดว่า วาด ฝัน เพราะที่ผ่านมา พุดไรก้ไม่ได้ตรงตามที่บอก แบบนี้มาหลายรอบแล้ว ครั่งนี้ก้เช่นกันเดี๋ยวก้เลื่อนอีก  



ก่อนท่านจะคิดว่าวาดฝัน
ท่านลดอคติลงก่อน ผมมาเรื่องคมนาคม
ในเนื้อหาก็มีอธิบายอยู่

ผมขออธิบายเพิ่มเติม

ผมไม่รู้ว่าท่านไปได้ วาทะทางการเมืองมาจากที่ไหน
รถไฟมี 4 สายเหมือนเดิม


กลับมาที่เนื้อหาครับ
สายที่ท่านคิดว่าเป็นปัญหานั้น นครราชสีมา-หนองคาย

เนื่องมาจากมีการปรับเปลี่ยนความต้องการเป็นขนสินค้า จึงต้องทำเป็น เร็วปานกลาง และสถานีเพิ่ม จึงเป็นงบประมาณครั้งก่อน แต่ในข่าวบอกว่าถ้าเป็นขนส่งคน ก็ทำความเร็วสูงสุดได้ และมีการศึกษาไว้ก่อนแล้ว


หมายความว่าเส้นทางนั้นเกิดขึ้นโดย 2 จุดประสงค์



มันเป็นเรื่องทำความเข้าใจกับโครงการครับ เป็นข่าวความคืบหน้า  


เอาเป็นว่า ไว้ มีการ ลงนามเซ็นสัญญาอย่างเป็นทางการ ว่าสร้างจริง ไม่ใช่แค่โครงการ แล้วเลื่อน ไปเรื่อยๆ บอกศึกษาต่อไปอีกนิด ค่อยเอามาลงอีกทีละกันครับ ตลอด 2 ปี ฟังอ่าน เห็นแบบนี้มาเยอะแล้ว สุดท้าย ก็ไม่ทำอะไรซักที่ และคิดว่าครั่งนี้ก้ไม่ต่างเช่นกัน ออกมา แบบ นี้ จนปลายปี จะได้เซ็นเปล่า หรือเซ็น ในรูปแบบ ที่ให้ดูจริงเปล่าก้ไม่รู้
เอาเป็นอยากทำไรรีบๆทำ เวลามีมูลค่า  



ผมก็ตั้งกระทู้ว่าความคืบหน้านิครับ โครงการยังไม่สรุป
ขนาดโครงการยังไม่สรุปท่านยังมีวาทะกรรมได้เลย

ปกติผมก็ลงข่าว เศรษฐกิจ และ คมนาคมอยู่แล้ว  

โอเค สรุปตามนี้ ครับ คาดว่า นี้ต้นปี ปลายปีที่ผมคาด ว่า ก็ยังคงไม่มีการเซ็นหรือสร้างอะไรทั้งนั้น จะมี แต่ข่าวคืบหน้าอีกไม่รุ้กี่ ข่าวแต่ไม่มีการสร้าง ผมไว้รอตื่นเต้นตอน สร้างทีเดียวเลยละกัน ขออภัย
ปล 2ปีมาแล้ว มีแต่คข่าวความคืบหน้า อย่างเดียวเลยเฮ้อ จนไม่มีไรจะตื่นเต้นแล้ว เมื่อไหร่ข่าวลงนามการสร้างจะมีบ้างซักที จะได้ตื่นเต้นจริงๆซักที
0
0

เข้าร่วม: 26 Apr 2009
ตอบ: 2091
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:40 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
รถไฟฟ้ายังไม่เซ็นเพราะต่างชาติเข้ามาดูงานเยอะ เค้าศึกษาเส้นทางเป็นร้อยๆกิโล
โปรเจคเป็นแสนล้าน ก็ให้เวลาเค้านิดนึง
แต่มอเตอร์เวย์เซ็นไปแล้ว 5 ฉบับครับ ลงมือสร้างแล้วแน่นอน อยู่ที่ย่อหน้าสุดท้าย
ถ้าอ่านกันอะนะ
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 6:51 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:08 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  



ก่อนอื่นต้องขอโทษว่าผมไม่สามารถเปิดเอกสารอ้างอิงของท่านได้นะครับเพราะไฟล์ใหญ่เกินไปผมเล่นบนโทรศัพท์



จากตัวเลขข้างบนใช้คำว่า

*1 ค่าก่อสร้าง
*2 เงินลงทุน

โดยผมเข้าใจว่า ถ้าอิงจากของเก่าก่อนหน้ารัฐบาล คสช. คือมูลค่าประมาณ 4.4 แสนล้านบาท

โดยตัวเลข *1 ผมมองว่าเป็นการสร้างโครงสร้างงานรถไฟฟ้า ในส่วนงานก่อสร้าง
และตัวเลข *2 คาดการว่าเป็นเงินทุนของโครงการทั้งหมดในเส้นทางนี้


เมื่อพิจารณาจากตัวเลข ดังกล่าวที่นำมาเปรียบเทียบกันเกรงว่าจะเป็นตัวเลขคนละงบ
เพราถ้าตัวเลข *1 เป็นงบลงทุนนั้นคือต่ำกว่าการประเมินของรัฐบาลชุดก่อนมาก มากจนน่าแปลกใจ

ปล.แก้ไขคำตก
ปล.2 ยังไม่ได้อ่านเอกสารอ้างอิง
0
0
เข้าร่วม: 26 Apr 2009
ตอบ: 2091
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:08 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


ผมอ่านแล้วตีความได้ไม่เท่าคุณนะครับ
ของใหม่คุณลบค่าเวรคืนที่ดิน 8,000 ล้านกับ 5,000 ล้านไปแล้วหรือยังอะครับ
เพราะอันแรกเค้าเขียนไว้ชัดเจนว่า "ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท" ไม่ได้มีค่าเวรคืนนะครับ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:10 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


ผมอ่านแล้วตีความได้ไม่เท่าคุณนะครับ
ของใหม่คุณลบค่าเวรคืนที่ดิน 8,000 ล้านกับ 5,000 ล้านไปแล้วหรือยังอะครับ
เพราะอันแรกเค้าเขียนไว้ชัดเจนว่า "ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท" ไม่ได้มีค่าเวรคืนนะครับ  


ทำไมไม่ลองคำนวนเอง แล้วค่อยแย้งล่ะครับ เลขไม่เกิน ป.3 หรอกครับ
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:12 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  



ก่อนอื่นต้องขอโทษว่าผมไม่สามารถเปิดเอกสารอ้างอิงของท่านได้นะครับเพราะไฟล์ใหญ่เกินไปผมเล่นบนโทรศัพท์



จากตัวเลขข้างบนใช้คำว่า

*1 ค่าก่อสร้าง
*2 เงินลงทุน

โดยผมเข้าใจว่า ถ้าอิงจากของเก่าก่อนหน้ารัฐบาล คสช. คือมูลค่าประมาณ 4.4 แสน

โดยตัวเลข *1 ผมมองว่าเป็นการสร้างโครงสร้างงานรถไฟฟ้า ในส่วนงานก่อสร้าง

และตัวเลข *2 คาดการว่าเป็นเงินทุนของโครงการทั้งหมดในเส้นทางนี้


เมื่อพิจารณาจากตัวเลข ดังกล่าวที่นำมาเปรียบเทียบกันเกรงว่าจะเป็นตัวเลขคนละงบ  


เงินลงทุน คืออะไรบ้างครับที่ไม่ใช่ค่าก่อสร้าง

ผมคิดออก ก็มีแต่ส่วนต่าง
0
0
เข้าร่วม: 26 Apr 2009
ตอบ: 2091
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:18 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


ผมอ่านแล้วตีความได้ไม่เท่าคุณนะครับ
ของใหม่คุณลบค่าเวรคืนที่ดิน 8,000 ล้านกับ 5,000 ล้านไปแล้วหรือยังอะครับ
เพราะอันแรกเค้าเขียนไว้ชัดเจนว่า "ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท" ไม่ได้มีค่าเวรคืนนะครับ  


ทำไมไม่ลองคำนวนเอง แล้วค่อยแย้งล่ะครับ เลขไม่เกิน ป.3 หรอกครับ  


ผมคำนวณก่อนจะแย้งคุณแล้วละครับ แค่อยากให้คุณลองกลับไปอ่านตัวหนังสือแค่ไม่ถึง 10บรรทัดอีกที ไม่น่าเกินความสามารถเด็ก ป.3 เหมือนกันครับ
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:18 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  



ก่อนอื่นต้องขอโทษว่าผมไม่สามารถเปิดเอกสารอ้างอิงของท่านได้นะครับเพราะไฟล์ใหญ่เกินไปผมเล่นบนโทรศัพท์



จากตัวเลขข้างบนใช้คำว่า

*1 ค่าก่อสร้าง
*2 เงินลงทุน

โดยผมเข้าใจว่า ถ้าอิงจากของเก่าก่อนหน้ารัฐบาล คสช. คือมูลค่าประมาณ 4.4 แสน

โดยตัวเลข *1 ผมมองว่าเป็นการสร้างโครงสร้างงานรถไฟฟ้า ในส่วนงานก่อสร้าง

และตัวเลข *2 คาดการว่าเป็นเงินทุนของโครงการทั้งหมดในเส้นทางนี้


เมื่อพิจารณาจากตัวเลข ดังกล่าวที่นำมาเปรียบเทียบกันเกรงว่าจะเป็นตัวเลขคนละงบ  


เงินลงทุน คืออะไรบ้างครับที่ไม่ใช่ค่าก่อสร้าง

ผมคิดออก ก็มีแต่ส่วนต่าง  


พอดีผมมีการแก้ไขเนื้อหาตอนท่าน quote มาพอดี

ย้อนกลับไปที่ รัฐบาล ก่อนหน้านี้ประเมินเส้นทางไว้ที่ 4.4แสนล้านบาท
โดยตัวเลข *1 ถ้าเป็นงบประมาณการลงทุนทั้งหมด เกรงว่าจะต่ำเกินไป
มาที่ตัวเลข *2 ซึ่งรวมเงินลงทุน 2 ระยะ มีมูลค่าใกล้เคียงจากของเดิม อยู่ที่ประมาณ 4.3แสนล้านบาท

ต่อมาเรื่องงานรถไฟฟ้า

หลักๆมีปรับสภาพหน้าดิน
งานรางรถไฟ
งานไฟฟ้า
งานตัวรถไฟ
งานสถานนีและการตกแต่ง

ซึ่งผมไม่สามารถบอกได้ว่างานก่อสร้างตรงนี้คือส่วนใด


ปล.แก้ไขคำว่าปรุงปรับเส้นทางเป็น ปรับสภาพหน้าดิน
0
0
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 6177
ที่อยู่: ฉันมาทำอิหยังที่ม่องนี้
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:19 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
บวกดอกเบี้ยเงินกู้ของญี่ปุ่นด้วยมั้ง
0
0


Spoil
 
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:20 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


ผมอ่านแล้วตีความได้ไม่เท่าคุณนะครับ
ของใหม่คุณลบค่าเวรคืนที่ดิน 8,000 ล้านกับ 5,000 ล้านไปแล้วหรือยังอะครับ
เพราะอันแรกเค้าเขียนไว้ชัดเจนว่า "ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท" ไม่ได้มีค่าเวรคืนนะครับ  


ทำไมไม่ลองคำนวนเอง แล้วค่อยแย้งล่ะครับ เลขไม่เกิน ป.3 หรอกครับ  


ผมคำนวณก่อนจะแย้งคุณแล้วละครับ แค่อยากให้คุณลองกลับไปอ่านตัวหนังสือแค่ไม่ถึง 10บรรทัดอีกที ไม่น่าเกินความสามารถเด็ก ป.3 เหมือนกันครับ  

.
แล้วคำนวนแล้วได้เท่าไหร่/กม. ครับ ก็เขียนมาสิครับถ้ามันไม่ถูก

ถ้าไม่เขียนผมว่าคุณคำนวนไม่เป็นนะ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:22 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  



ก่อนอื่นต้องขอโทษว่าผมไม่สามารถเปิดเอกสารอ้างอิงของท่านได้นะครับเพราะไฟล์ใหญ่เกินไปผมเล่นบนโทรศัพท์



จากตัวเลขข้างบนใช้คำว่า

*1 ค่าก่อสร้าง
*2 เงินลงทุน

โดยผมเข้าใจว่า ถ้าอิงจากของเก่าก่อนหน้ารัฐบาล คสช. คือมูลค่าประมาณ 4.4 แสน

โดยตัวเลข *1 ผมมองว่าเป็นการสร้างโครงสร้างงานรถไฟฟ้า ในส่วนงานก่อสร้าง

และตัวเลข *2 คาดการว่าเป็นเงินทุนของโครงการทั้งหมดในเส้นทางนี้


เมื่อพิจารณาจากตัวเลข ดังกล่าวที่นำมาเปรียบเทียบกันเกรงว่าจะเป็นตัวเลขคนละงบ  


เงินลงทุน คืออะไรบ้างครับที่ไม่ใช่ค่าก่อสร้าง

ผมคิดออก ก็มีแต่ส่วนต่าง  


พอดีผมมีการแก้ไขเนื้อหาตอนท่าน quote มาพอดี

ย้อนกลับไปที่ รัฐบาล ก่อนหน้านี้ประเมินเส้นทางไว้ที่ 4.4แสนล้านบาท
โดยตัวเลข *1 ถ้าเป็นงบประมาณการลงทุนทั้งหมด เกรงว่าจะต่ำเกินไป
มาที่ตัวเลข *2 ซึ่งรวมเงินลงทุน 2 ระยะ มีมูลค่าใกล้เคียงจากของเดิม อยู่ที่ประมาณ 4.3แสนล้านบาท

ต่อมาเรื่องงานรถไฟฟ้า

หลักๆมีปรับปรุงเส้นทาง
งานรางรถไฟ
งานไฟฟ้า
งานตัวรถไฟ
งานสถานนีและการตกแต่ง

ซึ่งผมไม่สามารถบอกได้ว่างานก่อสร้างตรงนี้คือส่วนใด  


แล้วเยอรมัน มันไม่ต้องทำที่ว่ามาหรอครับ มันถึงถูกกว่ามาก รางเดี่ยวยงแพง


เอาพูดตรงๆเลย ถ้าจะเถียงช่วยคสช. กันน่ะ เถียงให้มันได้มีน้ำหน่อยเถอะ อย่าข้างๆคูๆแบบนี้เลย
1
0
เข้าร่วม: 05 Dec 2015
ตอบ: 704
ที่อยู่: The Theatre of Dreams
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:26 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
เหมือนบางท่านจะมีส่วนได้ส่วนเสียกับโครงการนี้ . . .
0
0


เข้าร่วม: 08 Mar 2010
ตอบ: 1364
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:28 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
แน่นอนว่าคงไม่พ้น จีนหรือญี่ปุ่น แน่นอน
แต่ถ้าเป็นจีน(เท่าที่อ่านผ่านๆ)โคตรจะเสียเปรียบ แต่กระแสต่อต้านน้อย(เรียกว่าไม่มีน่าจะง่ายกว่าหรือไม่กล้าก็ไม่รู้ซินะ)

ผมยังยืนยันเหมือนเดิมว่าไม่อยากได้แบบความเร็วสูง แต่อยากได้รางคู่มากกว่า(ห่วงเรื่องความปลอดภัยอย่างน้อยวิ่งสวนกันจะได้ไม่ชนกัน อิอิ)

และโครงการที่ทำกันอยู่นี่มันของชุดเก่าล้วนๆเลย ของเดิมเป็นแพ็กเกจ ของใหม่แยกเป็นแต่ละโครงการ มีใครกล้าเถียงหรือป่าว แต่ก็ไม่มีคนออกมาต่อต้าน

โครงการมันดี แต่อยู่ที่ว่าใครทำ เพราะทำแล้วเป็นผลงานนนนนนนนนนนนน ได้หน้าได้ตา (ผมเคยพูดไปแล้ว)

รบกวนวาง อคติ ลงก่อนนะครับ
ลองเปิดใจลด อคติ หูมีสองข้างก็ฟังทั้งสองข้าง

อย่าเสพข้อมูลด้านเดียว
0
0
แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด - Manchester united
แบงค็อก ยูไนเต็ด - Bangkok united



ig แจ่มๆ http://hisocietist.com/instagram
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:29 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  



ก่อนอื่นต้องขอโทษว่าผมไม่สามารถเปิดเอกสารอ้างอิงของท่านได้นะครับเพราะไฟล์ใหญ่เกินไปผมเล่นบนโทรศัพท์



จากตัวเลขข้างบนใช้คำว่า

*1 ค่าก่อสร้าง
*2 เงินลงทุน

โดยผมเข้าใจว่า ถ้าอิงจากของเก่าก่อนหน้ารัฐบาล คสช. คือมูลค่าประมาณ 4.4 แสน

โดยตัวเลข *1 ผมมองว่าเป็นการสร้างโครงสร้างงานรถไฟฟ้า ในส่วนงานก่อสร้าง

และตัวเลข *2 คาดการว่าเป็นเงินทุนของโครงการทั้งหมดในเส้นทางนี้


เมื่อพิจารณาจากตัวเลข ดังกล่าวที่นำมาเปรียบเทียบกันเกรงว่าจะเป็นตัวเลขคนละงบ  


เงินลงทุน คืออะไรบ้างครับที่ไม่ใช่ค่าก่อสร้าง

ผมคิดออก ก็มีแต่ส่วนต่าง  


พอดีผมมีการแก้ไขเนื้อหาตอนท่าน quote มาพอดี

ย้อนกลับไปที่ รัฐบาล ก่อนหน้านี้ประเมินเส้นทางไว้ที่ 4.4แสนล้านบาท
โดยตัวเลข *1 ถ้าเป็นงบประมาณการลงทุนทั้งหมด เกรงว่าจะต่ำเกินไป
มาที่ตัวเลข *2 ซึ่งรวมเงินลงทุน 2 ระยะ มีมูลค่าใกล้เคียงจากของเดิม อยู่ที่ประมาณ 4.3แสนล้านบาท

ต่อมาเรื่องงานรถไฟฟ้า

หลักๆมีปรับปรุงเส้นทาง
งานรางรถไฟ
งานไฟฟ้า
งานตัวรถไฟ
งานสถานนีและการตกแต่ง

ซึ่งผมไม่สามารถบอกได้ว่างานก่อสร้างตรงนี้คือส่วนใด  


แล้วเยอรมัน มันไม่ต้องทำที่ว่ามาหรอครับ มันถึงถูกกว่ามาก


เอาพูดตรงๆเลย ถ้าจะเถียงช่วยคสช. กันน่ะ เถียงให้มันได้มีน้ำหน่อยเถอะ อย่าข้างๆคูๆแบบนี้เลย  


ออกตัวก่อนว่าผมไม่ค่อยชอบด่ารัฐบาลไหนทั้งนั้น เลยไม่กล้าออกตัวว่าเถียงแทนใคร
และไม่ได้อ่าน เอกสารการดำเนินงานของเยอรมัน


1 ผมข้างคูสิ่งใด เพราะผมช่วยประเมินตัวเลขให้ และแจงงานโครงการออกมา
2 ผมได้แสดงตัวเลขเปรียบเทียบให้ ทั้งสองรัฐบาลที่คิดดำเนินโครงการ

กลับมาที่เนื้อหา
3 ไทยไม่มี know how รถไฟฟ้าความเร็วสูง ก่อนที่จีนจะสร้างได้ก็ให้เยอรมันมาสร้างห้แพงเหมือนกันครับ
4 มูลค่างานก่อสร้างในปัจจุบัน ผมยังไม่ได้อ่านโครงการจากทางเยอะรมันนะครับ ว่าสร้างเมื่อปีไหน รางอะไร และระบบความเร็วแบบไหน


ปล. เข้าใจว่าท่านต่อต้านเผด็จการอยู่แล้วจาก AVATAR
0
0
เข้าร่วม: 26 Apr 2009
ตอบ: 2091
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:30 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


ผมอ่านแล้วตีความได้ไม่เท่าคุณนะครับ
ของใหม่คุณลบค่าเวรคืนที่ดิน 8,000 ล้านกับ 5,000 ล้านไปแล้วหรือยังอะครับ
เพราะอันแรกเค้าเขียนไว้ชัดเจนว่า "ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท" ไม่ได้มีค่าเวรคืนนะครับ  


ทำไมไม่ลองคำนวนเอง แล้วค่อยแย้งล่ะครับ เลขไม่เกิน ป.3 หรอกครับ  


ผมคำนวณก่อนจะแย้งคุณแล้วละครับ แค่อยากให้คุณลองกลับไปอ่านตัวหนังสือแค่ไม่ถึง 10บรรทัดอีกที ไม่น่าเกินความสามารถเด็ก ป.3 เหมือนกันครับ  

.
แล้วคำนวนแล้วได้เท่าไหร่/กม. ครับ ก็เขียนมาสิครับถ้ามันไม่ถูก

ถ้าไม่เขียนผมว่าคุณคำนวนไม่เป็นนะ  


ครับพ่อคนเก่งครับ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:31 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


ผมอ่านแล้วตีความได้ไม่เท่าคุณนะครับ
ของใหม่คุณลบค่าเวรคืนที่ดิน 8,000 ล้านกับ 5,000 ล้านไปแล้วหรือยังอะครับ
เพราะอันแรกเค้าเขียนไว้ชัดเจนว่า "ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท" ไม่ได้มีค่าเวรคืนนะครับ  


ทำไมไม่ลองคำนวนเอง แล้วค่อยแย้งล่ะครับ เลขไม่เกิน ป.3 หรอกครับ  


ผมคำนวณก่อนจะแย้งคุณแล้วละครับ แค่อยากให้คุณลองกลับไปอ่านตัวหนังสือแค่ไม่ถึง 10บรรทัดอีกที ไม่น่าเกินความสามารถเด็ก ป.3 เหมือนกันครับ  

.
แล้วคำนวนแล้วได้เท่าไหร่/กม. ครับ ก็เขียนมาสิครับถ้ามันไม่ถูก

ถ้าไม่เขียนผมว่าคุณคำนวนไม่เป็นนะ  


ครับพ่อคนเก่งครับ  


ตกลงคำนวนได้เท่าไหร่ครับ หรือสักแต่ว่าจะเถียงช่วยคสช.
0
0
เข้าร่วม: 26 Apr 2009
ตอบ: 2091
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:36 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ChZ พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


ผมอ่านแล้วตีความได้ไม่เท่าคุณนะครับ
ของใหม่คุณลบค่าเวรคืนที่ดิน 8,000 ล้านกับ 5,000 ล้านไปแล้วหรือยังอะครับ
เพราะอันแรกเค้าเขียนไว้ชัดเจนว่า "ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท" ไม่ได้มีค่าเวรคืนนะครับ  


ทำไมไม่ลองคำนวนเอง แล้วค่อยแย้งล่ะครับ เลขไม่เกิน ป.3 หรอกครับ  


ผมคำนวณก่อนจะแย้งคุณแล้วละครับ แค่อยากให้คุณลองกลับไปอ่านตัวหนังสือแค่ไม่ถึง 10บรรทัดอีกที ไม่น่าเกินความสามารถเด็ก ป.3 เหมือนกันครับ  

.
แล้วคำนวนแล้วได้เท่าไหร่/กม. ครับ ก็เขียนมาสิครับถ้ามันไม่ถูก

ถ้าไม่เขียนผมว่าคุณคำนวนไม่เป็นนะ  


ครับพ่อคนเก่งครับ  


ตกลงคำนวนได้เท่าไหร่ครับ หรือสักแต่ว่าจะเถียงช่วยคสช.  


ได้ 660 ครับผม และเด็ก ป.3 เค้าก็ไม่ได้คำนวเลขหลักล้านอะนะครับ
ผมว่าคุณน่าจะลดบ้างนะครับอคติกับEGO อะครับ คุณอาจจะเก่ง แต่ก็ไม่น่าเหยียดคนอื่นทุกครั้งนะครับ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:37 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:


ออกตัวก่อนว่าผมไม่ค่อยชอบด่ารัฐบาลไหนทั้งนั้น เลยไม่กล้าออกตัวว่าเถียงแทนใคร
และไม่ได้อ่าน เอกสารการดำเนินงานของเยอรมัน


1 ผมข้างคูสิ่งใด เพราะผมช่วยประเมินตัวเลขให้ และแจงงานโครงการออกมา
2 ผมได้แสดงตัวเลขเปรียบเทียบให้ ทั้งสองรัฐบาลที่คิดดำเนินโครงการ

กลับมาที่เนื้อหา
3 ไทยไม่มี know how รถไฟฟ้าความเร็วสูง ก่อนที่จีนจะสร้างได้ก็ให้เยอรมันมาสร้างห้แพงเหมือนกันครับ
4 มูลค่างานก่อสร้างในปัจจุบัน ผมยังไม่ได้อ่านโครงการจากทางเยอะรมันนะครับ ว่าสร้างเมื่อปีไหน รางอะไร และระบบความเร็วแบบไหน


ปล. เข้าใจว่าท่านต่อต้านเผด็จการอยู่แล้วจาก AVATAR  


1. ปกติค่าก่อสร้าง มันก็คือรวมที่คุณว่ามาเกือบหมด
งานรางรถไฟ
งานไฟฟ้า
งานสถานนีและการตกแต่ง

ซึ่งตัวรถไฟ มั่นใจว่าไม่รวมกับงบลงทุนแน่นอน ต่อให้รวมก็ไม่กี่พันล้านบาท น้อยมากๆ

2.ก็คุณบอกว่าคนละงบไง ซึ่งจริงๆมันก็คืออันเดียวกัน มันจะแตกต่างกันตรงไหน

3.จีนให้เยอรมันมาสร้างแพง มีหลักฐานหรือครับ

ไม่เกี่ยวกับ know how เลย เยอรมันก็ให้บริษัทของเยอรมันทำ ค่าจ้างก็ค่าจ้างเยอรมัน

4.ก็อ่านสิครับ

เอาจริงๆปกคิเห็นคุณปกป้อง คสช. ตลอดอยู่แล้ว ถ้าไม่งั้นก็ไม่พยายามเถียงในเรื่องที่ตัวเองไม่รู้หรอก
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:38 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ChZ พิมพ์ว่า:


ได้ 660 ครับผม และเด็ก ป.3 เค้าก็ไม่ได้คำนวเลขหลักล้านอะนะครับ
ผมว่าคุณน่าจะลดบ้างนะครับอคติกับEGO อะครับ คุณอาจจะเก่ง แต่ก็ไม่น่าเหยียดคนอื่นทุกครั้งนะครับ  


ผมไม่ได้เก่งหรอกครับ แต่คุณน่ะพยายามเถียงช่วย คสช. จัง ทั้งๆที่ผมไม่ได้คำนวนผิด แล้วทำไมถึงมาถามว่าหักไปแล้วหรือยัง

660 เพราะคุณไม่ได้คำนวน "กว่า" เข้าไปด้วย

ปล. ตัวคุณน่ะเหยียดคนอื่นตั้งแต่เมนท์แรกเลย มาร้องว่าผมไปเหยียดคุณซะงั้น
0
0
เข้าร่วม: 05 Aug 2008
ตอบ: 17093
ที่อยู่: ปาปัวนิวกีนี
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:40 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
มันส์ กระทู้นี้...
0
0


เข้าร่วม: 08 Nov 2014
ตอบ: 221
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:43 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


รบกวนฝากไฟล์หรือมีแหล่งข้อมูลอื่นไหมครับ ผมไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ท่านอ้าง มาได้
0
0
เข้าร่วม: 26 Apr 2009
ตอบ: 2091
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:44 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
กุยอมแพ้ละ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:46 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Gofen พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


รบกวนฝากไฟล์หรือมีแหล่งข้อมูลอื่นไหมครับ ผมไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ท่านอ้าง มาได้  


ไฟล์มัน 35MB อ่ะครับ มีแนะนำที่ฝากไฟล์ไหมครับ
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:47 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ออกตัวก่อนว่าผมไม่ค่อยชอบด่ารัฐบาลไหนทั้งนั้น เลยไม่กล้าออกตัวว่าเถียงแทนใคร
และไม่ได้อ่าน เอกสารการดำเนินงานของเยอรมัน


1 ผมข้างคูสิ่งใด เพราะผมช่วยประเมินตัวเลขให้ และแจงงานโครงการออกมา
2 ผมได้แสดงตัวเลขเปรียบเทียบให้ ทั้งสองรัฐบาลที่คิดดำเนินโครงการ

กลับมาที่เนื้อหา
3 ไทยไม่มี know how รถไฟฟ้าความเร็วสูง ก่อนที่จีนจะสร้างได้ก็ให้เยอรมันมาสร้างห้แพงเหมือนกันครับ
4 มูลค่างานก่อสร้างในปัจจุบัน ผมยังไม่ได้อ่านโครงการจากทางเยอะรมันนะครับ ว่าสร้างเมื่อปีไหน รางอะไร และระบบความเร็วแบบไหน


ปล. เข้าใจว่าท่านต่อต้านเผด็จการอยู่แล้วจาก AVATAR  


1. ปกติค่าก่อสร้าง มันก็คือรวมที่คุณว่ามาเกือบหมด
งานรางรถไฟ
งานไฟฟ้า
งานสถานนีและการตกแต่ง

ซึ่งตัวรถไฟ มั่นใจว่าไม่รวมกับงบลงทุนแน่นอน ต่อให้รวมก็ไม่กี่พันล้านบาท น้อยมากๆ

2.ก็คุณบอกว่าคนละงบไง ซึ่งจริงๆมันก็คืออันเดียวกัน มันจะแตกต่างกันตรงไหน

3.จีนให้เยอรมันมาสร้างแพง มีหลักฐานหรือครับ

ไม่เกี่ยวกับ know how เลย เยอรมันก็ให้บริษัทของเยอรมันทำ ค่าจ้างก็ค่าจ้างเยอรมัน

4.ก็อ่านสิครับ

เอาจริงๆปกคิเห็นคุณปกป้อง คสช. ตลอดอยู่แล้ว ถ้าไม่งั้นก็ไม่พยายามเถียงในเรื่องที่ตัวเองไม่รู้หรอก  


ผมสนใจในเรื่องของเศรษฐกิจ และการลงทุนอยู่แล้ว ผมมักพูดมุมบวกของ การลงทุน

กลับมาที่เรื่องงบ ถ้าผมเถียงแทน คสช. แสดงว่าผมเถียงแทน รัฐบาล ชุดก่อนด้วยนะครับ
เพราะงบก่อสร้างที่ว่ามา มันต่ำกว่าการประเมินของครั้งก่อนอีก แสดงว่าผมก็ปกป้องรัฐบาลชุดก่อนด้วยนะครับ


ส่วนเรื่องค่าใช้จ่าย และมูลค่าเงินเฟ้อในปัจจุบัน บวกกับเทคโนโลยีรถไฟฟ้าที่ใช้เป็นของชาวเยอรมัน และการพัฒนาต่อเนื่องมาหลายสิบปี แค่ความรู้ค่าใช้จ่ายและ การจัดการค่าใช้จ่ายในการดำเนินการเราก๋ไม่มีแล้วครับ


อย่างนั้นท่านรบกวนประเมินมูลค่าเส้นทางให่ผมเห็น เพื่อเปิดโลกให้ผมทีครับว่า ท่านประเมินค่าใช้จ่ายและงบประมาณอย่างไร
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:53 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ออกตัวก่อนว่าผมไม่ค่อยชอบด่ารัฐบาลไหนทั้งนั้น เลยไม่กล้าออกตัวว่าเถียงแทนใคร
และไม่ได้อ่าน เอกสารการดำเนินงานของเยอรมัน


1 ผมข้างคูสิ่งใด เพราะผมช่วยประเมินตัวเลขให้ และแจงงานโครงการออกมา
2 ผมได้แสดงตัวเลขเปรียบเทียบให้ ทั้งสองรัฐบาลที่คิดดำเนินโครงการ

กลับมาที่เนื้อหา
3 ไทยไม่มี know how รถไฟฟ้าความเร็วสูง ก่อนที่จีนจะสร้างได้ก็ให้เยอรมันมาสร้างห้แพงเหมือนกันครับ
4 มูลค่างานก่อสร้างในปัจจุบัน ผมยังไม่ได้อ่านโครงการจากทางเยอะรมันนะครับ ว่าสร้างเมื่อปีไหน รางอะไร และระบบความเร็วแบบไหน


ปล. เข้าใจว่าท่านต่อต้านเผด็จการอยู่แล้วจาก AVATAR  


1. ปกติค่าก่อสร้าง มันก็คือรวมที่คุณว่ามาเกือบหมด
งานรางรถไฟ
งานไฟฟ้า
งานสถานนีและการตกแต่ง

ซึ่งตัวรถไฟ มั่นใจว่าไม่รวมกับงบลงทุนแน่นอน ต่อให้รวมก็ไม่กี่พันล้านบาท น้อยมากๆ

2.ก็คุณบอกว่าคนละงบไง ซึ่งจริงๆมันก็คืออันเดียวกัน มันจะแตกต่างกันตรงไหน

3.จีนให้เยอรมันมาสร้างแพง มีหลักฐานหรือครับ

ไม่เกี่ยวกับ know how เลย เยอรมันก็ให้บริษัทของเยอรมันทำ ค่าจ้างก็ค่าจ้างเยอรมัน

4.ก็อ่านสิครับ

เอาจริงๆปกคิเห็นคุณปกป้อง คสช. ตลอดอยู่แล้ว ถ้าไม่งั้นก็ไม่พยายามเถียงในเรื่องที่ตัวเองไม่รู้หรอก  


ผมสนใจในเรื่องของเศรษฐกิจ และการลงทุนอยู่แล้ว ผมมักพูดมุมบวกของ การลงทุน

กลับมาที่เรื่องงบ ถ้าผมเถียงแทน คสช. แสดงว่าผมเถียงแทน รัฐบาล ชุดก่อนด้วยนะครับ
เพราะงบก่อสร้างที่ว่ามา มันต่ำกว่าการประเมินของครั้งก่อนอีก แสดงว่าผมก็ปกป้องรัฐบาลชุดก่อนด้วยนะครับ


ส่วนเรื่องค่าใช้จ่าย และมูลค่าเงินเฟ้อในปัจจุบัน บวกกับเทคโนโลยีรถไฟฟ้าที่ใช้เป็นของชาวเยอรมัน และการพัฒนาต่อเนื่องมาหลายสิบปี แค่ความรู้ค่าใช้จ่ายและ การจัดการค่าใช้จ่ายในการดำเนินการเราก๋ไม่มีแล้วครับ


อย่างนั้นท่านรบกวนประเมินมูลค่าเส้นทางให่ผมเห็น เพื่อเปิดโลกให้ผมทีครับว่า ท่านประเมินค่าใช้จ่ายและงบประมาณอย่างไร  


- เดี๋ยวนะครับ มันถูกกว่าชุดเก่าได้ไงครับ เอาตัวเลขมาดูชัดๆได้ไหมครับ ผมเห็นแต่แพงกว่าทุกรอบ ยกมาเลยนะครับ ที่คุณบอกว่ามันถูกกว่า

- มูลค่าเงินเฟ้ออะไรครับ นี่ก็เป็นแผนที่เยอรมันจะสร้าง ไม่ใช่ของเก่าเลย

- มันไม่ใช่ค่าความรู้ครับ คือค่าก่อสร้างก็คือค่าก่อสร้างจากบริษัท
Deutsche Bahn จ้างบริษัทเยอรมันมาสราง
รัฐบาลไทยจ้างบริษํทมาสร้างเหมือนกัน

คำถาม : ทำไมรัฐไทยจึงจ้างแพงกว่า ทั้งๆที่ค่าแรงถูกกว่า

ง่ายๆเลยครับ มันไม่ได้ซับซ้อนอะไรเลย คุณไม่ได้ไปซื้อลิขสิทธิ์เค้ามานะครับ ถึงต้องจ่ายแพง
0
0
เข้าร่วม: 08 Mar 2010
ตอบ: 1364
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:55 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
Gofen พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


รบกวนฝากไฟล์หรือมีแหล่งข้อมูลอื่นไหมครับ ผมไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ท่านอ้าง มาได้  


ไฟล์มัน 35MB อ่ะครับ มีแนะนำที่ฝากไฟล์ไหมครับ  


น่าเสียดายไม่ใช่ database บอร์ดการบ้านการเรือนสมัยก่อน อยากกลับไปอ่านกระทู้เก่าๆ บรรยากาศชวนให้คิดถึง

ปล อยากได้มากไม่รู้ว่ายังมีเก็บไว้อยู่หรือป่าวน๊าาาา
0
0
แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด - Manchester united
แบงค็อก ยูไนเต็ด - Bangkok united



ig แจ่มๆ http://hisocietist.com/instagram
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:56 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ประเมินมูลค่าเส้นทางเลยนะครับ

ผมประเมินเอาง่ายๆเหมือนเยอรมันเลย

711 km * 240 ล้านบาท = 170,000 ล้านบาท + ค่าเพิ่มเติมสถานีตามทางที่มีไม่กี่สถานี 3หมื่นล้านเลยเอ้า

เต็มที่ 2 แสนล้าน
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 7:59 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ManU_UnaM พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Gofen พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 


ของเก่า 330 ล้านบาท / กม.

ของใหม่ เกือบ 700 ล้านบาท / กม.

เยอรมัน ราคา 240 ล้านบาท/ กม.

ส่วนต่างมันเยอะจริมๆ

อ้างอิง http://www.bmvi.de/cae/servlet/contentblob/59400/publicationFile/31198/schlussbericht-schienen-de.pdf  


รบกวนฝากไฟล์หรือมีแหล่งข้อมูลอื่นไหมครับ ผมไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ท่านอ้าง มาได้  


ไฟล์มัน 35MB อ่ะครับ มีแนะนำที่ฝากไฟล์ไหมครับ  


น่าเสียดายไม่ใช่ database บอร์ดการบ้านการเรือนสมัยก่อน อยากกลับไปอ่านกระทู้เก่าๆ บรรยากาศชวนให้คิดถึง

ปล อยากได้มากไม่รู้ว่ายังมีเก็บไว้อยู่หรือป่าวน๊าาาา  


ถ้าวนใจรถไฟ อ่านภาษาเยอรมันได้ หาที่เน็ตดีๆลองโหลดไว้เถอะครับ

เค้าประเมินไว้หมดแล้ว จะมีผู้โดยสายขนาดไหน การเปลี่ยนแปลงของที่อยู่ผู้คนจะเป็นยังไง เมืองจะเปลี่ยนแปลงยังไง

ส่วนที่บอกจับมือกับจีนหรือญี่ปุ่น จะสร้งๆอยู่ร่ำๆ ยังไม่เห็นรายงานใดๆเลยทั้งสิ้น
เข้าร่วม: 31 Jan 2014
ตอบ: 10427
ที่อยู่: บนต้นไม้
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:01 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
พอมาไทย โดนซาเล้งถอดหมุดไปขาย
0
0

Spoil
 
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:04 pm
ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ออกตัวก่อนว่าผมไม่ค่อยชอบด่ารัฐบาลไหนทั้งนั้น เลยไม่กล้าออกตัวว่าเถียงแทนใคร
และไม่ได้อ่าน เอกสารการดำเนินงานของเยอรมัน


1 ผมข้างคูสิ่งใด เพราะผมช่วยประเมินตัวเลขให้ และแจงงานโครงการออกมา
2 ผมได้แสดงตัวเลขเปรียบเทียบให้ ทั้งสองรัฐบาลที่คิดดำเนินโครงการ

กลับมาที่เนื้อหา
3 ไทยไม่มี know how รถไฟฟ้าความเร็วสูง ก่อนที่จีนจะสร้างได้ก็ให้เยอรมันมาสร้างห้แพงเหมือนกันครับ
4 มูลค่างานก่อสร้างในปัจจุบัน ผมยังไม่ได้อ่านโครงการจากทางเยอะรมันนะครับ ว่าสร้างเมื่อปีไหน รางอะไร และระบบความเร็วแบบไหน


ปล. เข้าใจว่าท่านต่อต้านเผด็จการอยู่แล้วจาก AVATAR  


1. ปกติค่าก่อสร้าง มันก็คือรวมที่คุณว่ามาเกือบหมด
งานรางรถไฟ
งานไฟฟ้า
งานสถานนีและการตกแต่ง

ซึ่งตัวรถไฟ มั่นใจว่าไม่รวมกับงบลงทุนแน่นอน ต่อให้รวมก็ไม่กี่พันล้านบาท น้อยมากๆ

2.ก็คุณบอกว่าคนละงบไง ซึ่งจริงๆมันก็คืออันเดียวกัน มันจะแตกต่างกันตรงไหน

3.จีนให้เยอรมันมาสร้างแพง มีหลักฐานหรือครับ

ไม่เกี่ยวกับ know how เลย เยอรมันก็ให้บริษัทของเยอรมันทำ ค่าจ้างก็ค่าจ้างเยอรมัน

4.ก็อ่านสิครับ

เอาจริงๆปกคิเห็นคุณปกป้อง คสช. ตลอดอยู่แล้ว ถ้าไม่งั้นก็ไม่พยายามเถียงในเรื่องที่ตัวเองไม่รู้หรอก  


ผมสนใจในเรื่องของเศรษฐกิจ และการลงทุนอยู่แล้ว ผมมักพูดมุมบวกของ การลงทุน

กลับมาที่เรื่องงบ ถ้าผมเถียงแทน คสช. แสดงว่าผมเถียงแทน รัฐบาล ชุดก่อนด้วยนะครับ
เพราะงบก่อสร้างที่ว่ามา มันต่ำกว่าการประเมินของครั้งก่อนอีก แสดงว่าผมก็ปกป้องรัฐบาลชุดก่อนด้วยนะครับ


ส่วนเรื่องค่าใช้จ่าย และมูลค่าเงินเฟ้อในปัจจุบัน บวกกับเทคโนโลยีรถไฟฟ้าที่ใช้เป็นของชาวเยอรมัน และการพัฒนาต่อเนื่องมาหลายสิบปี แค่ความรู้ค่าใช้จ่ายและ การจัดการค่าใช้จ่ายในการดำเนินการเราก๋ไม่มีแล้วครับ


อย่างนั้นท่านรบกวนประเมินมูลค่าเส้นทางให่ผมเห็น เพื่อเปิดโลกให้ผมทีครับว่า ท่านประเมินค่าใช้จ่ายและงบประมาณอย่างไร  


- เดี๋ยวนะครับ มันถูกกว่าชุดเก่าได้ไงครับ เอาตัวเลขมาดูชัดๆได้ไหมครับ ผมเห็นแต่แพงกว่าทุกรอบ ยกมาเลยนะครับ ที่คุณบอกว่ามันถูกกว่า

- มูลค่าเงินเฟ้ออะไรครับ นี่ก็เป็นแผนที่เยอรมันจะสร้าง ไม่ใช่ของเก่าเลย

- มันไม่ใช่ค่าความรู้ครับ คือค่าก่อสร้างก็คือค่าก่อสร้างจากบริษัท
Deutsche Bahn จ้างบริษัทเยอรมันมาสราง
รัฐบาลไทยจ้างบริษํทมาสร้างเหมือนกัน

คำถาม : ทำไมรัฐไทยจึงจ้างแพงกว่า ทั้งๆที่ค่าแรงถูกกว่า

ง่ายๆเลยครับ มันไม่ได้ซับซ้อนอะไรเลย คุณไม่ได้ไปซื้อลิขสิทธิ์เค้ามานะครับ ถึงต้องจ่ายแพง  



ก็ท่านคำนวนจากยอด 1.98แสนล้านบาท. มาหารต่อกิโลเมตรใช่ไหม ตรงไฮไลท์แดง

ตอนนี้โทรศัพท์ผมแบทหมดเล่นในแทบเล็ต วางลิงค์ไม่ได้

ถ้าท่านยึดที่ตัวเลข 1.98แสนล้านบาท นั้นก็เท่ากับว่า ถูกกว่าเส้นทางกรุงเทพ-หนองคาย ของรัฐบาลชุดก่อนหน้าด้วยครับ


ส่วนเยอรมันผมไม่รูั เพราะไม่เคยเห็นโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งทาง,ราง,ระบบไฟฟ้า ว่าพร้อมสำหรับโครงการใหม่แค่ไหน


ปล.ผมขอถามท่านนอกเรื่องท่านทำงานโปรเจ็คด้วยไหมครับ

0
0
เข้าร่วม: 30 Jan 2009
ตอบ: 3823
ที่อยู่: ในรูเมื่อยามคับขัน
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:09 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
เกิดอะไรขึ้น
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:10 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:


ก็ท่านคำนวนจากยอด 1.98แสนล้านบาท. มาหารต่อกิโลเมตรใช่ไหม ตรงไฮไลท์แดง

ตอนนี้โทรศัพท์ผมแบทหมดเล่นในแทบเล็ต วางลิงค์ไม่ได้

ถ้าท่านยึดที่ตัวเลข 1.98แสนล้านบาท นั้นก็เท่ากับว่า ถูกกว่าเส้นทางกรุงเทพ-หนองคาย ของรัฐบาลชุดก่อนหน้าด้วยครับ


ส่วนเยอรมันผมไม่รูั เพราะไม่เคยเห็นโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งทาง,ราง,ระบบไฟฟ้า ว่าพร้อมสำหรับโครงการใหม่แค่ไหน


ปล.ผมขอถามท่านนอกเรื่องท่านทำงานโปรเจ็คด้วยไหมครับ

 


คราวนี้ผมค่อนข้างมั่นใจละ

มั่นใจว่าคุณเชียร์ คสช. แบบไม่ลืมหูลืมตาจริงๆ ขนาดที่ตัวเองเอามาโพสท์ยังไม่เข้าใจวาเค้าเขียนอะไรบ้าง

เอามาให้ดูอีกรอบ

ของเก่า
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.
 


ของใหม่
emula123 พิมพ์ว่า:

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 
1
0
เข้าร่วม: 05 Dec 2015
ตอบ: 704
ที่อยู่: The Theatre of Dreams
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:13 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
วันหลังรบกวนท่าน Kmul สละเวลามาแบ่งปันเนื้อหาเชิงลึกแบบนี้อีกนะครับ
0
0


เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:18 pm
ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ก็ท่านคำนวนจากยอด 1.98แสนล้านบาท. มาหารต่อกิโลเมตรใช่ไหม ตรงไฮไลท์แดง

ตอนนี้โทรศัพท์ผมแบทหมดเล่นในแทบเล็ต วางลิงค์ไม่ได้

ถ้าท่านยึดที่ตัวเลข 1.98แสนล้านบาท นั้นก็เท่ากับว่า ถูกกว่าเส้นทางกรุงเทพ-หนองคาย ของรัฐบาลชุดก่อนหน้าด้วยครับ


ส่วนเยอรมันผมไม่รูั เพราะไม่เคยเห็นโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งทาง,ราง,ระบบไฟฟ้า ว่าพร้อมสำหรับโครงการใหม่แค่ไหน


ปล.ผมขอถามท่านนอกเรื่องท่านทำงานโปรเจ็คด้วยไหมครับ

 


คราวนี้ผมค่อนข้างมั่นใจละ

มั่นใจว่าคุณเชียร์ คสช. แบบไม่ลืมหูลืมตาจริงๆ ขนาดที่ตัวเองเอามาโพสท์ยังไม่เข้าใจวาเค้าเขียนอะไรบ้าง

เอามาให้ดูอีกรอบ

ของเก่า
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.
 


ของใหม่
emula123 พิมพ์ว่า:

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 
 

เกี่ยวอะไรกับ. คสช.

ของเก่านี้ของเก่าใคร ท่านรูปไหม
มันของเก่าของคสช.
ไม่ใช่ยอดของรัฐบาลชุดเก่า


ตอนนี้มีตัวเลข 3 ตัวแล้ว

1 งบก่อสร้างของเก่า(ของเก่าไหน)
2 งบลงทุน
3 งบของรัฐบาลชุดเก่า

ซึ่งของเก่าที่ท่านว่ามันดันถูกกว่าของรัฐบาลชุดเก่าไปด้วย
ผมเลยบอกว่า มันคืองบการก่อสร้างอย่างเดียว ไม่ใช่งบทั้งโครงการ


ผมรู้ว่าท่านชอบอยู่แล้วต่อต่านเผด็จการไรนั้น. ซึ่งไม่เกี่ยวกับผม
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:19 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ก็ท่านคำนวนจากยอด 1.98แสนล้านบาท. มาหารต่อกิโลเมตรใช่ไหม ตรงไฮไลท์แดง

ตอนนี้โทรศัพท์ผมแบทหมดเล่นในแทบเล็ต วางลิงค์ไม่ได้

ถ้าท่านยึดที่ตัวเลข 1.98แสนล้านบาท นั้นก็เท่ากับว่า ถูกกว่าเส้นทางกรุงเทพ-หนองคาย ของรัฐบาลชุดก่อนหน้าด้วยครับ


ส่วนเยอรมันผมไม่รูั เพราะไม่เคยเห็นโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งทาง,ราง,ระบบไฟฟ้า ว่าพร้อมสำหรับโครงการใหม่แค่ไหน


ปล.ผมขอถามท่านนอกเรื่องท่านทำงานโปรเจ็คด้วยไหมครับ

 


คราวนี้ผมค่อนข้างมั่นใจละ

มั่นใจว่าคุณเชียร์ คสช. แบบไม่ลืมหูลืมตาจริงๆ ขนาดที่ตัวเองเอามาโพสท์ยังไม่เข้าใจวาเค้าเขียนอะไรบ้าง

เอามาให้ดูอีกรอบ

ของเก่า
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.
 


ของใหม่
emula123 พิมพ์ว่า:

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 
 

เกี่ยวอะไรกับ. คสช.

ของเก่านี้ของเก่าใคร ท่านรูปไหม
มันของเก่าของคสช.
ไม่ใช่ยอดของรัฐบาลชุดเก่า


ตอนนี้มีตัวเลข 3 ตัวแล้ว

1 งบก่อสร้างของเก่า(ของเก่าไหน)
2 งบลงทุน
3 งบของรัฐบาลชุดเก่า

ซึ่งของเก่าที่ท่านว่ามันดันถูกกว่าของรัฐบาลชุดเก่าไปด้วย
ผมเลยบอกว่า มันคืองบการก่อสร้างอย่างเดียว ไม่ใช่งบทั้งโครงการ


ผมรู้ว่าท่านชอบอยู่แล้วต่อต่านเผด็จการไรนั้น. ซึ่งไม่เกี่ยวกับผม  


emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.
 


หลายปีที่ผ่านมา?? ทำไมถึงคิดว่าเป็นของเก่าของคสช. เอาแค่นี้ล่ะ ลองตอบดูซิ

คสช.มันยังไม่ครบ 2 ปีเลยนิ หรือมันตั้งก่อนล้มรัฐบาลเก่าแล้ว
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:23 pm
ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ก็ท่านคำนวนจากยอด 1.98แสนล้านบาท. มาหารต่อกิโลเมตรใช่ไหม ตรงไฮไลท์แดง

ตอนนี้โทรศัพท์ผมแบทหมดเล่นในแทบเล็ต วางลิงค์ไม่ได้

ถ้าท่านยึดที่ตัวเลข 1.98แสนล้านบาท นั้นก็เท่ากับว่า ถูกกว่าเส้นทางกรุงเทพ-หนองคาย ของรัฐบาลชุดก่อนหน้าด้วยครับ


ส่วนเยอรมันผมไม่รูั เพราะไม่เคยเห็นโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งทาง,ราง,ระบบไฟฟ้า ว่าพร้อมสำหรับโครงการใหม่แค่ไหน


ปล.ผมขอถามท่านนอกเรื่องท่านทำงานโปรเจ็คด้วยไหมครับ

 


คราวนี้ผมค่อนข้างมั่นใจละ

มั่นใจว่าคุณเชียร์ คสช. แบบไม่ลืมหูลืมตาจริงๆ ขนาดที่ตัวเองเอามาโพสท์ยังไม่เข้าใจวาเค้าเขียนอะไรบ้าง

เอามาให้ดูอีกรอบ

ของเก่า
emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.
 


ของใหม่
emula123 พิมพ์ว่า:

เฟสแรกลงทุน 1.7 แสนล้าน

ขณะที่ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ศึกษาแล้วเสร็จและส่งรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) แล้วในช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 256 กม. เงินลงทุน 176,598 ล้านบาท มีค่าเวนคืนกว่า 8,000 ล้านบาท ส่วนช่วงนครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กม. อยู่ระหว่างทำรายงานอีไอเอจะเสร็จเดือน ก.พ.นี้ ใช้เงินลงทุนกว่า 2.4 แสนล้านบาท มีค่าเวนคืน 5,000 ล้านบาท

 
 

เกี่ยวอะไรกับ. คสช.

ของเก่านี้ของเก่าใคร ท่านรูปไหม
มันของเก่าของคสช.
ไม่ใช่ยอดของรัฐบาลชุดเก่า


ตอนนี้มีตัวเลข 3 ตัวแล้ว

1 งบก่อสร้างของเก่า(ของเก่าไหน)
2 งบลงทุน
3 งบของรัฐบาลชุดเก่า

ซึ่งของเก่าที่ท่านว่ามันดันถูกกว่าของรัฐบาลชุดเก่าไปด้วย
ผมเลยบอกว่า มันคืองบการก่อสร้างอย่างเดียว ไม่ใช่งบทั้งโครงการ


ผมรู้ว่าท่านชอบอยู่แล้วต่อต่านเผด็จการไรนั้น. ซึ่งไม่เกี่ยวกับผม  


emula123 พิมพ์ว่า:


แหล่งข่าวกล่าวว่า ผลศึกษารถไฟความเร็วสูงเดิมที่จีนศึกษาให้เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายเมื่อหลายปีที่ผ่านมา มีระยะทาง 615 กม. สร้างตามแนวรถไฟเดิม รูปแบบก่อสร้างอยู่ระดับดินตลอดเส้นทาง ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.
 


หลายปีที่ผ่านมา?? ทำไมถึงคิดว่าเป็นของเก่าของคสช. เอาแค่นี้ล่ะ ลองตอบดูซิ

คสช.มันยังไม่ครบ 2 ปีเลยนิ หรือมันตั้งก่อนล้มรัฐบาลเก่าแล้ว  



ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:27 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:


ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ  


ผมว่าคุณกำลังเบี่ยงประเด็นไปเรื่อยๆนะ

ของเก่า นี่คือจีนศึกษาให้เมื่อหลายปีมาแล้ว ซึ่งจะเป็นของรัฐบาลไหนก็ช่างมัน คือ 1.98 แสนล้าน

ของรัฐบาลที่แล้ว 2.4 แสนล้าน ++

ของ คสช. ปัจจุบัน 4แสนล้าน ++

งบคสช. ต่ำกว่ายังไง ว่ามาครับ
0
0
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 3166
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:29 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
อ่านแล้วงงมากภาษาเยอรมันอย่างเดียว อยากถามหน่อยครับว่า เส้นทางทั้งหมดนี้คือความเร็วสูงหมดเลยใช่ไหมครับ
0
0
เข้าร่วม: 08 Mar 2010
ตอบ: 1364
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:33 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ของเก่ากว่า
เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคาย
ระยะทาง 615 กม. ค่าก่อสร้าง 170,450 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 280 ล้านบาท/กม.
อ้างอิงจาก http://www.ecberkku.com/news3/908--2-----.html

ของเก่าไหนไม่รู้
เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคาย
ระยะทาง 615 กม. ค่าก่อสร้าง 198,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 330 ล้านบาท/กม.

ของใหม่
กรุงเทพฯ-นครราชสีมา
ระยะทาง 256 กม. ค่าก่อสร้าง 168,598 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 650 ล้านบาท/กม. (หักค่าเวนคืน 8,000)

นครราชสีมา-หนองคาย
ระยะทาง 355 กม. ค่าก่อสร้าง 235,000 ล้านบาท หรือเฉลี่ย 660 ล้านบาท/กม. (หักค่าเวนคืน 5,000)

เพิ่มเติม ใน5ปีข้างหน้าอาจ ทะลุเฉลี่ย 1,000 ล้านบาท/กม. ถ้ายังไงก็รีบๆสร้างได้แล้วอย่ารอถนนลูกรังหมด
แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด - Manchester united
แบงค็อก ยูไนเต็ด - Bangkok united



ig แจ่มๆ http://hisocietist.com/instagram
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:33 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
nutkungkabb พิมพ์ว่า:
อ่านแล้วงงมากภาษาเยอรมันอย่างเดียว อยากถามหน่อยครับว่า เส้นทางทั้งหมดนี้คือความเร็วสูงหมดเลยใช่ไหมครับ  


คือ รางเค้าวิ่งได้ทั้งความเร็วสูงกับความเร็วธรรมดาครับ แต่รองรับความเร็วสูง (คือถ้าวิ่งแค่ความเร็วสูง มันก็ไม่คุ้ม)
0
0
เข้าร่วม: 12 Aug 2014
ตอบ: 970
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:48 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ไม่ชอบให้หัวชนฝากันเลย แต่อยากให้เคลียเรื่องค่าก่อสร้าง ของเยอรมันกับของเราทำไมแพงต่างกัน
เกี่ยวกับระยะทางไหม ความยากง่าย ภูเขา เพราะเป็นเงินกู้ หรือเป็นเพราะมีค่าน้ำชา
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:57 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ  


ผมว่าคุณกำลังเบี่ยงประเด็นไปเรื่อยๆนะ

ของเก่า นี่คือจีนศึกษาให้เมื่อหลายปีมาแล้ว ซึ่งจะเป็นของรัฐบาลไหนก็ช่างมัน คือ 1.98 แสนล้าน

ของรัฐบาลที่แล้ว 2.4 แสนล้าน ++

ของ คสช. ปัจจุบัน 4แสนล้าน ++

งบคสช. ต่ำกว่ายังไง ว่ามาครับ  


จบครับคุยกันคนละเรื่อง
ผมไม่ได้บอกว่า คสช. ต่ำกว่า นะครับ

ผมบอกว่าราคาประเมิน 1.98 แสนล้าน มันก็ต่ำกว่าทั้ง 2 รัฐบาล


จีนเพิ่งเข้ามาศึกษาเส้นทาง 2555 ก่อนโครงกา รัฐบาลชุดก่อนตั้งงบประมาณโครงการ ปี 2556

Spoil
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000145528  



ซึ่งที่ผมบอกว่า 1.98 ล้านมันต่ำกว่าทั้งคู่ไงครับ
เพราะผมไม่ได้เถียงแทน คสช. ในเมื่อ รัฐบาลชุดก่อน ก็แพงกว่า
เมื่อ 1 ปีหรือเปล่าที่จีนได้มาศึกษาจาก 1.98 > 2.4 ผ่านไปอีก 3 ปี > 4
ซึ่งตัวเลข 1.98 อาจจะไม่ใช้งบโครงการทั้งหมดไงครับ อย่างน้อยค่าที่นานไปก็โดนโก่ง




1 ผมไม่ได้เถียงให้แค่ คสช.
2 ผมอยากให้สร้างรถไฟฟ้าอยู่ทุกสมัยอยู่แล้ว ชอบมากกว่านั่งเครื่องบิน
3 อยากให้ท่านช่วนประเมิน ตามความสามารถให้ทีครับว่าเส้นทางควรเป็นเท่าไหร่ แน่นอนถ้าผมมีเงินผมจ่ายให้
1
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 8:58 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ลิงค์ไฟล์สำหรับคนอยากโหลดครับ Dropbox คราวนี้น่าจะโหลดได้นะ

https://www.dropbox.com/s/zjcrej484mupzer/schlussbericht-schienen-de.pdf?dl=0
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 9:05 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ  


ผมว่าคุณกำลังเบี่ยงประเด็นไปเรื่อยๆนะ

ของเก่า นี่คือจีนศึกษาให้เมื่อหลายปีมาแล้ว ซึ่งจะเป็นของรัฐบาลไหนก็ช่างมัน คือ 1.98 แสนล้าน

ของรัฐบาลที่แล้ว 2.4 แสนล้าน ++

ของ คสช. ปัจจุบัน 4แสนล้าน ++

งบคสช. ต่ำกว่ายังไง ว่ามาครับ  


จบครับคุยกันคนละเรื่อง
ผมไม่ได้บอกว่า คสช. ต่ำกว่า นะครับ

ผมบอกว่าราคาประเมิน 1.98 แสนล้าน มันก็ต่ำกว่าทั้ง 2 รัฐบาล


จีนเพิ่งเข้ามาศึกษาเส้นทาง 2555 ก่อนโครงกา รัฐบาลชุดก่อนตั้งงบประมาณโครงการ ปี 2556

Spoil
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000145528  



ซึ่งที่ผมบอกว่า 1.98 ล้านมันต่ำกว่าทั้งคู่ไงครับ
เพราะผมไม่ได้เถียงแทน คสช. ในเมื่อ รัฐบาลชุดก่อน ก็แพงกว่า
เมื่อ 1 ปีหรือเปล่าที่จีนได้มาศึกษาจาก 1.98 > 2.4 ผ่านไปอีก 3 ปี > 4
ซึ่งตัวเลข 1.98 อาจจะไม่ใช้งบโครงการทั้งหมดไงครับ อย่างน้อยค่าที่นานไปก็โดนโก่ง




1 ผมไม่ได้เถียงให้แค่ คสช.
2 ผมอยากให้สร้างรถไฟฟ้าอยู่ทุกสมัยอยู่แล้ว ชอบมากกว่านั่งเครื่องบิน
3 อยากให้ท่านช่วนประเมิน ตามความสามารถให้ทีครับว่าเส้นทางควรเป็นเท่าไหร่ แน่นอนถ้าผมมีเงินผมจ่ายให้  


1.คุณบอกเองว่าของรัฐบาลก่อนคือ 4.4 แสนล้าน จริงๆไม่ใช่ มัน 2.4แสนล้าน++ คสช. ต่างหากที่ 4แสนล้าน ++ นี่ยังไม่ได้เถียงให้ คสช. อีกหรอครับ

2.คิดว่าคนไทยเกินครึ่งอยากแน่นอนครับ

3.ผมประเมินไปแล้วกลับไปอ่านครับ ต่อให้เอา CP มาทั้งหมดก็ไม่มีตังหรอกครับ

ที่คุณถามว่าทำโครงการไหม เคยทำครับ ตอนนี้ทำอย่างอื่น
0
0
เข้าร่วม: 26 Apr 2009
ตอบ: 2091
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 9:22 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
นี่ยังไม่จบกันอีกเหรอเนี่ย
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 9:28 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ  


ผมว่าคุณกำลังเบี่ยงประเด็นไปเรื่อยๆนะ

ของเก่า นี่คือจีนศึกษาให้เมื่อหลายปีมาแล้ว ซึ่งจะเป็นของรัฐบาลไหนก็ช่างมัน คือ 1.98 แสนล้าน

ของรัฐบาลที่แล้ว 2.4 แสนล้าน ++

ของ คสช. ปัจจุบัน 4แสนล้าน ++

งบคสช. ต่ำกว่ายังไง ว่ามาครับ  


จบครับคุยกันคนละเรื่อง
ผมไม่ได้บอกว่า คสช. ต่ำกว่า นะครับ

ผมบอกว่าราคาประเมิน 1.98 แสนล้าน มันก็ต่ำกว่าทั้ง 2 รัฐบาล


จีนเพิ่งเข้ามาศึกษาเส้นทาง 2555 ก่อนโครงกา รัฐบาลชุดก่อนตั้งงบประมาณโครงการ ปี 2556

Spoil
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000145528  



ซึ่งที่ผมบอกว่า 1.98 ล้านมันต่ำกว่าทั้งคู่ไงครับ
เพราะผมไม่ได้เถียงแทน คสช. ในเมื่อ รัฐบาลชุดก่อน ก็แพงกว่า
เมื่อ 1 ปีหรือเปล่าที่จีนได้มาศึกษาจาก 1.98 > 2.4 ผ่านไปอีก 3 ปี > 4
ซึ่งตัวเลข 1.98 อาจจะไม่ใช้งบโครงการทั้งหมดไงครับ อย่างน้อยค่าที่นานไปก็โดนโก่ง




1 ผมไม่ได้เถียงให้แค่ คสช.
2 ผมอยากให้สร้างรถไฟฟ้าอยู่ทุกสมัยอยู่แล้ว ชอบมากกว่านั่งเครื่องบิน
3 อยากให้ท่านช่วนประเมิน ตามความสามารถให้ทีครับว่าเส้นทางควรเป็นเท่าไหร่ แน่นอนถ้าผมมีเงินผมจ่ายให้  

 

1.คุณบอกเองว่าของรัฐบาลก่อนคือ 4.4 แสนล้าน จริงๆไม่ใช่ มัน 2.4แสนล้าน++ คสช. ต่างหากที่ 4แสนล้าน ++ นี่ยังไม่ได้เถียงให้ คสช. อีกหรอครับ

2.คิดว่าคนไทยเกินครึ่งอยากแน่นอนครับ

3.ผมประเมินไปแล้วกลับไปอ่านครับ ต่อให้เอา CP มาทั้งหมดก็ไม่มีตังหรอกครับ

ที่คุณถามว่าทำโครงการไหม เคยทำครับ ตอนนี้ทำอย่างอื่น  


1 งบสุดท้ายของโครงการ แตะ 4แสนล้านครับในปี 57 ไม่ใช่ร่างแผนที่ 2.4 แสนล้าน ในปี 56 ซึ่งผมพลาดจาก 4 เป็น 4.4
Spoil
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450511445  

โดยสาระคือ เมื่อเทียบกับตัวเลข 1.98 ล้าน นั้นมันแพงเช่นกัน


2 จบ

3 ตัวเลข 240 ล้านท่านได้มาจากอะไรครับ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 9:31 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ  


ผมว่าคุณกำลังเบี่ยงประเด็นไปเรื่อยๆนะ

ของเก่า นี่คือจีนศึกษาให้เมื่อหลายปีมาแล้ว ซึ่งจะเป็นของรัฐบาลไหนก็ช่างมัน คือ 1.98 แสนล้าน

ของรัฐบาลที่แล้ว 2.4 แสนล้าน ++

ของ คสช. ปัจจุบัน 4แสนล้าน ++

งบคสช. ต่ำกว่ายังไง ว่ามาครับ  


จบครับคุยกันคนละเรื่อง
ผมไม่ได้บอกว่า คสช. ต่ำกว่า นะครับ

ผมบอกว่าราคาประเมิน 1.98 แสนล้าน มันก็ต่ำกว่าทั้ง 2 รัฐบาล


จีนเพิ่งเข้ามาศึกษาเส้นทาง 2555 ก่อนโครงกา รัฐบาลชุดก่อนตั้งงบประมาณโครงการ ปี 2556

Spoil
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000145528  



ซึ่งที่ผมบอกว่า 1.98 ล้านมันต่ำกว่าทั้งคู่ไงครับ
เพราะผมไม่ได้เถียงแทน คสช. ในเมื่อ รัฐบาลชุดก่อน ก็แพงกว่า
เมื่อ 1 ปีหรือเปล่าที่จีนได้มาศึกษาจาก 1.98 > 2.4 ผ่านไปอีก 3 ปี > 4
ซึ่งตัวเลข 1.98 อาจจะไม่ใช้งบโครงการทั้งหมดไงครับ อย่างน้อยค่าที่นานไปก็โดนโก่ง




1 ผมไม่ได้เถียงให้แค่ คสช.
2 ผมอยากให้สร้างรถไฟฟ้าอยู่ทุกสมัยอยู่แล้ว ชอบมากกว่านั่งเครื่องบิน
3 อยากให้ท่านช่วนประเมิน ตามความสามารถให้ทีครับว่าเส้นทางควรเป็นเท่าไหร่ แน่นอนถ้าผมมีเงินผมจ่ายให้  

 

1.คุณบอกเองว่าของรัฐบาลก่อนคือ 4.4 แสนล้าน จริงๆไม่ใช่ มัน 2.4แสนล้าน++ คสช. ต่างหากที่ 4แสนล้าน ++ นี่ยังไม่ได้เถียงให้ คสช. อีกหรอครับ

2.คิดว่าคนไทยเกินครึ่งอยากแน่นอนครับ

3.ผมประเมินไปแล้วกลับไปอ่านครับ ต่อให้เอา CP มาทั้งหมดก็ไม่มีตังหรอกครับ

ที่คุณถามว่าทำโครงการไหม เคยทำครับ ตอนนี้ทำอย่างอื่น  


1 งบสุดท้ายของโครงการ แตะ 4แสนล้านครับในปี 57 ไม่ใช่ร่างแผนที่ 2.4 แสนล้าน ในปี 56 ซึ่งผมพลาดจาก 4 เป็น 4.4
Spoil
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450511445  

โดยสาระคือ เมื่อเทียบกับตัวเลข 1.98 ล้าน นั้นมันแพงเช่นกัน


2 จบ

3 ตัวเลข 240 ล้านท่านได้มาจากอะไรครับ  


1.แตะ4แสนล้านนั่นมัน กท.- ชม. คุณอ่านยังไงครับ???

3. http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 9:57 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ  


ผมว่าคุณกำลังเบี่ยงประเด็นไปเรื่อยๆนะ

ของเก่า นี่คือจีนศึกษาให้เมื่อหลายปีมาแล้ว ซึ่งจะเป็นของรัฐบาลไหนก็ช่างมัน คือ 1.98 แสนล้าน

ของรัฐบาลที่แล้ว 2.4 แสนล้าน ++

ของ คสช. ปัจจุบัน 4แสนล้าน ++

งบคสช. ต่ำกว่ายังไง ว่ามาครับ  


จบครับคุยกันคนละเรื่อง
ผมไม่ได้บอกว่า คสช. ต่ำกว่า นะครับ

ผมบอกว่าราคาประเมิน 1.98 แสนล้าน มันก็ต่ำกว่าทั้ง 2 รัฐบาล


จีนเพิ่งเข้ามาศึกษาเส้นทาง 2555 ก่อนโครงกา รัฐบาลชุดก่อนตั้งงบประมาณโครงการ ปี 2556

Spoil
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000145528  



ซึ่งที่ผมบอกว่า 1.98 ล้านมันต่ำกว่าทั้งคู่ไงครับ
เพราะผมไม่ได้เถียงแทน คสช. ในเมื่อ รัฐบาลชุดก่อน ก็แพงกว่า
เมื่อ 1 ปีหรือเปล่าที่จีนได้มาศึกษาจาก 1.98 > 2.4 ผ่านไปอีก 3 ปี > 4
ซึ่งตัวเลข 1.98 อาจจะไม่ใช้งบโครงการทั้งหมดไงครับ อย่างน้อยค่าที่นานไปก็โดนโก่ง




1 ผมไม่ได้เถียงให้แค่ คสช.
2 ผมอยากให้สร้างรถไฟฟ้าอยู่ทุกสมัยอยู่แล้ว ชอบมากกว่านั่งเครื่องบิน
3 อยากให้ท่านช่วนประเมิน ตามความสามารถให้ทีครับว่าเส้นทางควรเป็นเท่าไหร่ แน่นอนถ้าผมมีเงินผมจ่ายให้  

 

1.คุณบอกเองว่าของรัฐบาลก่อนคือ 4.4 แสนล้าน จริงๆไม่ใช่ มัน 2.4แสนล้าน++ คสช. ต่างหากที่ 4แสนล้าน ++ นี่ยังไม่ได้เถียงให้ คสช. อีกหรอครับ

2.คิดว่าคนไทยเกินครึ่งอยากแน่นอนครับ

3.ผมประเมินไปแล้วกลับไปอ่านครับ ต่อให้เอา CP มาทั้งหมดก็ไม่มีตังหรอกครับ

ที่คุณถามว่าทำโครงการไหม เคยทำครับ ตอนนี้ทำอย่างอื่น  


1 งบสุดท้ายของโครงการ แตะ 4แสนล้านครับในปี 57 ไม่ใช่ร่างแผนที่ 2.4 แสนล้าน ในปี 56 ซึ่งผมพลาดจาก 4 เป็น 4.4
Spoil
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450511445  

โดยสาระคือ เมื่อเทียบกับตัวเลข 1.98 ล้าน นั้นมันแพงเช่นกัน


2 จบ

3 ตัวเลข 240 ล้านท่านได้มาจากอะไรครับ  


1.แตะ4แสนล้านนั่นมัน กท.- ชม. คุณอ่านยังไงครับ???

3. http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf  


1 โอเคจบผมยอม 2.4 แสนล้าน Okay
โดยสาระยังคงเดิมคือ แพงกว่าราคาประเมินอยู่ดี
ซึ่งผมบอกมันก็แพงกว่า 1.98 ที่ประเมินเพียงแค่ปีเดียว
ดังนั้นผมไม่ได้เถียงแทนใคร

3 เอกสารที่ให้มา ก็ไม่ได้มี 240ล้าน/กม. โดยท่านอาจจะยึดจากเยอรมันมา
เพราะผมคำนวนทุกเส้นทางมา ก็ไม่มีเส้นทางไหน ต่ำกว่า 240 ล้านเลย
387821 745 520.5651007
240855 615 391.6341463
100631 221 455.3438914
123798 225 550.2133333


มันก็กลายเป็นว่า ไม่ว่ารัฐบาลไหนก็ใช้งบประมาณต่อ กม.มากกว่า 240 อยู่ดี
0
0
เข้าร่วม: 02 Nov 2014
ตอบ: 624
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:16 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]

อ่านแล้วเปิดโลกทัศน์มาก
0
0
ลายเซ็นสูงไป
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:17 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ  


ผมว่าคุณกำลังเบี่ยงประเด็นไปเรื่อยๆนะ

ของเก่า นี่คือจีนศึกษาให้เมื่อหลายปีมาแล้ว ซึ่งจะเป็นของรัฐบาลไหนก็ช่างมัน คือ 1.98 แสนล้าน

ของรัฐบาลที่แล้ว 2.4 แสนล้าน ++

ของ คสช. ปัจจุบัน 4แสนล้าน ++

งบคสช. ต่ำกว่ายังไง ว่ามาครับ  


จบครับคุยกันคนละเรื่อง
ผมไม่ได้บอกว่า คสช. ต่ำกว่า นะครับ

ผมบอกว่าราคาประเมิน 1.98 แสนล้าน มันก็ต่ำกว่าทั้ง 2 รัฐบาล


จีนเพิ่งเข้ามาศึกษาเส้นทาง 2555 ก่อนโครงกา รัฐบาลชุดก่อนตั้งงบประมาณโครงการ ปี 2556

Spoil
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000145528  



ซึ่งที่ผมบอกว่า 1.98 ล้านมันต่ำกว่าทั้งคู่ไงครับ
เพราะผมไม่ได้เถียงแทน คสช. ในเมื่อ รัฐบาลชุดก่อน ก็แพงกว่า
เมื่อ 1 ปีหรือเปล่าที่จีนได้มาศึกษาจาก 1.98 > 2.4 ผ่านไปอีก 3 ปี > 4
ซึ่งตัวเลข 1.98 อาจจะไม่ใช้งบโครงการทั้งหมดไงครับ อย่างน้อยค่าที่นานไปก็โดนโก่ง




1 ผมไม่ได้เถียงให้แค่ คสช.
2 ผมอยากให้สร้างรถไฟฟ้าอยู่ทุกสมัยอยู่แล้ว ชอบมากกว่านั่งเครื่องบิน
3 อยากให้ท่านช่วนประเมิน ตามความสามารถให้ทีครับว่าเส้นทางควรเป็นเท่าไหร่ แน่นอนถ้าผมมีเงินผมจ่ายให้  

 

1.คุณบอกเองว่าของรัฐบาลก่อนคือ 4.4 แสนล้าน จริงๆไม่ใช่ มัน 2.4แสนล้าน++ คสช. ต่างหากที่ 4แสนล้าน ++ นี่ยังไม่ได้เถียงให้ คสช. อีกหรอครับ

2.คิดว่าคนไทยเกินครึ่งอยากแน่นอนครับ

3.ผมประเมินไปแล้วกลับไปอ่านครับ ต่อให้เอา CP มาทั้งหมดก็ไม่มีตังหรอกครับ

ที่คุณถามว่าทำโครงการไหม เคยทำครับ ตอนนี้ทำอย่างอื่น  


1 งบสุดท้ายของโครงการ แตะ 4แสนล้านครับในปี 57 ไม่ใช่ร่างแผนที่ 2.4 แสนล้าน ในปี 56 ซึ่งผมพลาดจาก 4 เป็น 4.4
Spoil
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450511445  

โดยสาระคือ เมื่อเทียบกับตัวเลข 1.98 ล้าน นั้นมันแพงเช่นกัน


2 จบ

3 ตัวเลข 240 ล้านท่านได้มาจากอะไรครับ  


1.แตะ4แสนล้านนั่นมัน กท.- ชม. คุณอ่านยังไงครับ???

3. http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf  


1 โอเคจบผมยอม 2.4 แสนล้าน Okay
โดยสาระยังคงเดิมคือ แพงกว่าราคาประเมินอยู่ดี
ซึ่งผมบอกมันก็แพงกว่า 1.98 ที่ประเมินเพียงแค่ปีเดียว
ดังนั้นผมไม่ได้เถียงแทนใคร

3 เอกสารที่ให้มา ก็ไม่ได้มี 240ล้าน/กม. โดยท่านอาจจะยึดจากเยอรมันมา
เพราะผมคำนวนทุกเส้นทางมา ก็ไม่มีเส้นทางไหน ต่ำกว่า 240 ล้านเลย
387821 745 520.5651007
240855 615 391.6341463
100631 221 455.3438914
123798 225 550.2133333


มันก็กลายเป็นว่า ไม่ว่ารัฐบาลไหนก็ใช้งบประมาณต่อ กม.มากกว่า 240 อยู่ดี  


1.เอาเถอะครับ คุณก็รู็เองแก่ใจว่าเถียงช่วย คสช.รึเปล่า คนอ่านก็มีความคิดของเค้าไป

3.ก็ยึดจากเยอรมันครับ ก็ผมมาถามไงครับว่าทำไมมันถึงแพงกว่าเยอรมันอย่างมหาศาล

ไอ้เชียงใหม่นี่ไม่กล้าบอกว่าแพงไปหรือถูกไป เพราะต้องสร้างอุโมงแน่ๆ ขึ้นภูเขา พวกนี้แพงทั้งนั้น ต้องกางออกมาดูว่าเข้าอุโมงไปขนาดไหนยังไง ถึงจะบอกได้ว่าแพงหรือถูก ส่วนภาคอื่นๆไม่รู็ภูมิประเทศจริงๆ

อีกอย่างก็น่าจะเป็นคำถามว่า ถ้ารัฐบาลก่อน 2.4แสนล้าน ทำไมรัฐบาลนี้เพิ่มขึ้นมาถึง 4 แสนล้าน เงินเฟ้อไม่เพิ่มขนาดนี้แน่ (2ปี ขึ้นมา66% ได้รางเดี่ยวช่วงโคราช-หนองคายด้วย ไม่งั้นจำได้ว่า5แสนล้าน ก็คือราคา x2)

ถ้าคุณสนใจการลงทุนจริง คุณต้องตั้งคำถามแล้วว่ามันแพงมาขนาดนี้ได้ไง
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:26 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ผมบอกท่านว่าผมวางลิงค์ไม่ได้เพราะเล่นบนแท็บเล็ต
ผมแนะนำว่าท่าน ค้นหางบประมาณโครงการของรัฐบาลที่แล้วด้วยก็ได้ครับ

ท่านจะได้มาอีกยอดหนึ่ง ซึ่ง1.98แสนล้าน ไม่ใช่ยอดนัันนะครับ

ซึ่งยอดนี่มันต่ำกว่าทั่ง คสช.ใหม่ และรัฐบาลเก่าครับ


ผมใกล้ถึงบ้านแล้ว ถ้าท่านลำบากเดี๋ยวผม วางให้นะครับ  


ผมว่าคุณกำลังเบี่ยงประเด็นไปเรื่อยๆนะ

ของเก่า นี่คือจีนศึกษาให้เมื่อหลายปีมาแล้ว ซึ่งจะเป็นของรัฐบาลไหนก็ช่างมัน คือ 1.98 แสนล้าน

ของรัฐบาลที่แล้ว 2.4 แสนล้าน ++

ของ คสช. ปัจจุบัน 4แสนล้าน ++

งบคสช. ต่ำกว่ายังไง ว่ามาครับ  


จบครับคุยกันคนละเรื่อง
ผมไม่ได้บอกว่า คสช. ต่ำกว่า นะครับ

ผมบอกว่าราคาประเมิน 1.98 แสนล้าน มันก็ต่ำกว่าทั้ง 2 รัฐบาล


จีนเพิ่งเข้ามาศึกษาเส้นทาง 2555 ก่อนโครงกา รัฐบาลชุดก่อนตั้งงบประมาณโครงการ ปี 2556

Spoil
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000145528  



ซึ่งที่ผมบอกว่า 1.98 ล้านมันต่ำกว่าทั้งคู่ไงครับ
เพราะผมไม่ได้เถียงแทน คสช. ในเมื่อ รัฐบาลชุดก่อน ก็แพงกว่า
เมื่อ 1 ปีหรือเปล่าที่จีนได้มาศึกษาจาก 1.98 > 2.4 ผ่านไปอีก 3 ปี > 4
ซึ่งตัวเลข 1.98 อาจจะไม่ใช้งบโครงการทั้งหมดไงครับ อย่างน้อยค่าที่นานไปก็โดนโก่ง




1 ผมไม่ได้เถียงให้แค่ คสช.
2 ผมอยากให้สร้างรถไฟฟ้าอยู่ทุกสมัยอยู่แล้ว ชอบมากกว่านั่งเครื่องบิน
3 อยากให้ท่านช่วนประเมิน ตามความสามารถให้ทีครับว่าเส้นทางควรเป็นเท่าไหร่ แน่นอนถ้าผมมีเงินผมจ่ายให้  

 

1.คุณบอกเองว่าของรัฐบาลก่อนคือ 4.4 แสนล้าน จริงๆไม่ใช่ มัน 2.4แสนล้าน++ คสช. ต่างหากที่ 4แสนล้าน ++ นี่ยังไม่ได้เถียงให้ คสช. อีกหรอครับ

2.คิดว่าคนไทยเกินครึ่งอยากแน่นอนครับ

3.ผมประเมินไปแล้วกลับไปอ่านครับ ต่อให้เอา CP มาทั้งหมดก็ไม่มีตังหรอกครับ

ที่คุณถามว่าทำโครงการไหม เคยทำครับ ตอนนี้ทำอย่างอื่น  


1 งบสุดท้ายของโครงการ แตะ 4แสนล้านครับในปี 57 ไม่ใช่ร่างแผนที่ 2.4 แสนล้าน ในปี 56 ซึ่งผมพลาดจาก 4 เป็น 4.4
Spoil
http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450511445  

โดยสาระคือ เมื่อเทียบกับตัวเลข 1.98 ล้าน นั้นมันแพงเช่นกัน


2 จบ

3 ตัวเลข 240 ล้านท่านได้มาจากอะไรครับ  


1.แตะ4แสนล้านนั่นมัน กท.- ชม. คุณอ่านยังไงครับ???

3. http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf  


1 โอเคจบผมยอม 2.4 แสนล้าน Okay
โดยสาระยังคงเดิมคือ แพงกว่าราคาประเมินอยู่ดี
ซึ่งผมบอกมันก็แพงกว่า 1.98 ที่ประเมินเพียงแค่ปีเดียว
ดังนั้นผมไม่ได้เถียงแทนใคร

3 เอกสารที่ให้มา ก็ไม่ได้มี 240ล้าน/กม. โดยท่านอาจจะยึดจากเยอรมันมา
เพราะผมคำนวนทุกเส้นทางมา ก็ไม่มีเส้นทางไหน ต่ำกว่า 240 ล้านเลย
387821 745 520.5651007
240855 615 391.6341463
100631 221 455.3438914
123798 225 550.2133333


มันก็กลายเป็นว่า ไม่ว่ารัฐบาลไหนก็ใช้งบประมาณต่อ กม.มากกว่า 240 อยู่ดี  


1.เอาเถอะครับ คุณก็รู็เองแก่ใจว่าเถียงช่วย คสช.รึเปล่า คนอ่านก็มีความคิดของเค้าไป

3.ก็ยึดจากเยอรมันครับ ก็ผมมาถามไงครับว่าทำไมมันถึงแพงกว่าเยอรมันอย่างมหาศาล

ไอ้เชียงใหม่นี่ไม่กล้าบอกว่าแพงไปหรือถูกไป เพราะต้องสร้างอุโมงแน่ๆ ขึ้นภูเขา พวกนี้แพงทั้งนั้น ต้องกางออกมาดูว่าเข้าอุโมงไปขนาดไหนยังไง ถึงจะบอกได้ว่าแพงหรือถูก ส่วนภาคอื่นๆไม่รู็ภูมิประเทศจริงๆ

อีกอย่างก็น่าจะเป็นคำถามว่า ถ้ารัฐบาลก่อน 2.4แสนล้าน ทำไมรัฐบาลนี้เพิ่มขึ้นมาถึง 4 แสนล้าน เงินเฟ้อไม่เพิ่มขนาดนี้แน่ (2ปี ขึ้นมา66% ได้รางเดี่ยวช่วงโคราช-หนองคายด้วย ไม่งั้นจำได้ว่า5แสนล้าน ก็คือราคา x2)

ถ้าคุณสนใจการลงทุนจริง คุณต้องตั้งคำถามแล้วว่ามันแพงมาขนาดนี้ได้ไง  




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:39 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.
0
0
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9037
ที่อยู่: ท้ายครัว จอห์น เฮนรี่
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:43 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ
0
0
ทำไม น้ำทะเลมันจึงเค็ม
แล้วทำไม ปลาที่เราเอามากินจากในทะเล จึงไม่เค็ม
แล้วทำไม เอาปลามาหมักเกลือ จึงเรียกว่า ปลาเค็ม



เข้าร่วม: 05 Dec 2015
ตอบ: 1794
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:44 pm
[RE]ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย
นี้มันกระทู้คุณภาพ
0
0


เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:45 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ
0
0
เข้าร่วม: 05 Dec 2015
ตอบ: 704
ที่อยู่: The Theatre of Dreams
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:48 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ตามอ่านมาจะสามชั่วโมง ทำไมรู้สึกเหนื่อยก็ไม่รู้
0
0


เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:48 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:50 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไปคุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง
0
0
เข้าร่วม: 07 Jan 2008
ตอบ: 119
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:50 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
คนในบอร์ด SS มีความรู้ มีคุณภาพ มากกว่า อดีต สส ในสภาหลายๆคนอีกนะเนี่ยย

บ่งบอกถึงศักยภาพของสภาบ้านเราสุดๆ
Fino Alla Fine
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9037
ที่อยู่: ท้ายครัว จอห์น เฮนรี่
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:53 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


รางเดียวแล้วมันจะความเร็วสูงใด้ไง มันก็ต้องรอหลีกอีกไม่ใช่เหรอ งง

ราคาเท่าตัว แต่ทำไมห่วยกว่าเดิมอ่ะ
0
0
ทำไม น้ำทะเลมันจึงเค็ม
แล้วทำไม ปลาที่เราเอามากินจากในทะเล จึงไม่เค็ม
แล้วทำไม เอาปลามาหมักเกลือ จึงเรียกว่า ปลาเค็ม



เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:53 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล

ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:56 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล

ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 


ไม่ต้องคิดจะร่วมทุนสิครับ

เปิดประมูลให้สร้าง มันมาอยู๋แล้วพวกบริษัทฝรั่ง มันทำไมจะไม่มา เงินทั้งนั้น ดูพวกรถไฟฟ้าใต้ดิน ทำไมมันถึงมีคนสร้าง ก็พวก ช.การช่างร่วมทุนกับบริษัทต่างชาติทั้งนั้น

ที่คุณคิดเรื่องผลประโยชน์อะไรนั่น คิดในแง่ร่วมทุน รวมทุนแล้วแพงกว่า 2 เท่า จะทำทำไม
0
0
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9037
ที่อยู่: ท้ายครัว จอห์น เฮนรี่
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 10:58 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล

ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 


เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ
0
0
ทำไม น้ำทะเลมันจึงเค็ม
แล้วทำไม ปลาที่เราเอามากินจากในทะเล จึงไม่เค็ม
แล้วทำไม เอาปลามาหมักเกลือ จึงเรียกว่า ปลาเค็ม



เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:03 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:04 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


รางเดียวแล้วมันจะความเร็วสูงใด้ไง มันก็ต้องรอหลีกอีกไม่ใช่เหรอ งง

ราคาเท่าตัว แต่ทำไมห่วยกว่าเดิมอ่ะ  


ใช่ครับ ต้องรอหลีก

อันนี้ตามทฤษฎีนะครับ อย่างเช่นถ้าสายอีสานรอหลีก ต้องคิดจาก โคราช - ขอนแก่น เพราะเป็นช่วงยาวทีสุด ประมาณ 200 กิโลเมตร

ผมให้เลยอ่ะ สมมติทำความเร็วได้สูงสุด 250km/h ก็น่าจะใช้เวลา 1 ชม. (คิดตอนเร่งกับเบรคด้วย)

ซึ่งแสดงว่า รถไฟต้องทิ้งช่วงกันไม่ต่ำกว่า 2 ชม. คือได้สูงสุด 1 เที่ยว/2ชั่วโมง

ยังไม่หมดเท่านั้น เนื่องจากทางนี้รอหลีก ทางอื่นๆที่สั้นกว่าก็ต้องรอ 1 ชม. เช่นกัน แม้สั้นกว่า (ขอนแก่น - อุดร หรือ หนองคาย)

แล้วถ้ามีรถเลท ความนี้เลททั้งพวง ทั้งๆที่รถไฟความเร็วสูงควรเป็นอะไรที่ตรงเวลา ไม่งั้นจะขึ้นทำอะไร นี่ยังไม่คิดว่า ถ้ามีแบบไปที่อื่นๆ คันนึงเลท คันอื่นต้องรอต่อรถรึเปล่า

ปัญหาเยอะครับ ทางเดี่ยว ที่เยอรมันก็มีเยอะนะครับ 50% ของทั้งประเทศมั้ง แต่ไอ้ทางเดี่ยวส่วนใหญ่ไปเมืองที่เล็กมากๆ คนอยู่น้อย แล้วระยะห่างสถานีก็ไม่ได้เยอะขนาดนี้
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:06 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:



หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
0
0
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9037
ที่อยู่: ท้ายครัว จอห์น เฮนรี่
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:07 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


รางเดียวแล้วมันจะความเร็วสูงใด้ไง มันก็ต้องรอหลีกอีกไม่ใช่เหรอ งง

ราคาเท่าตัว แต่ทำไมห่วยกว่าเดิมอ่ะ  


ใช่ครับ ต้องรอหลีก

อันนี้ตามทฤษฎีนะครับ อย่างเช่นถ้าสายอีสานรอหลีก ต้องคิดจาก โคราช - ขอนแก่น เพราะเป็นช่วงยาวทีสุด ประมาณ 200 กิโลเมตร

ผมให้เลยอ่ะ สมมติทำความเร็วได้สูงสุด 250km/h ก็น่าจะใช้เวลา 1 ชม. (คิดตอนเร่งกับเบรคด้วย)

ซึ่งแสดงว่า รถไฟต้องทิ้งช่วงกันไม่ต่ำกว่า 2 ชม. คือได้สูงสุด 1 เที่ยว/2ชั่วโมง

ยังไม่หมดเท่านั้น เนื่องจากทางนี้รอหลีก ทางอื่นๆที่สั้นกว่าก็ต้องรอ 1 ชม. เช่นกัน แม้สั้นกว่า (ขอนแก่น - อุดร หรือ หนองคาย)

แล้วถ้ามีรถเลท ความนี้เลททั้งพวง ทั้งๆที่รถไฟความเร็วสูงควรเป็นอะไรที่ตรงเวลา ไม่งั้นจะขึ้นทำอะไร นี่ยังไม่คิดว่า ถ้ามีแบบไปที่อื่นๆ คันนึงเลท คันอื่นต้องรอต่อรถรึเปล่า

ปัญหาเยอะครับ ทางเดี่ยว ที่เยอรมันก็มีเยอะนะครับ 50% ของทั้งประเทศมั้ง แต่ไอ้ทางเดี่ยวส่วนใหญ่ไปเมืองที่เล็กมากๆ คนอยู่น้อย แล้วระยะห่างสถานีก็ไม่ได้เยอะขนาดนี้  


คุณ Kmul นี่ใช่คนที่อยู่เยอรมันป่าวครับ
ทำไม น้ำทะเลมันจึงเค็ม
แล้วทำไม ปลาที่เราเอามากินจากในทะเล จึงไม่เค็ม
แล้วทำไม เอาปลามาหมักเกลือ จึงเรียกว่า ปลาเค็ม



เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:09 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล

ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:10 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


รางเดียวแล้วมันจะความเร็วสูงใด้ไง มันก็ต้องรอหลีกอีกไม่ใช่เหรอ งง

ราคาเท่าตัว แต่ทำไมห่วยกว่าเดิมอ่ะ  


ใช่ครับ ต้องรอหลีก

อันนี้ตามทฤษฎีนะครับ อย่างเช่นถ้าสายอีสานรอหลีก ต้องคิดจาก โคราช - ขอนแก่น เพราะเป็นช่วงยาวทีสุด ประมาณ 200 กิโลเมตร

ผมให้เลยอ่ะ สมมติทำความเร็วได้สูงสุด 250km/h ก็น่าจะใช้เวลา 1 ชม. (คิดตอนเร่งกับเบรคด้วย)

ซึ่งแสดงว่า รถไฟต้องทิ้งช่วงกันไม่ต่ำกว่า 2 ชม. คือได้สูงสุด 1 เที่ยว/2ชั่วโมง

ยังไม่หมดเท่านั้น เนื่องจากทางนี้รอหลีก ทางอื่นๆที่สั้นกว่าก็ต้องรอ 1 ชม. เช่นกัน แม้สั้นกว่า (ขอนแก่น - อุดร หรือ หนองคาย)

แล้วถ้ามีรถเลท ความนี้เลททั้งพวง ทั้งๆที่รถไฟความเร็วสูงควรเป็นอะไรที่ตรงเวลา ไม่งั้นจะขึ้นทำอะไร นี่ยังไม่คิดว่า ถ้ามีแบบไปที่อื่นๆ คันนึงเลท คันอื่นต้องรอต่อรถรึเปล่า

ปัญหาเยอะครับ ทางเดี่ยว ที่เยอรมันก็มีเยอะนะครับ 50% ของทั้งประเทศมั้ง แต่ไอ้ทางเดี่ยวส่วนใหญ่ไปเมืองที่เล็กมากๆ คนอยู่น้อย แล้วระยะห่างสถานีก็ไม่ได้เยอะขนาดนี้  


คุณ Kmul นี่ใช่คนที่อยู่เยอรมันป่าวครับ  


ครับ พอดีตอนนี้ยุ่งกับเรื่องรถไฟมากหน่อยด้วย
0
0
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9037
ที่อยู่: ท้ายครัว จอห์น เฮนรี่
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:14 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล

ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ
ทำไม น้ำทะเลมันจึงเค็ม
แล้วทำไม ปลาที่เราเอามากินจากในทะเล จึงไม่เค็ม
แล้วทำไม เอาปลามาหมักเกลือ จึงเรียกว่า ปลาเค็ม



เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:16 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล

ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


ผมจะเลิกคุยละ ไปอ่านหนังสือดีกว่า เหมือนเค้าอ่านข่าวไม่เข้าใจ
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:18 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก

ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
 


อะไรของท่าน ผมไม่ได้เถียงท่านนะ แต่ท่านน่าจะเข้าใจความผิด
มันไม่ได้ใช้คำว่า รางเดี่ยวความเร็วสูง

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก 



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว


จากข้างบน ทางคู่ > ทางเดียว
ราง 1 m = รางคู่
HST เท่ากับต้องเปลี่ยนเป็นราง 1.4
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:23 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก

ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
 


อะไรของท่าน ผมไม่ได้เถียงท่านนะ แต่ท่านน่าจะเข้าใจความผิด
มันไม่ได้ใช้คำว่า รางเดี่ยวความเร็วสูง

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก 



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว


จากข้างบน ทางคู่ > ทางเดียว
ราง 1 m = รางคู่
HST เท่ากับต้องเปลี่ยนเป็นราง 1.4
 


โอเคร ผมเข้าใจละ

รางเดียวของคุณคือ ไอ้เหล็ก1อันนี้คุณเรียก 1 ราง

แต่สำหรับผม ไอ้เหล็ก 2 อันนี้คือ 1 ราง
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:26 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล

ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:29 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก

ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
 


อะไรของท่าน ผมไม่ได้เถียงท่านนะ แต่ท่านน่าจะเข้าใจความผิด
มันไม่ได้ใช้คำว่า รางเดี่ยวความเร็วสูง

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก 



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว


จากข้างบน ทางคู่ > ทางเดียว
ราง 1 m = รางคู่
HST เท่ากับต้องเปลี่ยนเป็นราง 1.4
 
 


โอเคร ผมเข้าใจละ

รางเดียวของคุณคือ ไอ้เหล็ก1อันนี้คุณเรียก 1 ราง

แต่สำหรับผม ไอ้เหล็ก 2 อันนี้คือ 1 ราง  


อันนี้ผมมาแก้ไขให้คุณนะว่าใช้คำผิด
คุณอะไรของคุณก็ไม่รู้

เพราะคำว่าราง และทาง นิยามมันไม่เหมือนกัน

0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:34 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก

ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
 


อะไรของท่าน ผมไม่ได้เถียงท่านนะ แต่ท่านน่าจะเข้าใจความผิด
มันไม่ได้ใช้คำว่า รางเดี่ยวความเร็วสูง

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก 



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว


จากข้างบน ทางคู่ > ทางเดียว
ราง 1 m = รางคู่
HST เท่ากับต้องเปลี่ยนเป็นราง 1.4
 
 


โอเคร ผมเข้าใจละ

รางเดียวของคุณคือ ไอ้เหล็ก1อันนี้คุณเรียก 1 ราง

แต่สำหรับผม ไอ้เหล็ก 2 อันนี้คือ 1 ราง  


อันนี้ผมมาแก้ไขให้คุณนะว่าใช้คำผิด
คุณอะไรของคุณก็ไม่รู้

เพราะคำว่าราง และทาง นิยามมันไม่เหมือนกัน

 


Track = รางรถไฟ ภาษาอังกฤษใช้กับไอ้เหล็ก 2 อัน

Gleis = รางรถไฟ อันนี้ภาษาเยอรมัน

1 ทางของคุณ เค้าก็เป็นเอกพจน์หมดนั่นแหละ
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:36 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก

ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
 


อะไรของท่าน ผมไม่ได้เถียงท่านนะ แต่ท่านน่าจะเข้าใจความผิด
มันไม่ได้ใช้คำว่า รางเดี่ยวความเร็วสูง

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก 



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว


จากข้างบน ทางคู่ > ทางเดียว
ราง 1 m = รางคู่
HST เท่ากับต้องเปลี่ยนเป็นราง 1.4
 
 


โอเคร ผมเข้าใจละ

รางเดียวของคุณคือ ไอ้เหล็ก1อันนี้คุณเรียก 1 ราง

แต่สำหรับผม ไอ้เหล็ก 2 อันนี้คือ 1 ราง  


อันนี้ผมมาแก้ไขให้คุณนะว่าใช้คำผิด
คุณอะไรของคุณก็ไม่รู้

เพราะคำว่าราง และทาง นิยามมันไม่เหมือนกัน

 


Track = รางรถไฟ ภาษาอังกฤษใช้กับไอ้เหล็ก 2 อัน

Gleis = รางรถไฟ อันนี้ภาษาเยอรมัน

1 ทางของคุณ เค้าก็เป็นเอกพจน์หมดนั่นแหละ  


คนชอบใช้คำสับสนกันครับ
อันนี้เป็นภาพอธิบาย
ความแตกต่างของคำว่า ราง กับ ทาง
Spoil
 
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:44 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก

ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
 


อะไรของท่าน ผมไม่ได้เถียงท่านนะ แต่ท่านน่าจะเข้าใจความผิด
มันไม่ได้ใช้คำว่า รางเดี่ยวความเร็วสูง

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก 



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว


จากข้างบน ทางคู่ > ทางเดียว
ราง 1 m = รางคู่
HST เท่ากับต้องเปลี่ยนเป็นราง 1.4
 
 


โอเคร ผมเข้าใจละ

รางเดียวของคุณคือ ไอ้เหล็ก1อันนี้คุณเรียก 1 ราง

แต่สำหรับผม ไอ้เหล็ก 2 อันนี้คือ 1 ราง  


อันนี้ผมมาแก้ไขให้คุณนะว่าใช้คำผิด
คุณอะไรของคุณก็ไม่รู้

เพราะคำว่าราง และทาง นิยามมันไม่เหมือนกัน

 


Track = รางรถไฟ ภาษาอังกฤษใช้กับไอ้เหล็ก 2 อัน

Gleis = รางรถไฟ อันนี้ภาษาเยอรมัน

1 ทางของคุณ เค้าก็เป็นเอกพจน์หมดนั่นแหละ  


คนชอบใช้คำสับสนกันครับ
อันนี้เป็นภาพอธิบาย
ความแตกต่างของคำว่า ราง กับ ทาง
Spoil
 
 


อันนี้ใครบัญญัติครับ
0
0
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9037
ที่อยู่: ท้ายครัว จอห์น เฮนรี่
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:49 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล

ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570
0
0
ทำไม น้ำทะเลมันจึงเค็ม
แล้วทำไม ปลาที่เราเอามากินจากในทะเล จึงไม่เค็ม
แล้วทำไม เอาปลามาหมักเกลือ จึงเรียกว่า ปลาเค็ม



เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:49 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก

ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
 


อะไรของท่าน ผมไม่ได้เถียงท่านนะ แต่ท่านน่าจะเข้าใจความผิด
มันไม่ได้ใช้คำว่า รางเดี่ยวความเร็วสูง

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก 



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว


จากข้างบน ทางคู่ > ทางเดียว
ราง 1 m = รางคู่
HST เท่ากับต้องเปลี่ยนเป็นราง 1.4
 
 


โอเคร ผมเข้าใจละ

รางเดียวของคุณคือ ไอ้เหล็ก1อันนี้คุณเรียก 1 ราง

แต่สำหรับผม ไอ้เหล็ก 2 อันนี้คือ 1 ราง  


อันนี้ผมมาแก้ไขให้คุณนะว่าใช้คำผิด
คุณอะไรของคุณก็ไม่รู้

เพราะคำว่าราง และทาง นิยามมันไม่เหมือนกัน

 


Track = รางรถไฟ ภาษาอังกฤษใช้กับไอ้เหล็ก 2 อัน

Gleis = รางรถไฟ อันนี้ภาษาเยอรมัน

1 ทางของคุณ เค้าก็เป็นเอกพจน์หมดนั่นแหละ  


คนชอบใช้คำสับสนกันครับ
อันนี้เป็นภาพอธิบาย
ความแตกต่างของคำว่า ราง กับ ทาง
Spoil
 
 


อันนี้ใครบัญญัติครับ  


ศัพท์ ทางกฎหมายจราจรครับ
รถไฟทั่วไปเป็นรางคู่ครับ

ทางรถไฟ


รถไฟรางเดียว


ขนาดรางรถไฟ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:52 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
ผมไม่ใด้ตามเรื่องรถไฟมาพักใหญ่
ขอถามนิดว่า ของชัชชาติ กับ ของ คสช
มันต่างกันตรงใหนเพิ่มลดตรงใหน แล้วราคามันต่างกันมากแค่ใหนครับ  


อันนี้คุยแค่สายอีสานนะครับ

หลักๆที่จะต่างคือ ช่วงโคราช - หนองคาย เค้าจะทำรางเดียว แต่ความเร็วสูง (น่าจะงงใช่ไหมครับ รางเดียว ความเร็วสูง )

ราคา สำหรับคสช.ถ้าตอนแรกเค้าบอกว่า 5 แสนล้าน ชัตชาติ 2.4แสนล้าน แต่อย่างที่บอกข้างบนคิดไปคิดมาแพงโว้ย งั้นทำรางเดี่ยว โคราช-หนองคายละกัน ลดไป 1 แสนล้าน แพงกว่าชัติชาติอยู่ดี  


ไม่น่าจะใช้นะครับ ขอแก้ไข

รางเดียวมันคือ Monorail แต่จากข่าวคือราง 1m เปลี่ยนเป็น 1.4m นี่คือรางคู่แน่นอนครับ เพราะมีความกว้างขอรางระบุแบบนี้เป็นรางคู่แน่นอนครับ

ถ้าเป็น high Speed แล้วยังไงรางก็ต้อง 1.4 คือรางคู่

ส่วนทางคือทางเดียว จากข่าวคือ รางคู่ทางเดียว (เลนเดียว)

 


อะไรของคุณ

ตกลงคุณไปหามานี่ คุณได้อ่านจริงๆรึเปล่า

emula123 พิมพ์ว่า:

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก

ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน
 
 


อะไรของท่าน ผมไม่ได้เถียงท่านนะ แต่ท่านน่าจะเข้าใจความผิด
มันไม่ได้ใช้คำว่า รางเดี่ยวความเร็วสูง

หลัง "ไทย-จีน" หารือกันนอกรอบ อาจปรับเส้นทางจากเดิมกรุงเทพฯ-หนองคาย และแก่งคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. โดยหั่นค่าก่อสร้างช่วง "แก่งคอย-มาบตาพุด" ออกกว่า 1 แสนล้านบาท และปรับแบบช่วง "นครราชสีมา-หนองคาย" ระยะทาง 355 กม. จากทางคู่เป็นทางเดี่ยว สามารถลดค่าก่อสร้างได้กว่า 4-5 หมื่นล้านบาท โดยเร่งสร้างช่วง "กรุงเทพฯ-นครราชสีมา" ระยะทาง 271.5 กม.เป็นลำดับแรก 



ขณะเดียวกัน ปรับวัตถุประสงค์โครงการใหม่ เน้นขนส่งผู้โดยสาร ส่วนการขนส่งสินค้าจะใช้รถไฟทางคู่ราง 1 เมตร โดยขนส่งสินค้าจากลาวจะถูกมากองไว้ที่ลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์สินค้า (CY) ที่สถานีนาทา มายังท่าเรือมาบตาพุดแทน

เพราะฉะนั้น เมื่อโครงการนี้ไม่ใช้ขนส่งสินค้า ก็สามารถปรับความเร็วได้ 250 กม./ชม.เท่ากับรถไฟความเร็วสูงได้

ฟื้นไฮสปีด กทม.-หนองคาย

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การปรับแบบและเส้นทางล่าสุด มีความเป็นไปได้สูงที่รถไฟไทย-จีนจะกลับมาเป็นรถไฟความเร็วสูง ซึ่งทั้งไทยและจีนมีผลการศึกษาเดิมอยู่แล้ว


จากข้างบน ทางคู่ > ทางเดียว
ราง 1 m = รางคู่
HST เท่ากับต้องเปลี่ยนเป็นราง 1.4
 
 


โอเคร ผมเข้าใจละ

รางเดียวของคุณคือ ไอ้เหล็ก1อันนี้คุณเรียก 1 ราง

แต่สำหรับผม ไอ้เหล็ก 2 อันนี้คือ 1 ราง  


อันนี้ผมมาแก้ไขให้คุณนะว่าใช้คำผิด
คุณอะไรของคุณก็ไม่รู้

เพราะคำว่าราง และทาง นิยามมันไม่เหมือนกัน

 


Track = รางรถไฟ ภาษาอังกฤษใช้กับไอ้เหล็ก 2 อัน

Gleis = รางรถไฟ อันนี้ภาษาเยอรมัน

1 ทางของคุณ เค้าก็เป็นเอกพจน์หมดนั่นแหละ  


คนชอบใช้คำสับสนกันครับ
อันนี้เป็นภาพอธิบาย
ความแตกต่างของคำว่า ราง กับ ทาง
Spoil
 
 


อันนี้ใครบัญญัติครับ  


ศัพท์ ทางกฎหมายจราจรครับ
รถไฟทั่วไปเป็นรางคู่ครับ

ทางรถไฟ


รถไฟรางเดียว


ขนาดรางรถไฟ
 


เดี๋ยวนะครับ wiki เอามาอ้างอิงหรอครับ

ผมอ้างบ้างเอ้า น่าเชื่อถือกว่า wiki อีก


0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:55 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
wiki ที่คุณอ้างมา มันยังเข้าทางผมเลย

โมโนเรล (อังกฤษ: monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน

ไอ้เหล็กสองอันนั้น มันเรียกว่าราว

ราว2ราว ประกอบเป็นราง

0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:55 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ
0
0
เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 7132
ที่อยู่: Naiipa Art Complex
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:56 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
นึกว่ามีอะไร สุดท้ายเถียงกัน 2 คน 555555
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Fri Feb 12, 2016 11:58 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
wiki ที่คุณอ้างมา มันยังเข้าทางผมเลย

โมโนเรล (อังกฤษ: monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน

ไอ้เหล็กสองอันนั้น มันเรียกว่าราว

ราว2ราว ประกอบเป็นราง

 


ผมว่าท่านไม่พยายามเข้าใจกับคำว่า รางแล้วทางแล้วละ

โมโนเรล (อังกฤษ: monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน คำว่าโมโนเรลมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440[1] โดยออยเกน ลังเกน (Eugen Langen) วิศวกรชาวเยอรมัน โดยสมาสคำว่า mono-เดี่ยว และ rail-ราวเหล็กสำหรับประกอบรางรถไฟ เข้าด้วยกัน


อย่ามาหัวเราะผมเลยครับ ท่าน Kmul
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:03 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
wiki ที่คุณอ้างมา มันยังเข้าทางผมเลย

โมโนเรล (อังกฤษ: monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน

ไอ้เหล็กสองอันนั้น มันเรียกว่าราว

ราว2ราว ประกอบเป็นราง

 


ผมว่าท่านไม่พยายามเข้าใจกับคำว่า รางแล้วทางแล้วละ

โมโนเรล (อังกฤษ: monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน คำว่าโมโนเรลมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440[1] โดยออยเกน ลังเกน (Eugen Langen) วิศวกรชาวเยอรมัน โดยสมาสคำว่า mono-เดี่ยว และ rail-ราวเหล็กสำหรับประกอบรางรถไฟ เข้าด้วยกัน


อย่ามาหัวเราะผมเลยครับ ท่าน Kmul  


ราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง มันก็ชดเจนนิครับ 2 ราว เป็น 1 ราง

คุณอ่านยังไงครับ
0
0
เข้าร่วม: 05 Dec 2015
ตอบ: 704
ที่อยู่: The Theatre of Dreams
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:09 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
สรุปว่าไม่มีคำตอบเรื่องงบประมาณที่ต้องใช้มากขึ้นว่าเป็นเพราะอะไรใช่ไหมครับ ผมจะได้ไปนอนก่อน . . .
0
0


เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9037
ที่อยู่: ท้ายครัว จอห์น เฮนรี่
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:10 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ  

ก็คือตอนแรกจีนจะร่วมทุนทำเพราะจีนสามารถขนของจากจีนมาลาวเข้าหนองคายมาแหลมฉบังใด้(ก็ผลประโยชน์พี่จีนเค้า)ใด้แต่ ตอนหลังไทยไม่เอาแล้วถูกป่าว
กลายเป็น
ไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด ก็คือไทยทำเองทั้งหมดไม่ใช่เหรอเลยทำไมต้องมีประเทศอื่นมาร่วมทำอีก
0
0
ทำไม น้ำทะเลมันจึงเค็ม
แล้วทำไม ปลาที่เราเอามากินจากในทะเล จึงไม่เค็ม
แล้วทำไม เอาปลามาหมักเกลือ จึงเรียกว่า ปลาเค็ม



เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:12 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
wiki ที่คุณอ้างมา มันยังเข้าทางผมเลย

โมโนเรล (อังกฤษ: monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน

ไอ้เหล็กสองอันนั้น มันเรียกว่าราว

ราว2ราว ประกอบเป็นราง

 


ผมว่าท่านไม่พยายามเข้าใจกับคำว่า รางแล้วทางแล้วละ

โมโนเรล (อังกฤษ: monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน คำว่าโมโนเรลมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440[1] โดยออยเกน ลังเกน (Eugen Langen) วิศวกรชาวเยอรมัน โดยสมาสคำว่า mono-เดี่ยว และ rail-ราวเหล็กสำหรับประกอบรางรถไฟ เข้าด้วยกัน


อย่ามาหัวเราะผมเลยครับ ท่าน Kmul  


ราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง มันก็ชดเจนนิครับ 2 ราว เป็น 1 ราง

คุณอ่านยังไงครับ  


ระบบเดิม ไอ 2 ราวที่ท่านจะเข้าใจ
เรียกรางคู่

ส่วนราวเส้นเดียวมาเป็นราง
เรียกรางเดี่ยว


ส่วนทาง ก็คือคำว่า railway
วิ่งทางเดียว วิ่งสองทางสวนกัน
เรียกทางครับ


ซึ่งใช้ไม่เหมือนกัน
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:13 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
คือแค่คำว่าราง ถ้าไม่เข้าใจคำว่ารางก็ไม่รู้จะพูดไงละ

นี่คือ 1 ราง



นี่ก็1ราง ผ้าม่าน



รางสายไฟ

0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:16 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:


ระบบเดิม ไอ 2 ราวที่ท่านจะเข้าใจ
เรียกรางคู่

ส่วนราวเส้นเดียวมาเป็นราง
เรียกรางเดี่ยว


ส่วนทาง ก็คือคำว่า railway
วิ่งทางเดียว วิ่งสองทางสวนกัน
เรียกทางครับ


ซึ่งใช้ไม่เหมือนกัน  


รางคู่ คือคำย่อ ย่อมาจาก รางที่มีราว1คู่ครับ

รางเดี่ยว หรือ monorail ก็คือรางที่มีราว 1 อัน

รางเดี่ยว ไม่เท่ากับ รางเดียว

รางคู่ ไม่ใช่มีราง 1 คู่ แต่มีเหล็ก 1 คู่ ใน 1 ราง
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:19 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
คือแค่คำว่าราง ถ้าไม่เข้าใจคำว่ารางก็ไม่รู้จะพูดไงละ

นี่คือ 1 ราง


 


ผมว่าท่านอยากชนะจนไม่ยอมเข้าใจความหมาย
1 ราง

แต่เป็นรางรถไฟชนิดรางคู่ไงครับ

รถไฟรางคู่ คือรถไฟธรรมดา
ถ้าใช้คำว่า
รถไฟรางเดียว มันคือ monorail ครับ


รถไฟรางเดียว มันจะมาเป็น HST ไม่ได้ครับ
0
0
เข้าร่วม: 26 Apr 2009
ตอบ: 2091
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:19 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Dellons พิมพ์ว่า:
สรุปว่าไม่มีคำตอบเรื่องงบประมาณที่ต้องใช้มากขึ้นว่าเป็นเพราะอะไรใช่ไหมครับ ผมจะได้ไปนอนก่อน . . .  


ผมตอบแทนให้ครับจะได้ไปนอน
ไม่มีครับ คนอีโก้สูง 2 คนเถียงกันไปมาครับ
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:23 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ระบบเดิม ไอ 2 ราวที่ท่านจะเข้าใจ
เรียกรางคู่

ส่วนราวเส้นเดียวมาเป็นราง
เรียกรางเดี่ยว


ส่วนทาง ก็คือคำว่า railway
วิ่งทางเดียว วิ่งสองทางสวนกัน
เรียกทางครับ


ซึ่งใช้ไม่เหมือนกัน  


รางคู่ คือคำย่อ ย่อมาจาก รางที่มีราว1คู่ครับ

รางเดี่ยว หรือ monorail ก็คือรางที่มีราว 1 อัน

รางเดี่ยว ไม่เท่ากับ รางเดียว

รางคู่ ไม่ใช่มีราง 1 คู่ แต่มีเหล็ก 1 คู่ ใน 1 ราง  


ผมว่าท่านเข้าใจแล้วละ
ในที่พูดมาทั้งหมด ไม่ได้เกี่ยวกับจำนวน นะครับ แต่เป็นชนิดของรางรถไฟ ที่ใช้ไม่ถูกต้อง
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:25 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ  
 

ก็คือตอนแรกจีนจะร่วมทุนทำเพราะจีนสามารถขนของจากจีนมาลาวเข้าหนองคายมาแหลมฉบังใด้(ก็ผลประโยชน์พี่จีนเค้า)ใด้แต่ ตอนหลังไทยไม่เอาแล้วถูกป่าว
กลายเป็น
ไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด ก็คือไทยทำเองทั้งหมดไม่ใช่เหรอเลยทำไมต้องมีประเทศอื่นมาร่วมทำอีก  


ไทยเอาหรือไม่เอา ไม่รู้ครับ เพราะโครงการรัฐบาลที่แล้วไม่อนุมัติครับ กำลังไปแก้ไขแล้วก็ไม่ได้เสนอต่อ เลยไม่รู้ว่าจะทำเองหรือจ้าง

แล้วมันจะย้อนกลับไปยังประเด็นแรกสุด มูลค่ามันแพงกว่าจีนมาประเมินครั้งแรกอยู่ดีไงครับ ซึ่งผมบอกไว้ว่า รัฐบาลไหนก็แพงกว่าราคาประเมินครั้งแรก

ต่อให้ทำเอง หรือจ้างหรือเงื่อนไขไหนก็ตามที่เกิดขึ้น มันก็แพงกว่าราคาที่จีนประเมินมาครั้งแรก แล้วท่าน Kmul บอกว่าผมเถียงแทน คสช.
ซึ่งเขาบอกว่าให้เปิดประมูลซิ ผมก็บอกว่ามีแต่จีนมาดูก็แค่นั้น สรุปตอนนี้ก็ไม่มีใครสามารถสร้างราคาต่ำกว่าจีนประมินครั้งแรกได้ครับ ที 1.98 ล้าน แม้แต่จีนมาทำเองก็ทำไม่ได้ไง
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:28 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ระบบเดิม ไอ 2 ราวที่ท่านจะเข้าใจ
เรียกรางคู่

ส่วนราวเส้นเดียวมาเป็นราง
เรียกรางเดี่ยว


ส่วนทาง ก็คือคำว่า railway
วิ่งทางเดียว วิ่งสองทางสวนกัน
เรียกทางครับ


ซึ่งใช้ไม่เหมือนกัน  


รางคู่ คือคำย่อ ย่อมาจาก รางที่มีราว1คู่ครับ

รางเดี่ยว หรือ monorail ก็คือรางที่มีราว 1 อัน

รางเดี่ยว ไม่เท่ากับ รางเดียว

รางคู่ ไม่ใช่มีราง 1 คู่ แต่มีเหล็ก 1 คู่ ใน 1 ราง  


ผมว่าท่านเข้าใจแล้วละ
ในที่พูดมาทั้งหมด ไม่ได้เกี่ยวกับจำนวน นะครับ แต่เป็นชนิดของรางรถไฟ ที่ใช้ไม่ถูกต้อง  


สรุปคือ

ผมพูดถึงรางเดียว

คุณพูดถึง รางเดี่ยว

อืม
0
0
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 9037
ที่อยู่: ท้ายครัว จอห์น เฮนรี่
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:28 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ  
 

ก็คือตอนแรกจีนจะร่วมทุนทำเพราะจีนสามารถขนของจากจีนมาลาวเข้าหนองคายมาแหลมฉบังใด้(ก็ผลประโยชน์พี่จีนเค้า)ใด้แต่ ตอนหลังไทยไม่เอาแล้วถูกป่าว
กลายเป็น
ไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด ก็คือไทยทำเองทั้งหมดไม่ใช่เหรอเลยทำไมต้องมีประเทศอื่นมาร่วมทำอีก  


ไทยเอาหรือไม่เอา ไม่รู้ครับ เพราะโครงการรัฐบาลที่แล้วไม่อนุมัติครับ กำลังไปแก้ไขแล้วก็ไม่ได้เสนอต่อ เลยไม่รู้ว่าจะทำเองหรือจ้าง

แล้วมันจะย้อนกลับไปยังประเด็นแรกสุด มูลค่ามันแพงกว่าจีนมาประเมินครั้งแรกอยู่ดีไงครับ ซึ่งผมบอกไว้ว่า รัฐบาลไหนก็แพงกว่าราคาประเมินครั้งแรก

ต่อให้ทำเอง หรือจ้างหรือเงื่อนไขไหนก็ตามที่เกิดขึ้น มันก็แพงกว่าราคาที่จีนประเมินมาครั้งแรก แล้วท่าน Kmul บอกว่าผมเถียงแทน คสช.
ซึ่งเขาบอกว่าให้เปิดประมูลซิ ผมก็บอกว่ามีแต่จีนมาดูก็แค่นั้น สรุปตอนนี้ก็ไม่มีใครสามารถสร้างราคาต่ำกว่าจีนประมินครั้งแรกได้ครับ ที 1.98 ล้าน แม้แต่จีนมาทำเองก็ทำไม่ได้ไง  


มันดูแต่ราคาครั้งแรกไม่ใด้นะที่จีนเสนอมาเพราะมันมีมีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ที่พี่จีนจะเอาร่วมด้วย เหมือนที่เอากะลาว

และเวลาผ่านมันก็ยิ่งแพงตาม แถมรอบนี้ดอก2%เลยไม่ใช่เรอะ
ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดนะ
0
0
ทำไม น้ำทะเลมันจึงเค็ม
แล้วทำไม ปลาที่เราเอามากินจากในทะเล จึงไม่เค็ม
แล้วทำไม เอาปลามาหมักเกลือ จึงเรียกว่า ปลาเค็ม



เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:31 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ  
 

ก็คือตอนแรกจีนจะร่วมทุนทำเพราะจีนสามารถขนของจากจีนมาลาวเข้าหนองคายมาแหลมฉบังใด้(ก็ผลประโยชน์พี่จีนเค้า)ใด้แต่ ตอนหลังไทยไม่เอาแล้วถูกป่าว
กลายเป็น
ไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด ก็คือไทยทำเองทั้งหมดไม่ใช่เหรอเลยทำไมต้องมีประเทศอื่นมาร่วมทำอีก  


ไทยเอาหรือไม่เอา ไม่รู้ครับ เพราะโครงการรัฐบาลที่แล้วไม่อนุมัติครับ กำลังไปแก้ไขแล้วก็ไม่ได้เสนอต่อ เลยไม่รู้ว่าจะทำเองหรือจ้าง

แล้วมันจะย้อนกลับไปยังประเด็นแรกสุด มูลค่ามันแพงกว่าจีนมาประเมินครั้งแรกอยู่ดีไงครับ ซึ่งผมบอกไว้ว่า รัฐบาลไหนก็แพงกว่าราคาประเมินครั้งแรก

ต่อให้ทำเอง หรือจ้างหรือเงื่อนไขไหนก็ตามที่เกิดขึ้น มันก็แพงกว่าราคาที่จีนประเมินมาครั้งแรก แล้วท่าน Kmul บอกว่าผมเถียงแทน คสช.
ซึ่งเขาบอกว่าให้เปิดประมูลซิ ผมก็บอกว่ามีแต่จีนมาดูก็แค่นั้น สรุปตอนนี้ก็ไม่มีใครสามารถสร้างราคาต่ำกว่าจีนประมินครั้งแรกได้ครับ ที 1.98 ล้าน แม้แต่จีนมาทำเองก็ทำไม่ได้ไง  


มันดูแต่ราคาไม่ใด้นะถ้าที่จีนเสนอเพราะมันมีมีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ที่พี่จีนจะเอาร่วมด้วย เหมือนที่เอากะลาว

ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดนะ  


ใช่ครับ ราคา1.98แสนล้าน คือให้สิทธิ์จีนเยอะมาก
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:32 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ  
 

ก็คือตอนแรกจีนจะร่วมทุนทำเพราะจีนสามารถขนของจากจีนมาลาวเข้าหนองคายมาแหลมฉบังใด้(ก็ผลประโยชน์พี่จีนเค้า)ใด้แต่ ตอนหลังไทยไม่เอาแล้วถูกป่าว
กลายเป็น
ไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด ก็คือไทยทำเองทั้งหมดไม่ใช่เหรอเลยทำไมต้องมีประเทศอื่นมาร่วมทำอีก  


ไทยเอาหรือไม่เอา ไม่รู้ครับ เพราะโครงการรัฐบาลที่แล้วไม่อนุมัติครับ กำลังไปแก้ไขแล้วก็ไม่ได้เสนอต่อ เลยไม่รู้ว่าจะทำเองหรือจ้าง

แล้วมันจะย้อนกลับไปยังประเด็นแรกสุด มูลค่ามันแพงกว่าจีนมาประเมินครั้งแรกอยู่ดีไงครับ ซึ่งผมบอกไว้ว่า รัฐบาลไหนก็แพงกว่าราคาประเมินครั้งแรก

ต่อให้ทำเอง หรือจ้างหรือเงื่อนไขไหนก็ตามที่เกิดขึ้น มันก็แพงกว่าราคาที่จีนประเมินมาครั้งแรก แล้วท่าน Kmul บอกว่าผมเถียงแทน คสช.
ซึ่งเขาบอกว่าให้เปิดประมูลซิ ผมก็บอกว่ามีแต่จีนมาดูก็แค่นั้น สรุปตอนนี้ก็ไม่มีใครสามารถสร้างราคาต่ำกว่าจีนประมินครั้งแรกได้ครับ ที 1.98 ล้าน แม้แต่จีนมาทำเองก็ทำไม่ได้ไง  


มันดูแต่ราคาไม่ใด้นะถ้าที่จีนเสนอเพราะมันมีมีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ที่พี่จีนจะเอาร่วมด้วย เหมือนที่เอากะลาว

ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดนะ  


ใช่ครับ ราคา1.98แสนล้าน คือให้สิทธิ์จีนเยอะมาก  


สรุปแล้วใช่ 1.98 เป็นเกณฑ์ได้ไมหละครับ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:34 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ  
 

ก็คือตอนแรกจีนจะร่วมทุนทำเพราะจีนสามารถขนของจากจีนมาลาวเข้าหนองคายมาแหลมฉบังใด้(ก็ผลประโยชน์พี่จีนเค้า)ใด้แต่ ตอนหลังไทยไม่เอาแล้วถูกป่าว
กลายเป็น
ไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด ก็คือไทยทำเองทั้งหมดไม่ใช่เหรอเลยทำไมต้องมีประเทศอื่นมาร่วมทำอีก  


ไทยเอาหรือไม่เอา ไม่รู้ครับ เพราะโครงการรัฐบาลที่แล้วไม่อนุมัติครับ กำลังไปแก้ไขแล้วก็ไม่ได้เสนอต่อ เลยไม่รู้ว่าจะทำเองหรือจ้าง

แล้วมันจะย้อนกลับไปยังประเด็นแรกสุด มูลค่ามันแพงกว่าจีนมาประเมินครั้งแรกอยู่ดีไงครับ ซึ่งผมบอกไว้ว่า รัฐบาลไหนก็แพงกว่าราคาประเมินครั้งแรก

ต่อให้ทำเอง หรือจ้างหรือเงื่อนไขไหนก็ตามที่เกิดขึ้น มันก็แพงกว่าราคาที่จีนประเมินมาครั้งแรก แล้วท่าน Kmul บอกว่าผมเถียงแทน คสช.
ซึ่งเขาบอกว่าให้เปิดประมูลซิ ผมก็บอกว่ามีแต่จีนมาดูก็แค่นั้น สรุปตอนนี้ก็ไม่มีใครสามารถสร้างราคาต่ำกว่าจีนประมินครั้งแรกได้ครับ ที 1.98 ล้าน แม้แต่จีนมาทำเองก็ทำไม่ได้ไง  


มันดูแต่ราคาไม่ใด้นะถ้าที่จีนเสนอเพราะมันมีมีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ที่พี่จีนจะเอาร่วมด้วย เหมือนที่เอากะลาว

ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดนะ  


ใช่ครับ ราคา1.98แสนล้าน คือให้สิทธิ์จีนเยอะมาก  


สรุปแล้วใช่ 1.98 เป็นเกณฑ์ได้ไมหละครับ  


ผมว่าคุณอ่านไม่ครบนะ ผมใช้ของเยอรมันเป็นเกณฑ์ กลับไปอ่านซะนะ
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:35 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ระบบเดิม ไอ 2 ราวที่ท่านจะเข้าใจ
เรียกรางคู่

ส่วนราวเส้นเดียวมาเป็นราง
เรียกรางเดี่ยว


ส่วนทาง ก็คือคำว่า railway
วิ่งทางเดียว วิ่งสองทางสวนกัน
เรียกทางครับ


ซึ่งใช้ไม่เหมือนกัน  


รางคู่ คือคำย่อ ย่อมาจาก รางที่มีราว1คู่ครับ

รางเดี่ยว หรือ monorail ก็คือรางที่มีราว 1 อัน

รางเดี่ยว ไม่เท่ากับ รางเดียว

รางคู่ ไม่ใช่มีราง 1 คู่ แต่มีเหล็ก 1 คู่ ใน 1 ราง  


ผมว่าท่านเข้าใจแล้วละ
ในที่พูดมาทั้งหมด ไม่ได้เกี่ยวกับจำนวน นะครับ แต่เป็นชนิดของรางรถไฟ ที่ใช้ไม่ถูกต้อง  


สรุปคือ

ผมพูดถึงรางเดียว

คุณพูดถึง รางเดี่ยว

อืม  


ในประเทศไทยภาษาไทย รางคือชนิดของทาง จำนวนรางที่ท่านเข้าใจ เรียกว่า ทางครับ

ถ้ารถไฟรางคู่ คือรถไฟปกติ จนถึงความเร็วสูง
รางไฟรางเดี่ยว ก็คือ Monorail

ถ้าเส้นทางชนบท มีเส้นเดียว เรียกทางเดียว
ถ้ามีสองเส้น สวนกันได้เรียกทางคู่
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:37 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ระบบเดิม ไอ 2 ราวที่ท่านจะเข้าใจ
เรียกรางคู่

ส่วนราวเส้นเดียวมาเป็นราง
เรียกรางเดี่ยว


ส่วนทาง ก็คือคำว่า railway
วิ่งทางเดียว วิ่งสองทางสวนกัน
เรียกทางครับ


ซึ่งใช้ไม่เหมือนกัน  


รางคู่ คือคำย่อ ย่อมาจาก รางที่มีราว1คู่ครับ

รางเดี่ยว หรือ monorail ก็คือรางที่มีราว 1 อัน

รางเดี่ยว ไม่เท่ากับ รางเดียว

รางคู่ ไม่ใช่มีราง 1 คู่ แต่มีเหล็ก 1 คู่ ใน 1 ราง  


ผมว่าท่านเข้าใจแล้วละ
ในที่พูดมาทั้งหมด ไม่ได้เกี่ยวกับจำนวน นะครับ แต่เป็นชนิดของรางรถไฟ ที่ใช้ไม่ถูกต้อง  


สรุปคือ

ผมพูดถึงรางเดียว

คุณพูดถึง รางเดี่ยว

อืม  


ในประเทศไทยภาษาไทย รางคือชนิดของทาง จำนวนรางที่ท่านเข้าใจ เรียกว่า ทางครับ

ถ้ารถไฟรางคู่ คือรถไฟปกติ จนถึงความเร็วสูง
รางไฟรางเดี่ยว ก็คือ Monorail

ถ้าเส้นทางชนบท มีเส้นเดียว เรียกทางเดียว
ถ้ามีสองเส้น สวนกันได้เรียกทางคู่  


ก็ผมถามไง ว่าใครบัญญัติ

ถ้าเอาจาก wiki รางมันก็คือทาง ไอ้เหล็กมันเรียกว่าราว

ถ้าเอาจากพจนานุกรม Track ก็คือ ราง

ปัญหาคือ คุณบัญญัติศัพท์เอง แล้วคิดว่ามันถูกเอง
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:38 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ  
 

ก็คือตอนแรกจีนจะร่วมทุนทำเพราะจีนสามารถขนของจากจีนมาลาวเข้าหนองคายมาแหลมฉบังใด้(ก็ผลประโยชน์พี่จีนเค้า)ใด้แต่ ตอนหลังไทยไม่เอาแล้วถูกป่าว
กลายเป็น
ไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด ก็คือไทยทำเองทั้งหมดไม่ใช่เหรอเลยทำไมต้องมีประเทศอื่นมาร่วมทำอีก  


ไทยเอาหรือไม่เอา ไม่รู้ครับ เพราะโครงการรัฐบาลที่แล้วไม่อนุมัติครับ กำลังไปแก้ไขแล้วก็ไม่ได้เสนอต่อ เลยไม่รู้ว่าจะทำเองหรือจ้าง

แล้วมันจะย้อนกลับไปยังประเด็นแรกสุด มูลค่ามันแพงกว่าจีนมาประเมินครั้งแรกอยู่ดีไงครับ ซึ่งผมบอกไว้ว่า รัฐบาลไหนก็แพงกว่าราคาประเมินครั้งแรก

ต่อให้ทำเอง หรือจ้างหรือเงื่อนไขไหนก็ตามที่เกิดขึ้น มันก็แพงกว่าราคาที่จีนประเมินมาครั้งแรก แล้วท่าน Kmul บอกว่าผมเถียงแทน คสช.
ซึ่งเขาบอกว่าให้เปิดประมูลซิ ผมก็บอกว่ามีแต่จีนมาดูก็แค่นั้น สรุปตอนนี้ก็ไม่มีใครสามารถสร้างราคาต่ำกว่าจีนประมินครั้งแรกได้ครับ ที 1.98 ล้าน แม้แต่จีนมาทำเองก็ทำไม่ได้ไง  


มันดูแต่ราคาไม่ใด้นะถ้าที่จีนเสนอเพราะมันมีมีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ที่พี่จีนจะเอาร่วมด้วย เหมือนที่เอากะลาว

ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดนะ  


ใช่ครับ ราคา1.98แสนล้าน คือให้สิทธิ์จีนเยอะมาก  


สรุปแล้วใช่ 1.98 เป็นเกณฑ์ได้ไมหละครับ  


ผมว่าคุณอ่านไม่ครบนะ ผมใช้ของเยอรมันเป็นเกณฑ์ กลับไปอ่านซะนะ  


โอเค๊ยอมๆ 555
แล้วมันทำถูกกว่านี้ได้ไหมละครับ
ตามที่ท่านประเมินด้วยเรทเยอรมัน 240
ทั้งรัฐบาลนี้ และรัฐบาลที่แล้ว

แล้วผมเถียงแทน คสช. หรอ
เพราะผมก็บอกว่า รัฐบาลที่แล้วก็แพงกว่า 1.98 นะ

0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:41 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:


ระบบเดิม ไอ 2 ราวที่ท่านจะเข้าใจ
เรียกรางคู่

ส่วนราวเส้นเดียวมาเป็นราง
เรียกรางเดี่ยว


ส่วนทาง ก็คือคำว่า railway
วิ่งทางเดียว วิ่งสองทางสวนกัน
เรียกทางครับ


ซึ่งใช้ไม่เหมือนกัน  


รางคู่ คือคำย่อ ย่อมาจาก รางที่มีราว1คู่ครับ

รางเดี่ยว หรือ monorail ก็คือรางที่มีราว 1 อัน

รางเดี่ยว ไม่เท่ากับ รางเดียว

รางคู่ ไม่ใช่มีราง 1 คู่ แต่มีเหล็ก 1 คู่ ใน 1 ราง  


ผมว่าท่านเข้าใจแล้วละ
ในที่พูดมาทั้งหมด ไม่ได้เกี่ยวกับจำนวน นะครับ แต่เป็นชนิดของรางรถไฟ ที่ใช้ไม่ถูกต้อง  


สรุปคือ

ผมพูดถึงรางเดียว

คุณพูดถึง รางเดี่ยว

อืม  


ในประเทศไทยภาษาไทย รางคือชนิดของทาง จำนวนรางที่ท่านเข้าใจ เรียกว่า ทางครับ

ถ้ารถไฟรางคู่ คือรถไฟปกติ จนถึงความเร็วสูง
รางไฟรางเดี่ยว ก็คือ Monorail

ถ้าเส้นทางชนบท มีเส้นเดียว เรียกทางเดียว
ถ้ามีสองเส้น สวนกันได้เรียกทางคู่  


ก็ผมถามไง ว่าใครบัญญัติ

ถ้าเอาจาก wiki รางมันก็คือทาง ไอ้เหล็กมันเรียกว่าราว

ถ้าเอาจากพจนานุกรม Track ก็คือ ราง

ปัญหาคือ คุณบัญญัติศัพท์เอง แล้วคิดว่ามันถูกเอง  



เอาใหม่
แล้วจากข่าวว่า ทางคู่ ราง 1 เมตร ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:42 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
ggmm พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:




มันก็เหมือนโครงการ สร้างถนน คนไทยสร้างเป็นแล้ว ช.การช่าง ไทย-อิตาลี ประมูลก็ชนะฝรั่งทุกครั้งไป



ซึ่งของเยอรมัน ก็มีหลายบริษัททำเป็นแล้วไงครับ ทั้งสาธารณูปโภคการก่อสร้างพร้อมแล้ว การประมูลแข่งขันกันมันก็อยู่ในระดับสูงทำให้ราคามันดีกว่าไงครับ แล้วการหาร Supplier ให้ประเทศมันง่ายไม่ต้องนำเข้าด้วย เพราะอุตสาหกรรมในประเทศผลิตได้หมด แรงงานก็ไม่ใช่เยอรมันหมด ต่างด้าวก็มี

เมื่อไทยจ้างญี่ปุ่น(ซึ่งแพงกว่าเยอรมัน) 3 เส้นทาง จีนก็ตั้งวางราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับญี่ปุ่น




มันเลยเป็น ราคาเยอรมันไม่ได้ยังไงละครับ
 


วางราคาอะไรครับ

อันนี้ไม่ได้ประมูล อันนี้ไปตกลงเกี้ยเซี้ยกันเลย

คือคุณยิ่งพูด ก็ยิ่งแสดงนะว่า จริงๆแล้วไม่ได้สนใจการลงทุนเท่าไหร่ ไม่งั้นคงรู้แล้วว่าอันนี้มันเป็นการตกลงรัฐบาล-รัฐบาล

มันยิ่งเหมือนพยายามแก้ต่างให้ คสช.  


เฮ๊ยยไอที่พูดไปผมก็ไม่รู้หรอกว่าเยอรมันเป็นแบบไหน
ผมหมายถึงของเยอรมันที่ราคามันถูก
เพราะเยอรมันมีมีคนทำเยอะ มันเสนอราคาแข่งกันได้ไง
ผมไม่ได้หมายถึงของไทย ผมพูดถึงกลไกล ที่ทำให้ราคาเยอรมันสามารถถูกลงได้
ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าที่เยอรมันใช้ระบบไหน


ของไทยคือไปตั้งบริษัทลงทุนร่วมกัน อันนี้ผมรู้

แล้วเส้นทางที่เราคุยกันเนี่ยมีแต่จีนมาดูแล ญี่ปุ่นไม่สนใจ ชาติอื่นก็ไม่สนใจ  


ใครบอกชาติอื่นไม่สนใจครับ

มันก็มีแต่ คสช. ไม่คุยเกี้ยเซี้ย

ทำจริง ต้องเปิดประมูล ตั้งงบประมาณ ออกพันธบัตร หรือกู้เงิน

แต่ก็อย่างที่รู้ๆ ถ้าทำแบบนั้น มันจะมีส่วนต่างเยอะได้ยังไง  


แล้วมีชาติอื่น ชาติไหนบ้างละครับ อันนี้ขอข้อมูล
ตั้งแต่ รัฐบาลก่อน แล้วครับ ญี่ปุ่นไม่มาดูสายนี้เลย
แต่จีนมีเส้นทาง ส่งของมาลาว แล้วจะมาต่อไทย
เนื่องจากเป็นเส้นทางที่จีนมีผลประโยชน์ จึงมุ่งที่จะร่วมลงทุน
ก่อนหน้านี้ไม่มีชาติไหน มาดูเลย ย้อนไปหลัก 5 ปีไปนี้

 

 

เท่าที่ผมรู้ของเก่าชัชชาติ ไทยเป็นเจ้าของคนเดียวไม่ต้องร่วมทุน แค่จ้างคนมาทำนะ  


ตั้งเป็น SPV ร่วมทุนกัน ไทย 51% ครับ
Spoil
http://www.thairath.co.th/content/409093  


และจีนมาร่วมพัฒนาดูแลเส้นทางครับ เส้นนี้
Spoil
http://www.komchadluek.net/detail/20121207/146602/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A1.%E0%B8%A5%E0%B8%B02.50%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97.html#.UMGQz-R4xD9  
 


ชัชชาติตอบว่า : ของฟรีไม่มีในโลก ผมเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีประเทศไหนมาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงให้เราฟรีๆ เท่าที่ผมศึกษาเอกสาร เคยมีแนวคิดในการจะตั้งบริษัทร่วมทุน ไทย (51%) ต่างชาติ (49%) โดยให้บริษัทนี้ มีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ผมว่าเป็นเงื่อนไขที่ไทยเสียเปรียบ และไม่ควรดำเนินการต่อ ส่วนใครจะเห็นว่าควรทำ ก็แล้วแต่แนวคิดของแต่ละคนครับ


ถ้าอ่านตามนี้แปลว่าไม่เอาร่วมทุนนะครับ  


อ่านตามเอกสารที่ท่าน Kmul เคยเอามาโพสนะครับ

http://www.fes-thailand.org/wb/media/Debate%20Show/high-speed-train_final.pdf

สําหรับไทย โครงการรถไฟความเร็วสูง จะเป็ นการขยายโอกาสจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็ น 4 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่, กรุงเทพฯ-หนองคาย, กรุงเทพฯ-ระยอง, กรุงเทพฯ-หัวหิน ตามภาพรวมใหญ่ แต่เมื่อสร้างจริง เส้นทางกรุงเทพฯ-หนองคายจะสร้างถึงแค่ นครราชสีมา ก่อน เพื่อให้เหมาะสมกับงบประมาณ 7 แสนล้านบาท จากนั้นจึงค่อยขยายต่อไปถึงหนองคาย ซึ่งอาจใช้วิธีการหาผู้ร่วมทุน เพราะหากสร้างตามแผนทั้งหมดจะต้องใช้งบประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านล้านบาท"
 


ที่ผมอ่านอันนี้น่าจะเป็นข้อการถามตอบในรายการของtpbsนะ


เพราะชัชชาติบอกใว้ ว่า

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ขณะนี้กระทรวงคมนาคมอยู่ระหว่างพิจารณาปรับแนวทางการลงทุนโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จากเดิมที่มีแผนที่จะร่วมทุนกับประเทศจีน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นจีน 49% และฝ่ายไทย 51% เป็นไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด และจ้างเอกชนมาเดินรถ เนื่องจากเห็นว่าการให้คนอื่นมาถือหุ้น 49% และบริษัทร่วมทุนยังเป็นรัฐวิสาหกิจ สุดท้ายรัฐบาลต้องรับผิดชอบภาระหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้น
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=189723064549862&id=167639320091570  


ประเด็นแรกของ Quote นี้คือผมบอกว่า จีนสนใจในเส้นทางนี้ ซึ่งผมบอกว่าไม่มีประเทศอื่นสนใจนอกจากจีน แล้วจะมีใครมาทำ  
 

ก็คือตอนแรกจีนจะร่วมทุนทำเพราะจีนสามารถขนของจากจีนมาลาวเข้าหนองคายมาแหลมฉบังใด้(ก็ผลประโยชน์พี่จีนเค้า)ใด้แต่ ตอนหลังไทยไม่เอาแล้วถูกป่าว
กลายเป็น
ไทยจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเองทั้งหมด ก็คือไทยทำเองทั้งหมดไม่ใช่เหรอเลยทำไมต้องมีประเทศอื่นมาร่วมทำอีก  


ไทยเอาหรือไม่เอา ไม่รู้ครับ เพราะโครงการรัฐบาลที่แล้วไม่อนุมัติครับ กำลังไปแก้ไขแล้วก็ไม่ได้เสนอต่อ เลยไม่รู้ว่าจะทำเองหรือจ้าง

แล้วมันจะย้อนกลับไปยังประเด็นแรกสุด มูลค่ามันแพงกว่าจีนมาประเมินครั้งแรกอยู่ดีไงครับ ซึ่งผมบอกไว้ว่า รัฐบาลไหนก็แพงกว่าราคาประเมินครั้งแรก

ต่อให้ทำเอง หรือจ้างหรือเงื่อนไขไหนก็ตามที่เกิดขึ้น มันก็แพงกว่าราคาที่จีนประเมินมาครั้งแรก แล้วท่าน Kmul บอกว่าผมเถียงแทน คสช.
ซึ่งเขาบอกว่าให้เปิดประมูลซิ ผมก็บอกว่ามีแต่จีนมาดูก็แค่นั้น สรุปตอนนี้ก็ไม่มีใครสามารถสร้างราคาต่ำกว่าจีนประมินครั้งแรกได้ครับ ที 1.98 ล้าน แม้แต่จีนมาทำเองก็ทำไม่ได้ไง  


มันดูแต่ราคาไม่ใด้นะถ้าที่จีนเสนอเพราะมันมีมีสิทธิ์พัฒนาที่ดินของรถไฟทั้งหมดตามแนวเส้นทาง (หลายหมื่นไร่) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการเดินรถ การขายเครื่องจักรอุปกรณ์ การรับเหมาก่อสร้าง ที่พี่จีนจะเอาร่วมด้วย เหมือนที่เอากะลาว

ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดนะ  


ใช่ครับ ราคา1.98แสนล้าน คือให้สิทธิ์จีนเยอะมาก  


สรุปแล้วใช่ 1.98 เป็นเกณฑ์ได้ไมหละครับ  


ผมว่าคุณอ่านไม่ครบนะ ผมใช้ของเยอรมันเป็นเกณฑ์ กลับไปอ่านซะนะ  


โอเค๊ยอมๆ 555
แล้วมันทำถูกกว่านี้ได้ไหมละครับ
ตามที่ท่านประเมินด้วยเรทเยอรมัน 240
ทั้งรัฐบาลนี้ และรัฐบาลที่แล้ว

แล้วผมเถียงแทน คสช. หรอ
เพราะผมก็บอกว่า รัฐบาลที่แล้วก็แพงกว่า 1.98 นะ

 


ก็เถียงแทนอยู่นี่แหละครับ ตั้งแต่เริ่มเลย ตั้งแต่อ้างว่ามันต้องรวมค่าโน่นค่านี่บ้างล่ะ ก็แล้วแต่คนอ่านละกัน

ถูกกว่านี้ ก็บอกไปแล้ว ประมลให้มันถูกต้อง ผมตอบไปแล้วคุณก็ไม่ตอบผมแล้วอันนั้น ย้อนมาคำถามเดิมอยู่นั่นแหละ
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:43 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ข่าวไหนครับ รางคู่ทางเดี่ยว ที่คุณยกมาไม่มีพูดถึงเลย รางคู๋เนี่ย

เดี๋ยวนะ ไม่มีอ้างอิง แต่คุณรู้ว่าไม่เหมือนกันแน่ๆ

ผมมีอ้างอิง

แล้วคุณจะเอาไง คุณไม่มีอ้างอิงถูกละกัน เอาไปบอกหัวหน้ายามให้บัญญัติศัพท์ด้วยนะ
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:44 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ข่าวไหนครับ รางคู่ทางเดี่ยว ที่คุณยกมาไม่มีพูดถึงเลย รางคู๋เนี่ย  


แก้แล้ว Quote ไวไปหน่อย ทางคู่ราง 1 เมตร

ราง 1 เมตรท่าน คือรางแบบไหน
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:48 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ผมมีอ้างอิง

แล้วคุณจะเอาไง คุณไม่มีอ้างอิงถูกละกัน เอาไปบอกหัวหน้ายามให้บัญญัติศัพท์ด้วยนะ  


คุณก็รู้อยู่เต็มอกแล้วละ ว่ามันต่างกันยังไง

พิมพ์คำว่ารางคู่ก็มีอธิบายครับ ว่ารางเป็นแบบไหน

รางเดี่ยวก็รู้ไปแล้วว่าเป็น Monorail
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:48 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ข่าวไหนครับ รางคู่ทางเดี่ยว ที่คุณยกมาไม่มีพูดถึงเลย รางคู๋เนี่ย  


แก้แล้ว Quote ไวไปหน่อย ทางคู่ราง 1 เมตร

ราง 1 เมตรท่าน คือรางแบบไหน  


อ๋อ รางคู่ในข่าว หมายถึง รางที่มันไปกลับได้

ซึ่งเค้าก็ประมูลจบไปแล้ว

http://www.kaohoon.com/online/content/view/26068/%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2CK%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%99234%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%9A

ไอ้รางคู่ กับทางคู่ สำหรับข่าวนี้ มันคืออันเดียวกัน
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:50 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ผมมีอ้างอิง

แล้วคุณจะเอาไง คุณไม่มีอ้างอิงถูกละกัน เอาไปบอกหัวหน้ายามให้บัญญัติศัพท์ด้วยนะ  


คุณก็รู้อยู่เต็มอกแล้วละ ว่ามันต่างกันยังไง

พิมพ์คำว่ารางคู่ก็มีอธิบายครับ ว่ารางเป็นแบบไหน

รางเดี่ยวก็รู้ไปแล้วว่าเป็น Monorail  



สรุป

รางคู่ = มี 2 ราง

รางเดียว = มี 1 ราง

รางเดี่ยว = มีกี่รางไม่รู้ แต่มีราวเหล็ก 1 อัน
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:53 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ผมมีอ้างอิง

แล้วคุณจะเอาไง คุณไม่มีอ้างอิงถูกละกัน เอาไปบอกหัวหน้ายามให้บัญญัติศัพท์ด้วยนะ  


คุณก็รู้อยู่เต็มอกแล้วละ ว่ามันต่างกันยังไง

พิมพ์คำว่ารางคู่ก็มีอธิบายครับ ว่ารางเป็นแบบไหน

รางเดี่ยวก็รู้ไปแล้วว่าเป็น Monorail  



สรุป

รางคู่ = มี 2 ราง

รางเดียว = มี 1 ราง

รางเดี่ยว = มีกี่รางไม่รู้ แต่มีราวเหล็ก 1 อัน  


ไม่ใช่แค่นั้นครับ
แยกคำว่า รางกับทางออกจากกันด้วย
ในข่าวจะมีบอกคู่กันเสมอ ว่า ทาง.... ราง....


ปล.ผมนอนแล้วไทยจะตีหนึ่งแล้ว
0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 12:55 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ผมมีอ้างอิง

แล้วคุณจะเอาไง คุณไม่มีอ้างอิงถูกละกัน เอาไปบอกหัวหน้ายามให้บัญญัติศัพท์ด้วยนะ  


คุณก็รู้อยู่เต็มอกแล้วละ ว่ามันต่างกันยังไง

พิมพ์คำว่ารางคู่ก็มีอธิบายครับ ว่ารางเป็นแบบไหน

รางเดี่ยวก็รู้ไปแล้วว่าเป็น Monorail  



สรุป

รางคู่ = มี 2 ราง

รางเดียว = มี 1 ราง

รางเดี่ยว = มีกี่รางไม่รู้ แต่มีราวเหล็ก 1 อัน  


ไม่ใช่แค่นั้นครับ
แยกคำว่า รางกับทางออกจากกันด้วย
ในข่าวจะมีบอกคู่กันเสมอ ว่า ทาง.... ราง....


ปล.ผมนอนแล้วไทยจะตีหนึ่งแล้ว  


ก็ไอ้ที่คุณยกมานี่แหละ

ต้องแจ้งผู้อ่าน WeKorat ก่อนว่า โครงการนี้คือการก่อสร้างรางรถไฟใหม่ ขนาดมาตรฐาน standard gauge 1.435 เมตร ขนานไปกับทางรถไฟเก่าที่ใช้รางขนาด 1 เมตร โดยรางใหม่จะเป็นรางคู่ (รถวิ่งสวนกันได้โดยไม่ต้องรอสับราง)
0
0
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 1:02 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ผมมีอ้างอิง

แล้วคุณจะเอาไง คุณไม่มีอ้างอิงถูกละกัน เอาไปบอกหัวหน้ายามให้บัญญัติศัพท์ด้วยนะ  


คุณก็รู้อยู่เต็มอกแล้วละ ว่ามันต่างกันยังไง

พิมพ์คำว่ารางคู่ก็มีอธิบายครับ ว่ารางเป็นแบบไหน

รางเดี่ยวก็รู้ไปแล้วว่าเป็น Monorail  



สรุป

รางคู่ = มี 2 ราง

รางเดียว = มี 1 ราง

รางเดี่ยว = มีกี่รางไม่รู้ แต่มีราวเหล็ก 1 อัน  


ไม่ใช่แค่นั้นครับ
แยกคำว่า รางกับทางออกจากกันด้วย
ในข่าวจะมีบอกคู่กันเสมอ ว่า ทาง.... ราง....


ปล.ผมนอนแล้วไทยจะตีหนึ่งแล้ว  
 


ก็ไอ้ที่คุณยกมานี่แหละ

ต้องแจ้งผู้อ่าน WeKorat ก่อนว่า โครงการนี้คือการก่อสร้างรางรถไฟใหม่ ขนาดมาตรฐาน standard gauge 1.435 เมตร ขนานไปกับทางรถไฟเก่าที่ใช้รางขนาด 1 เมตร โดยรางใหม่จะเป็นรางคู่ (รถวิ่งสวนกันได้โดยไม่ต้องรอสับราง)  


ผมไม่ต่อแล้วละ ผมแปะลิงค์ปิดตอนแรกจะแปะรูปด้วย
เพระาแหล้งอ้างอิง มันไม่ทางการจะใช้ทรัพย์ไม่ค่อยถูก


ปล.อันนี้ก็ไม่ทางการนะ แต่มันเคย ref การรถไฟฯ
http://www.geocities.ws/railsthai/article10.htm

อันนี้ข้อมูล info อ่านทำความคำเจ้าว่า ความแตกต่างของคำว่าทางกับราง
http://www.realist.co.th/blog/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88-8-%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2/


0
0
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 2530
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 1:13 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ผมมีอ้างอิง

แล้วคุณจะเอาไง คุณไม่มีอ้างอิงถูกละกัน เอาไปบอกหัวหน้ายามให้บัญญัติศัพท์ด้วยนะ  


คุณก็รู้อยู่เต็มอกแล้วละ ว่ามันต่างกันยังไง

พิมพ์คำว่ารางคู่ก็มีอธิบายครับ ว่ารางเป็นแบบไหน

รางเดี่ยวก็รู้ไปแล้วว่าเป็น Monorail  



สรุป

รางคู่ = มี 2 ราง

รางเดียว = มี 1 ราง

รางเดี่ยว = มีกี่รางไม่รู้ แต่มีราวเหล็ก 1 อัน  


ไม่ใช่แค่นั้นครับ
แยกคำว่า รางกับทางออกจากกันด้วย
ในข่าวจะมีบอกคู่กันเสมอ ว่า ทาง.... ราง....


ปล.ผมนอนแล้วไทยจะตีหนึ่งแล้ว  
 


ก็ไอ้ที่คุณยกมานี่แหละ

ต้องแจ้งผู้อ่าน WeKorat ก่อนว่า โครงการนี้คือการก่อสร้างรางรถไฟใหม่ ขนาดมาตรฐาน standard gauge 1.435 เมตร ขนานไปกับทางรถไฟเก่าที่ใช้รางขนาด 1 เมตร โดยรางใหม่จะเป็นรางคู่ (รถวิ่งสวนกันได้โดยไม่ต้องรอสับราง)  


ผมไม่ต่อแล้วละ ผมแปะลิงค์ปิดตอนแรกจะแปะรูปด้วย
เพระาแหล้งอ้างอิง มันไม่ทางการจะใช้ทรัพย์ไม่ค่อยถูก


ปล.อันนี้ก็ไม่ทางการนะ แต่มันเคย ref การรถไฟฯ
http://www.geocities.ws/railsthai/article10.htm

อันนี้ข้อมูล info อ่านทำความคำเจ้าว่า ความแตกต่างของคำว่าทางกับราง
http://www.realist.co.th/blog/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88-8-%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2/


 


คือ ถึงคุณจะยกเวปนั้นมา แต่ถ้าเวปใช้ศัพท์ไม่เหมือนคุณ คือใช้ศัพท์ไม่ถูกต้อง

เอาเถอะครับ

ไอ้ข้อมูลของคุณน่ะ ก็ยืนยันคำพูดของผมอยู่ดีแหละ

รางกว้าง 1.435 เมตร ถ้ามันเป็นไอ้เหล็กๆนั่น เหล็กนั่นมันกว้าง 1.435 เมตรได้เลยหรอ
เข้าร่วม: 15 Jan 2011
ตอบ: 13402
ที่อยู่: ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลก เข้าร่วม: 14 Feb 2005
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 1:25 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
emula123 พิมพ์ว่า:



แล้วจากข่าวว่า รางคู่ทางเดียว ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร

ผมคงหาคำบัญญัติให้ท่านไม่ได้ แต่ผมรู้ว่าใช้คำนี้ไม่เหมือนกันแน่  


ผมมีอ้างอิง

แล้วคุณจะเอาไง คุณไม่มีอ้างอิงถูกละกัน เอาไปบอกหัวหน้ายามให้บัญญัติศัพท์ด้วยนะ  


คุณก็รู้อยู่เต็มอกแล้วละ ว่ามันต่างกันยังไง

พิมพ์คำว่ารางคู่ก็มีอธิบายครับ ว่ารางเป็นแบบไหน

รางเดี่ยวก็รู้ไปแล้วว่าเป็น Monorail  



สรุป

รางคู่ = มี 2 ราง

รางเดียว = มี 1 ราง

รางเดี่ยว = มีกี่รางไม่รู้ แต่มีราวเหล็ก 1 อัน  


ไม่ใช่แค่นั้นครับ
แยกคำว่า รางกับทางออกจากกันด้วย
ในข่าวจะมีบอกคู่กันเสมอ ว่า ทาง.... ราง....


ปล.ผมนอนแล้วไทยจะตีหนึ่งแล้ว  
 


ก็ไอ้ที่คุณยกมานี่แหละ

ต้องแจ้งผู้อ่าน WeKorat ก่อนว่า โครงการนี้คือการก่อสร้างรางรถไฟใหม่ ขนาดมาตรฐาน standard gauge 1.435 เมตร ขนานไปกับทางรถไฟเก่าที่ใช้รางขนาด 1 เมตร โดยรางใหม่จะเป็นรางคู่ (รถวิ่งสวนกันได้โดยไม่ต้องรอสับราง)  


ผมไม่ต่อแล้วละ ผมแปะลิงค์ปิดตอนแรกจะแปะรูปด้วย
เพระาแหล้งอ้างอิง มันไม่ทางการจะใช้ทรัพย์ไม่ค่อยถูก


ปล.อันนี้ก็ไม่ทางการนะ แต่มันเคย ref การรถไฟฯ
http://www.geocities.ws/railsthai/article10.htm

อันนี้ข้อมูล info อ่านทำความคำเจ้าว่า ความแตกต่างของคำว่าทางกับราง
http://www.realist.co.th/blog/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88-8-%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2/


 


คือ ถึงคุณจะยกเวปนั้นมา แต่ถ้าเวปใช้ศัพท์ไม่เหมือนคุณ คือใช้ศัพท์ไม่ถูกต้อง

เอาเถอะครับ

ไอ้ข้อมูลของคุณน่ะ ก็ยืนยันคำพูดของผมอยู่ดีแหละ

รางกว้าง 1.435 เมตร ถ้ามันเป็นไอ้เหล็กๆนั่น เหล็กนั่นมันกว้าง 1.435 เมตรได้เลยหรอ  


ขนาดความกว้างรางรถไฟ



ผมว่าท่านแกล้งยอมผมมากกว่า
ถ้าท่านเจอคำว่ารถไฟทางเดียว โดยไม่มีคำว่าราง ท่านจะเข้าใจว่ายังไง
หรือเจอคำว่า รางเดียว เฉยๆคืออะไร

เข้าร่วม: 14 Feb 2014
ตอบ: 7132
ที่อยู่: Naiipa Art Complex
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 1:58 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
5555555555555555555555

ตอนแรกเริ่มมีสาระ ตอนหลังทะเลาะกันเรื่อง รางรถไฟ 5555555555555
0
0
เข้าร่วม: 05 Dec 2015
ตอบ: 704
ที่อยู่: The Theatre of Dreams
โพสเมื่อ: Sat Feb 13, 2016 7:27 am
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
ดีนะที่ไปนอนก่อน เพราะรู้สึกเหมือนนิสัยคนไทยบางคนจะยอมใครไม่เป็นจริงๆ ออกนอกเรื่องจากตอนแรกไปไกลมาก . . .


เข้าร่วม: 05 Dec 2015
ตอบ: 1794
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sun Feb 14, 2016 8:48 pm
[RE: ความคืบหน้างาน คมนาคมไทย]
0
0